กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
บุญ
ข้อธัมม์ที่ถาม-เถียงกันบ่อย
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้พิพากษาตั้งตุลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
รู้เขา รู้เรา
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน,
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจน เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีลธรรมไม่กลับมาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วัฒนธรรมประเพณี
จารึกธรรม
สมาธิ,ฌาน
เขาว่า ถ้าพุทธมีหลักธรรมดีจริง คงไม่ 0 สิ้นจากถิ่นเกิด
ภาวะแห่งนิพพาน
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์
จงกรม ไม่ใช่ จงกลม
กรรมฐาน
สติปัฏฐาน
ศีลสำหรับประชาชน
วิธีการแห่งศรัทธา (ปรโตโฆสะที่ดี)
วิธีการแห่งปัญญา (โยนิโสมนสิการ)
ทางดำเนินชีวิตสายกลาง
คุณสมบัติบุคคลโสดาบัน
กาม
ความสุข
อริยสัจ ๔
ธรรมฉันทะ - ตัณหาฉันทะ
กรรม
เถรวาท VS ลัทธิอาจารย์
นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท
ภาวนา ๔ ภาวิต ๔
สมถะ,วิปัสสนา,เจโตวิมุตติ,ปัญญาวิมุตติ
อนัตตา
สมมุติ
ศีล-สีลัพพตปรามาส
นรก สวรรค์ ในพระไตรปิฎก
วันสำคัญของชาวพุทธไทย
วิธีฝึกหูทิพย์ ตาทิพย์
ลำดับญาณ,ทวนญาณ
ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ ศ.ประจำชาติ
พฤศจิกายน 2567
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
7 พฤศจิกายน 2567
เรื่อง ตักบาตรเทโว
เรื่อง ปวารณา
เรื่อง กฐิน
คำถวายดอกไม้ธูปเทียน วันอาสาฬหบูชา
คำถวายดอกไม้ธูปเทียน วันมาฆบูชา
คำถวายดอกไม้ธูปเทียน วันวิสาขบูชา
ทำการบูชาให้สมค่าของวันวิสาขบูชา
ค.ม.วันวิสาขบูชา ในแง่ปรากฏการณ์ยิ่งใหญ่ในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ
ความหมายวันวิสาขบูชา ในแง่คติจากพระชนมชีพของพระบรมศาสดา
วันวิสาขบูชา,ความสำคัญของวันวิสาขบูชา
คติธรรมวันสงกรานต์
เรื่องของวันตรุษวันสงกรานต์
สารธรรมวันมาฆบูชา
เทศกาลท้ายฝน
วันเข้าพรรษา
ประเพณีวันอาสาฬหบูชา
ความสำคัญของอาสาฬหบูชา
ความหมายของอาสาฬหบูชา
ผลจากการแสดงปฐมเทศนา
ใจความปฐมเทศนา
ต้นกำเนิดวันอาสาฬบูชา
เรื่อง ตักบาตรเทโว
เรื่อง ปวารณา
เรื่อง กฐิน
อารัมภบท
เรื่อง ปวารณา
ปวารณา
ปวารณา
แปลว่า การเปิดโอกาสเชิงเชิญชวนให้ขอ หรือให้ว่ากล่าวตักเตือน ในที่นี้หมายถึงการที่พระสงฆ์พูดเปิดโอกาสแก่กันและกัน ให้ว่ากล่าวชี้ข้อบกพร่องและตักเตือนแนะนำกัน
ปวารณา
เป็นสังฆกรรมอย่างหนึ่ง คือ เป็นกิจที่พระสงฆ์จะต้องทำ เพราะเป็นบทบัญญัติในวินัย ในปัจจุบันปวารณายังเป็นพิธีกรรมที่กระทำในหมู่พระสงฆ์โดยเฉพาะ ชาวบ้านไม่เกี่ยวข้อง และไม่ใคร่ทราบ
ปวารณา
คือ การเปิดโอกาสให้ว่ากล่าวชี้ข้อบกพร่องแนะนำกันได้นั้น เป็นเรื่องธรรมดาของพระสงฆ์อยู่แล้ว ครั้นถึงวันสิ้นสุดพรรษานี้ ทำกันเป็นครั้งสำคัญพร้อมกันทุกรูป เป็นครั้งใหญ่จึงเรียกว่า มหาปวารณา
มหาปวารณา
ทำเฉพาะในวันสิ้นสุดพรรษา ที่เรียกว่าวันออกพรรษา (คือ ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑) วันเดียวเท่านั้น เพราะเหตุที่มหาปวารณาเป็นกิจกรรมสำคัญในวันสุดท้ายของพรรษาในทางวินัย จึงเรียกชื่อวันสิ้นสุดพรรษานี้ว่า “วันมหาปวารณา” หาเรียกว่าวันออกพรรษาไม่
สาระสำคัญของ
มหาปวารณา
คือ พระสงฆ์ที่จำพรรษาอยู่ด้วยกันตลอดเวลา ๓ เดือน ย่อมได้รู้เห็น เข้าใจนิสัยใจคอความประพฤติปฏิบัติของกันและกันพอสมควร บางทีอาจได้เห็น ได้ยิน หรือมีเหตุให้ระแวงสงสัยเกี่ยวกับความบกพร่อง ความประพฤติเสียหายของกันและกันบ้าง
ก่อนที่จะเดินทางออกจาริกปฏิบัติศาสนกิจ แยกย้ายกันไปในที่ต่างๆ จึงมีบทบัญญัติในวินัยกำหนดให้พระสงฆ์มาประชุมพบปะพร้อมกันทั้งหมดในวันสุดท้ายของพรรษานั้น
ณ โอกาสนี้ทุกรูป ไม่ว่าผู้ใหญ่ผู้น้อย กล่าวคำปวารณาคือคำบอกเปิดโอกาสเชิญชวนกัน ให้ว่ากล่าวชี้ข้อบกพร่องแนะนำตักเตือนกัน เป็นการแสดงความบริสุทธิ์เป็นการได้ช่วยกันสำรวจตนเอง จะได้แก้ไขปรับปรุงตน เตรียมตัวพร้อมและมีความมั่นใจในการที่จะเดินทางออกปฏิบัติศาสนกิจต่อไป
คำปวารณาว่า “
สงฺฆมฺภนฺเต ปวาเรมิ, ทิฏฺเฐน วา สุเตน วา ปริสงฺกาย วา, วทนฺตุ มํ, อายสฺมนฺโต อนุกมฺปํ อุปาทาย, ปสฺสนฺโต ปฏิกฺกริสฺสามิ
”
แปลว่า “ท่านผู้เจริญทั้งหลาย ข้าพเจ้าขอปวารณากะสงฆ์ ไม่ว่าจะเกี่ยวด้วยสิ่งที่ได้เห็นก็ตาม สิ่งที่ได้ยินมาก็ตาม หรือระแวงสงสัยก็ตาม ขอท่านทั้งหลายจงมีใจอนุเคราะห์ ว่ากล่าวบอกข้าพเจ้าเถิด เมื่อข้าพเจ้ามองเห็น จะแก้ไข”
ปวารณา
นี้ ถ้าปฏิบัติกันจริงจัง และถ้า
ชาวบ้านจะเอาอย่าง
นำไปปฏิบัติในกิจการและการดำเนินชีวิตทางสังคม ให้เป็นเรื่องสามัญของวงการชาวพุทธ ก็จะเป็นความเจริญก้าวหน้าของพระพุทธศาสนา ที่นำมา ซึ่งประโยชน์สุขแก่พหูชน สมตามวัตถุประสงค์ของการเผยแผ่ธรรมวินัยอย่างหนึ่ง
Create Date : 07 พฤศจิกายน 2567
Last Update : 7 พฤศจิกายน 2567 13:05:18 น.
0 comments
Counter : 67 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com