"ยินดีต้อนรับสู่ บล็อกของคนใฝ่รู้ สำหรับผู้ใส่ใจใฝ่รู้ค่ะ" มีหลายหัวข้อเรื่องให้คุณอ่าน .. ขอบคุณที่มาเยี่ยมบล็อกค่ะ .. ขอจงมีแต่ความสุขกายสบายใจตลอดไปนะคะ
Group Blog
 
<<
พฤศจิกายน 2552
1234567
891011121314
15161718192021
22232425262728
2930 
 
16 พฤศจิกายน 2552
 
All Blogs
 
หน่วยรังสีวินิจฉัย


จันทรวารสิริสวัสดิ์ โสมนัสวัฒนสิริ ที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ ค่ะ


หน่วยรังสีวินิจฉัย


ศาสตราจารย์แพทย์หญิงคุณตวัน สุรวงศ์ บุนนาค เป็นท่านแรกที่ได้นำวิธีการตรวจระบบทางเดินอาหาร โดยการทำ Fluoroscopy และการถ่ายภาพรังสีโดย Spot film มาใช้ในประเทศไทย พร้อมๆ กับวิธีการตรวจถุงน้ำดี โดยการใช้สารทึบรังสี

ในระยะต่อมาก็ได้มีการติดตั้งเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทันสมัยอย่างยิ่งทางรังสีวิทยาวินิจฉัย ซึ่งเริ่มใช้เป็นครั้งแรกในประเทศไทยหลายอย่าง เช่น Tomography เครื่องเปลี่ยนฟิล์มเร็วอัตโนมัติเพื่อทำการตรวจหลอดเลือด (Angiography) และการใช้ Image intensifier เป็นต้น

ต่อมาก็ได้มีการพัฒนาขยายงานด้านรังสีวิทยาวินิจฉัยเพิ่มมากขึ้นตามลำดับ ทั้งทางด้านการตรวจทั่วไป รวมทั้งการตรวจเต้านม (Mammography) การตรวจพิเศษต่างๆ เช่น การตรวจทางรังสีวิทยาของระบบประสาท (Neuro-radiology) ทุกชนิด

การตรวจท่อและต่อมน้ำเหลือง (Lymphangiography) การตรวจหลอดเลือดต่างๆ และหัวใจ ซึ่งพัฒนามาจนเป็นการตรวจโดยใช้ Digital Subtraction Angiography


ในปี พ.ศ. 2535 ภาควิชาฯ เริ่มมีการตรวจอัลตร้าซาวด์ ในปี พ.ศ. 2523 และในปีต่อมาสาขาฯ ได้ติดตั้งเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (Computed Tomography หรือ CT scan) เครื่องแรก ในปี พ.ศ. 2524

พร้อมกับมีการใช้การเห็นภาพเป็นเครื่องนำทางเพื่อการรักษาโรค (Interventional Radiology) โดยเริ่มจากการระบายน้ำดีผ่านทางสายสวน (percutaneous transhepatic biliary drainage (PTBD))

ซึ่งในปัจจุบันมีการขยายงานทั้งทางด้าน Body และ Neurointerventional Radiology อย่างกว้างขวาง ในปี พ.ศ. 2535 สาขาฯ ได้ติดตั้งเครื่องตรวจด้วยคลื่นสะท้อนในสนามแม่เหล็ก (Magnetic Resonance Imagingหรือ MRI) ณ อาคารใหม่ "อภันตรีปชา"

สำหรับอาคารสถานที่ทางด้านรังสีวิทยาวินิจฉัย เพื่อการเรียนการสอน และให้บริการแก่ประชาชน ปัจจุบันมี ตึกสวัสดิ์-ล้อม โอสถานุเคราะห์ ชั้นล่าง เพื่อการวินิจฉัยผู้ป่วยภายใน ตึกนราธิปพงศ์ประพันธ์ (สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2511) ซึ่งแต่เดิมสร้างขึ้นเพื่อการตรวจหลอดเลือดและหัวใจ

แต่ปัจจุบันเป็นหน่วยเอกซเรย์หลอดเลือดและรังสีร่วมรักษา (การรักษาโดยใช้การเห็นภาพเป็นเครื่องนำทาง) ตึกจุลจักรพงษ์ (สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2524 แทนที่ตึกรัตนสังวาลย์) เพื่อการตรวจด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ และห้องบรรยายตวันสุรวงศ์ ใช้เป็นห้องบรรยาย

ตึกอภันตรีปชาใหม่ (สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2535 แทนที่ตึกอภันตรีปชาเดิม) เพื่อการตรวจ MRI และมีห้องอ่านฟิล์ม ห้องเรียน ห้องวิทยภัณฑ์ นอกจากนี้ยังมีพื้นที่ปฏิบัติงาน กระจายตามตึกอื่นๆ

ได้แก่ เอกซเรย์ฉุกเฉิน ณ ตึกมงกุฎ-เพชรรัตน์ ชั้นล่าง (พ.ศ. 2528) ตึก ภปร. ชั้น 4 (พ.ศ. 2532 โดยย้ายและขยายกิจการจากตึกมงกุฎ-เพชรรัตน์ ชั้น 2 ซึ่งใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2511) เพื่อการตรวจผู้ป่วยนอก ตึกล้วน-เพิ่มพูล ว่องวานิช (พ.ศ. 2523) เพื่อการตรวจอัลตร้าซาวด์

และการตรวจเต้านม ในชั้น 2 และโรงเรียนรังสีเทคนิค ในชั้น 4 และ ตึก สก. ชั้น 4 (พ.ศ. 2538 โดยย้ายและขยายกิจการมาจากตึกจิรกิติเดิม ซึ่งเคยใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2511) เพื่อการตรวจผู้ป่วยเด็ก สำหรับการตรวจหัวใจ

ปัจจุบันได้ย้ายไปอยู่ตึก สก.ชั้น 4 และ ชั้น 5 สังกัดศูนย์โรคหัวใจ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ตึกอภันตรีปชา ที่ตั้งแผนกรังสีวิทยาในครั้งแรก


ในปี พ.ศ. 2543 ได้ติดตั้งเครื่องเอกซเรย์เต้านมระบบดิจิตอล (Digital mammography) ตลอดจนอุปกรณ์ที่ทันสมัยที่ใช้ในการตรวจรักษาเนื้อเยื่อที่ผิดปกติของเต้านม (Mammotome) เป็นแห่งแรกในประเทศไทย

ซึ่งเป็นส่วนสนับสนุนโครงการรักษามะเร็งเต้านมของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ อีกทั้งยังได้มีการติดตั้งเครื่องตรวจเอกซเรย์โดยระบบคอมพิวเตอร์ (Computed Radiography)

ซึ่งเป็นเทคโนโลยีใหม่ในการถ่ายภาพเอกซเรย์ทั่วไป ที่ให้คุณภาพของการตรวจที่ชัดเจน ที่หน่วยเอกซเรย์ผู้ป่วยนอก บริเวณตึก ภปร. ชั้น 4


สถานที่ติดต่อ

ติดต่อได้ที่ ตึกสวัสดิ์ล้อม ชั้นล่าง โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
ทุกวันในเวลาราชการ
โทรศัพท์ : 02-256-4417-8
e-mail address : xrays@md2.md.ac.th


ขอขอบคุณ วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


สิริสวัสดิ์จันทรวาร เปรมปรีดิ์มานมนัสโชติ ที่มาอ่านค่ะ


Create Date : 16 พฤศจิกายน 2552
Last Update : 18 พฤศจิกายน 2552 17:07:57 น. 0 comments
Counter : 1495 Pageviews.

sirivinit
Location :
กรุงเทพฯ Thailand

[ดู Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 224 คน [?]





/



2558

2556

2555

น้ำใจจากคุณ krittut 2554

2553


สิริสวัสดิ์วรวาร
เปรมปรีดิ์มานรื่นรมณีย์นะคะ ยินดีต้อนรับ
สู่บล็อกของคนใฝ่รู้ สำหรับผู้ใส่ใจใฝ่รู้ค่ะ

เชิญอ่านตามสบายนะคะ
มีดีๆให้คุณได้ทราบหลากหลายค่ะ

๑ - ๑/๑ ฉันรักในหลวง
๒.๓.๑๐.๑๕.๓๐.๒๔.๕๙.๖๓.๙๐.ธรรมะ
๔ - ๔/๑ รวมพลคนดัง
๕. ศาสนาพุทธสุดประเสริฐ
๖. ความรู้ทั่วไปในศาสนาพุทธ
๗. ๑๖. ประวัติศาสตร์
๘ - ๙/๑ ไม้ดอก ไม้ใบ
๑๑ - ๑๑/๑ เกม
๑๒.๓๗.๔๐-๔๓.๕๓.๗๕.๘๖.ศิลปะเทศ
๑๔ - ๑๔/๑. ๒๐๘. ข่าวคนดังเทศ
๑๘. ๑๙. ๒๒. ราชวงศ์ไทย
๒๐.๑๑๖-๑๑๖/๒ ๑๙๐-๑๙๐/๘ ละคร ทีวี
๒๑. ๓๑. ๒๐๘. ราชวงศ์เทศ
๒๔. นักเขียนไทย
๒๔/๑. กลอนชั้นบรมครู
๒๙/๑-๒๙/๔โปสการ์ดจากเพื่อนบล็อก
๓๓. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
๓๙.๑๘๑-๑๘๑/๗ สุธาโภชน์รสเลิศล้ำ
๔๑.๔๒.๕๐.๕๘.๖๐.๖๑.๘๖.มหาวิหาร
๕๗. ปราสาท พระราชวัง คฤหาสน์เทศ
๖๒. วัด
๖๕ - ๖๕/๑ การ์ตูน
๖๕/๒. นิทานเซน
๖๗. ความตายมาพรากให้จากไป
๖๙ - ๖๙/๒ สารพัดสัตว์
๗๔. สุนัข
๗๖. อุทยานสวรรค์
๗๗. ซูเปอร์แมน - แบทแมน
๗๘ - ๘๓. แสตมป์สะสม
๘๕-๘๕/๑ หนังสือสะสม
๘๗ - ๘๗/๒ ๒๑๕ ข่าวกีฬา
๘๙. ๘๙/๑ จีนแผ่นดินใหญ่
๙๐/๑ .ทิเบต
๙๑. จันทร์สูริย์ดารา
๙๒. สมเด็จพระปิยมหาราชเจ้า
๙๓ - ๙๓/๒ ภาพยนตร์
๙๔ - ๙๔/๓ ยานยนต์
๙๕ - ๙๕/๑ ดูดวง
๙๖ - ๙๖/๑ . ๒๑๑ วิทยาศาสตร์
๙๗ - ๙๗/๑.๒๐๙ แวดวงวรรณกรรม
๙๘. ภาพพุทธประวัติ
๙๙. ๑๒๗ - ๑๒๗/๑ ดนตรี
๑๐๑. ป้าย R สะสม
๑๐๒. บัตรภาพตราไปรฯสะสม
๑๐๓. DIY
๑๐๗/๑ เล่าเรื่องเมืองญี่ปุ่น
๑๐๘ - ๑๐๘/๑ หนังสือ
๑๑๓ - ๑๑๓/๑ บ้านสวย
๑๑๕. พระเครื่อง
๑๒๐. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
๑๒๓. เจ้าฟ้าเพชรรัตน์ฯ
๑๒๕. เหรียญที่ระลึก
๑๒๕/๑ เหรียญสะสมต่างประเทศ
๑๒๕/๒ เหรียญที่ระลึกจังหวัด
๑๒๕/๓ ธนบัตรที่ระลึก
๑๒๕/๔ บัตรโทรศัพท์
๑๒๕/๕ กล่องไม้ขีด และอื่นๆ
๑๓๑.เรื่องสั้นชั้นครู"เจียวต้าย"
๑๖๔.บล็อกพิเศษ วันเดียวอั๊พ 100
เอนทรี่ ให้คุณป้า"ร่มไม้เย็น"ชม
๑๙๐/๓ เรื่องย่อละคร
๑๙๓. คดีเขาพระวิหาร
๒๑๒. ศิลปะ
๒๑๗. วิถีแห่งอำนาจ บูเช็กเทียน
๒๑๗/๑.วิถีแห่งอำนาจ เจงกิสข่าน
๒๑๗/๒.วิถีแห่งอำนาจ จูหยวนจาง
๒๑๗/๓.วิถีแห่งอำนาจ ซูสีไทเฮา
๒๑๗/๔.วิถีแห่งอำนาจ หงซิ่วฉวน
๒๑๗/๕.วิถีแห่งอำนาจ แฮรี่ พอตเตอร์

ข่าวทั่วไปล่าสุด บล็อกล่างสุดค่ะ

เปิดบล็อก 1 มกราคม 2552



free counters
08.27 - 250811

207 flags collected 300316



Friends' blogs
[Add sirivinit's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.