*** พื้นที่ส่วนตัวของ พันตำรวจเอก ดร. ศิริพล กุศลศิลป์วุฒิ รองผู้บังคับการกองคดีอาญา สำนักงานกฎหมายและคดี นี้ จัดทำขึ้นเพื่อยืนหยัดในหลักการที่ว่า คนเรานั้นจะมีความเป็นมนุษย์โดยสมบูรณ์ได้ ก็ต่อเมื่อมีเสรีภาพในการแสดงความคิดโดยบริบูรณ์ และความเชื่อที่ว่าคนเราเกิดมาเสมอภาคและเท่าเทียมกัน ไม่มีอำนาจใดจะพรากความเป็นมนุษย์ไปจากเราได้ ไม่ว่่าด้วยวิธีการใด ๆ และอำนาจผู้ใด ***
*** We hold these truths to be self-evident, that all men are created equal, that they are endowed by their Creator with certain unalienable rights, that among these are life, liberty and the pursuit of happiness. That to secure these rights, governments are instituted among men, deriving their just powers from the consent of the governed. That whenever any form of government becomes destructive to these ends, it is the right of the people to alter or to abolish it, and to institute new government, laying its foundation on such principles and organizing its powers in such form, as to them shall seem most likely to effect their safety and happiness. [Adopted in Congress 4 July 1776] ***
Group Blog
 
All Blogs
 
ประธาน The U.S. Supreme Court ตาย

เมื่อวันเสาร์ที่ ๓ ก.ย. ๔๘ ที่ผ่านมา มีข่าวใหญ่สำหรับนักกฎหมายในสหรัฐอเมริกา คือ ประธานศาลสูงสุดสหรัฐ William Rehnquist ซึ่งป่วยเป็นโรคมะเร็ง ได้ถึงแก่ความตายแล้ว ด้วยอายุ ๘๐ ปี ศาลสูงสุดของสหรัฐมีผู้พิพากษาเพียง ๙ นายเท่านั้น (ต่างจากศาลสูงสุดของไทยมาก) Rehnquist ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้พิพากษาศาลสูงตั้งแต่วัยหนุ่ม ดำรงตำแหน่งยาวนานมากว่า ๓๔ ปี




อาจารย์ของกระผม คือ Professor Joseph L. Hoffmann , Professor Craig Bradley แห่ง Indiana Law School ผู้เคยเป็นเลขาฯ ของประธานศาลสูงสุดผู้ล่วงลับ และ Professor Andrew Liepold แห่ง UIUC College of Law ผู้เคยเป็นเลขาของผู้พิพากษาในศาลสูงสุด และเคยร่วมงานกับประธานศาลสูงสุดผู้นี้ มักจะเล่าถึงความเก่งกาจ ความเฉลียวฉลาด ความขยันขันแข็ง ทำงานหนักต่อเนื่องยาวนาน และความเป็นผู้มีมนุษย์สัมพันธ์ดี ของอดีตท่านประธานศาลสูงสุดท่านนี้เสมอ ผมต้องอ่านคำพิพากษาที่เขียนโดยประธานศาลผู้นี้มากมายในวิชารัฐธรรมนูญ กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกฎหมายอาญา รับรู้ถึงความรู้สึกดังกล่าวได้ดี ยอมรับคำพิพากษาที่เขียนโดยท่านน่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง

หลังจากที่ ท่านเสียชีวิต ประธานาธิบดี บุช ได้ประกาศที่จะเสนอชื่อ John Robert ผู้พิพากษาของศาล Federal Court ผู้ซึ่งได้ถูกเสนอขึ้นแทน ผู้พิพากษา O'Connor (ที่ประกาศเกษียณตัวเองจากหน้าที่ของพิพากษาศาลสูงสุด ไปก่อนหน้านี้ไม่นาน) ให้เป็นประธานศาลสูงสุดแทน William Rehnquist ผู้ล่วงลับทันที (ทั้งนี้ John Robert เคยเป็นเลขาของ Rehnquist มาก่อน) การเสนอชื่อครั้ง จึงเป็นข้ามหน้าข้ามตาผู้พิพากษาในศาลสูงสุดอีก ๗ คน ที่ดำรงตำแหน่งมาเนิ่นนาน

คำถามปิดบล๊อก.... ท่านว่าจะเกิดวิกฤติตุลาการ แย่งตำแหน่งกัน แบบที่เกิดในเมืองไทยเมื่อสิบกว่าปีก่อนฯ หรือเปล่า

ปล. บทความนี้ เขียนโดย David Corn ครับ บทความของเขา ได้รับการวิจารณ์มากมายว่า ไม่เหมาะสมและเป็นการตีความผลงานและบทบาทของท่าน Rehnquist ผิดพลาด ขอเชิญอ่านครับ

I confess: I have a hard time saying William Rehnquist, rest in peace. Supreme Court Chief Justice Rehnquist, who died on Saturday night, spent much of his adult life trying to restrict the rights of American citizens and to empower further the already-powerful. He rose to prominence as a right-wing attorney who decried the Earl Warren court for being a hotbed of judicial activism (left-wing judicial activism, as he saw it). He then became, as a Supreme Court justice, a judicial activist of the right-wing sort, overturning laws made by Congress (that protected women against domestic violence, banned guns near school property, and prohibited discrimination against disabled workers) and steering the justices into Florida's vote-counting mess in 2000 (an act that only coincidentally--right?--led to George W. Bush's presidency). In that case--Bush v. Gore--Rehnquist, for some reason or another, placed aside his much heralded belief in state sovereignty, which led him on other occasions to grouse about limits on the abilities of states to execute criminals. When it came to states frying prisoners, he advocated a hands-off approach. In vote-counting, he was all for intervention.

But let's be clear: in recent years there has been no other Supreme Curt justice who had a personal history so loaded with racism--or, to be kinder than is warranted, tremendous insensitivity to racial discrimination--as did William Rehnquist. As a law clerk for Justice Robert Jackson in the early 1950s--when the Court was considering the historic Brown v. Board of Education school desegregation case--Rehnquist wrote a memo defending the infamous 1896 decision, Plessy v. Ferguson, which established the separate-but-equal doctrine. Rehnquist noted, "That decision was right and should be reaffirmed." In other words, he favored continuing discrimination and racial segregation. During his 1971 confirmation hearings, after he was nominated to serve as an associate justice on the Supreme Court, he said that memo merely reflected Jackson's view not his own. But few historians have bought that shaky explanation.

It's not hard to conclude that Rehnquist was on the wrong side of history and then lied about it--especially given actions he took later. In 1964, Rehnquist testified against a proposed ordinance in Phoenix that would ban racial discrimination in public housing. As The Washington Post notes in today's stories on his death, Rehnquist wrote at the time, "It is, I believe, impossible to justify the sacrifice of even a portion of our historic individual liberty for a purpose such as this." In other words, people are not truly free if they are not free to discriminate. In his 1971 hearings, Rehnquist repudiated that stance. But did he really mean it? Twelve years later, he was the only justice to say that Bob Jones University--that hotbed of racial discrimination and religious bigotry--had a legal right to keep African-Americans off its campus.

"He Lived for The Law"--that's how AOL headlined the story on Rehnquist's death. But it's not that Rehnquist had a blind spot on race. He was an active proponent of discrimination. Yet this fellow--without truly making amends--became chief justice of the highest court of the land. Only in America.

What will George W. Bush do now? Elevate Antonin Scalia to chief justice? Appoint someone who's not already on the court to the job? Will he wait until after the hearings on John Roberts to name his pick? That would be good politics. It would be foolish to add any other factor to the Roberts confirmation process, which, from a White House perspective, is going rather well. In the aftermath of Hurricane Katrina, might Bush look to Edith Clement, a conservative federal appellate judge from New Orleans? Or how about Janice Rogers Brown, an African-American woman and sharecropper's daughter who is now a far-right California state judge (who seems to hate the federal government)? After all the recent talk about poor black people being shafted in New Orleans by the US government, Bush might enjoy standing in the Oval Office with Brown and talking about her personal story.

No doubt, Bush will make a selection that's better for him than the country--and he will announce his choice at a time and in a manner that best serves his administration. In the meantime, as Rehnquist's impact on America is considered, it ought not be forgotten--particularly at a time when we see how the poor of New Orleans have been neglected--that Rehnquist was at times all too willing to forget about the rights of those less fortunate than he. [Last Update : 6 กันยายน 2548 14:04:00]



Create Date : 06 กันยายน 2548
Last Update : 18 มิถุนายน 2553 8:34:02 น. 36 comments
Counter : 1144 Pageviews.

 
ผมเดาว่า หัวข้อนี้ จะไม่ค่อยมีคนอ่าน เหอ เหอ


โดย: POL_US วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:2:02:04 น.  

 
เดาผิด คริ คริ
(จ่ายมาซะ)


โดย: เ ม ฆ ค รึ่ ง ฟ้ า วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:2:05:41 น.  

 
แบ่งให้ด้วยล่ะ


โดย: แป๊กก วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:2:24:30 น.  

 
หา dict ก่อน แล้วจะรู้เรื่อง อิอิ

เพราะฉะนั้นเด๋วค่อยคอมเมนท์อีกที อิอิ


โดย: St.Patrick วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:2:28:36 น.  

 
มาซิค่ะมา อิอิ ...ถึงไม่ค่อยติดตามแต่ผ่านตาค่ะ แต่ทีมาเพราะคิดถึงหลานชายค่ะ อิอิ


โดย: พี่เจี้ยวค่ะ (sutida_jeaw ) วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:2:51:47 น.  

 
น่าสนใจครับ แล้วจะมาอ่านต่อ ขอแอดบลอกไว้ก่อนนะครับ


โดย: <เซ็นเซอร์> วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:3:01:21 น.  

 
ลป. ลืมไป David Corn คือใครครับ


โดย: <เซ็นเซอร์> วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:3:08:10 น.  

 
ผู้พิพากษาอเมริกา เค้าไม่มีเกษียณกันหรือครับ เห็นอายุ 80 แน่ะ


โดย: เพราะผมไม่มี Time Machine วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:3:27:57 น.  

 
มึน ตึ๊บ..


โดย: FaCtOrY cHeeSeCaKe วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:4:48:38 น.  

 
ถึงแก่ความตาย = ตาย

ประธาน The U.S. Supreme Court ถึงแก่ความตาย = ประธาน The U.S. Supreme Court ตาย


โดย: มัตถลุงค์ IP: 66.191.112.237 วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:5:45:06 น.  

 
ความจริงมันเป็นเรื่องยากที่จะอ่านเรื่องข้างต้นได้เข้าใจเหมือนกันแหละครับ ท่าน FaCtOry cHeeSeCaKe: เพื่อความเข้าใจ ผมขอนำคำพิพากษาที่สำคัญ 10 landmark cases ซึ่งสรุปโดย Msnbc news: มาเสนอประกอบ (ไม่รู้จะงงยิ่งขึ้นหรือเปล่า)

1. Dred scott v. Sanford, 1857: In an opinion by Chief Justice Roger Taney, the court held that blacks could not become citizens of the United States and that slave owners had the right to take their slaves into U.S. territories. The decision added to the North-South animosity that led to the Civil War.

2. Yick Wo v. Hopkins, 1886: In a case involving a Chinese laundry owner in San Francisco, the court ruled that the Equal Protection Clause of the Fourteenth Amendment "is not confined to the protection of citizens," but instead its protections "are universal in their application, to all persons within the territorial jurisdiction, without regard to any differences of race, of color, or of nationality.." This provided a basis for Supreme Court rulings in the 1970s and 1980s that states had to provide education and other benefits to illegal aliens.

3. Pollock v. Farmer's Loan and Trust Co. II.,1895: Responding to declining tariff revenues and Populist pressure for taxing the wealthy, Congress imposed a two- percent income tax in 1894. The court ruled the tax unconstitutional, leading to a popular backlash and ratification of the 16th amendment to the Constitution, which authorized an income tax.

4. Plessy v. Furguson, 1896: The court upheld a Louisiana law requiring racial segregation on trains. The justices said the Equal Protection Clause of the Fourteenth Amendment "could not have been intended to abolish distinctions based upon color" or to enforce "a commingling of the two races unsatisfactory to either."

5. West Coast Hotel v. Parrish, 1937: After years of ruling against government regulation of wages and working conditions, the court, led by Chief Justice Charles Evans Hughes, reversed itself and sustained Washington state's minimum wage law. Coming in the middle of congressional debate over President Roosevelt's "court-packing" proposal to add pro-regulation justices to the high court, the decision helped undermine support for the plan.

6. U.S. v. Carolene Products, 1938: In the famous "footnote four," Chief Justice Harlan Fiske Stone began a constitutional revolution by declaring that the court would apply a minimal "rational basis" test to review economic regulations, but would apply a "more exacting judicial scrutiny" to laws which impinged on freedoms protected by the Bill of Rights, or which targeted religious or ethnic minorities. This ultimately led to the court using a "strict scrutiny" test to strike down such state laws as English literacy requirements for voting.

7. Brown v. Board of Education, 1954: The court discarded the "separate but equal" doctrine of Plessy v. Ferguson and declared that racial segregation in public schools violated the Equal Protection Clause of the Fourteenth Amendment.

8. Roe v. Wade, 1973: The court held that state laws that prohibit abortions except to save the life of the mother were unconstitutional because they violated a right to privacy protected by the Fourteenth Amendment's Due Process Clause. "This right of privacy.is broad enough to encompass a woman's decision whether or not to terminate her pregnancy," declared Justice Harry Blackmun, writing for the majority.

9.Grutter v. Bollinger, 2003: The court upheld the University of Michigan's use of racial and ethnic preferences to increase the numbers of black, Latino and Native American applicants admitted to its law school. Justice Sandra Day O'Connor, writing for the majority, held that "race-conscious admissions policies must be limited in time" and predicted that "25 years from now, the use of racial preferences will no longer be necessary."

10. Lawrence v. Texas, 2003: The court struck down state anti-sodomy laws, deeming them a violation of the Due Process Clause of the Fourteenth Amendment. The majority opinion by Justice Anthony Kennedy said decisions relating to marriage, procreation, and child rearing are constitutionally protected and "persons in a homosexual relationship may seek autonomy for these purposes, just as heterosexual persons do."

ผู้สนใจข้อมูลอื่น ๆ สามารถค้นหาได้จาก Msnbc.com ครับ ที่จริงจะมีประเด็นร้อนเกี่ยวกับการเสนอชื่อผู้ที่จะเป็นผุ้พิพากษาแทน O'Connor เพื่อนร่วมชั้นเรียนกับ William Rehnquist ผู้ล่วงลับนี้ เนื่องจาก O'Connor ขอเกษียณตัวเองไปก่อนหน้านี้ไม่นานครับ ท่านบุชจะเสนอ ผู้พิพากษา Jonh Robert จากการเป็น Federal Judge ขึ้นเป็นประธานศาลสูงสุดเลย ฯ ไม่รู้จะมีวิกฤติตุลาการแบบไทย เมื่อสักประมาณ ๑๐ กว่าปีก่อนหรือเปล่า เหอ เหอ ( ดูรายละเอียดใน //www.msnbc.msn.com/id/9215790/)

ปล. ตอบคุณ "เพราะผมไม่มี Time Machine"ผู้พิพากษาระดับ Federal และ Suprem Court ไม่มีเกษียณครับ เพื่อประกันความเป็นอิสระ ให้อยู่จนตาย เว้นแต่จะถูก Impeachment หรือกระทำผิดและถูกขับไล่ด้วยกระบวนการตามรัฐธรรมนูญครับผม แต่ระดับมลรัฐ ส่วนใหญ่มาจากการเลือกตั้ง มีวาระการดำรงแหน่งแตกต่างกันไปตามกฎหมายของแต่ละมลรัฐครับ




โดย: POL_US วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:5:53:44 น.  

 
เดาผิด


โดย: Zantha วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:6:37:44 น.  

 
ไม่ค่อยเข้าใจค่ะ

กำลังจะไปเที่ยวอินเดียน่า มีที่ไหนแนะนำมั้ยคะ


โดย: Sugary GA วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:7:05:12 น.  

 
สวัสดีตอนเช้า...

แวะมาอ่านด้วยครับ...


โดย: **mp5** วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:7:12:20 น.  

 
อ่านแต่ภาษาไทย เหอๆ




...


โดย: ขอบคุณที่รักกัน (blueberry_cpie ) วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:7:17:24 น.  

 
น้องซีอ่านค่ะ พี่ POL...
...
อ่านแต่ภาษาไทยเหมือนกับพี่โบว์..แหะ แหะ
...
กฎหมายสำหรับน้องซี ถือเป็นของสูงค่ะ...
ไม่ฝ่าฝืน...
ไม่ลบหลู่...
ไม่แตะ...
ไม่ต้อง...
ไม่อ่าน... เอง... ขอให้มีใครซักคนพูดให้ฟังก็พอแล้ว.. อิอิ

น่าเสียดายคนเก่งๆ อีกคนนึงเนาะ..


โดย: ซีบวก วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:7:50:43 น.  

 
หวัดดีครับ..คิดผิดไปหน่อยแล้วครับ..

ผมก็อ่านนะ..เคยบอกแล้วว่าถ้าเห็นจั่วหัวที่หน้ารวม blog แล้วไม่สนใจจะไม่คลิกเข้ามา..เมื่อคลิกเข้ามาแล้วคืออ่านแหงมๆ..

อืมม..ผมว่าดีนะ..การตัดสินคดีความต่างๆ บางทีประสบการณ์ในการพิจารณาคดี หลักฐาน แง่นงำ ต่างๆ ของผู้พิพากษาที่มีชั่วโมงบินสูง ยาวนาน..ก็มีส่วนช่วยเยอะเหมือนกัน..เมืองไทยน่าจะทำแบบนี้บ้าง..ไม่ใช่ 60 หรือ 65 แล้วก็..ออกจากสารบบไป..

ผมว่าไม่เฉพาะในแวดววงยุติธรรมหรือศาลนะครับ..ทุกๆสายงานน่ะแหละ..เหมือนที่ สมเด็จฯ..มีรับสั่งไว้ว้า..ในทำ Brain Bank..อ่ะ..

ป.ล. น้องเมฆ..กับคุณแป๊ก..งานนี้หาร 3 ครับ ส่วนแบ่ง..


โดย: กุมภีน วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:8:10:38 น.  

 
เป็นบทความที่น่าสนใจมาก เมื่อพวกขวาจัดอนุรักษ์นิยมตายไปคน บุชก็จะแต่งตั้งคนอื่นที่เป็นขวาพอๆ กันขึ้นมาแทน ซึ่งก็จริง


โดย: Johann sebastian Bach วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:8:31:01 น.  

 
ขอความเห็นหน่อยนะครับ เพื่อน ๆ ว่า ไอ้ระบบนับตัวเลขด้านขวามือของจอฯ เช่น

ผู้ชมวันนี้ : 113
ผู้ชมเมื่อวาน : 258
เดือนที่แล้ว :
ผู้ชมทั้งหมด : 595

เพื่อน ๆ ว่ามันมั่วหรือเปล่าครับ ผมว่ามันมั่วนะ...ดูซิ คนเข้ามา เกือบ ๖๐๐ ร้อยใน ๒ วัน แต่สถิติการเข้าชม เพิ่มประมาณ ๒๐๐ เศษครับ ....เชื่อไม่ได้ซะแล้ว ผมว่านะ





โดย: POL_US วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:8:31:51 น.  

 
น่าสนใจดีค่ะ
(ขอส่วนแบ่งด้วยสิ )

เอ่อ แล้วตำแหน่งนี้นี่ปธน. เป็นผู้เลือกเหรอคะ


โดย: rebel วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:8:33:40 น.  

 
คิดเหมือนคุณภุมมีนเลย
อันที่จริงคนที่มีความรู้เยอะแยะ
ที่มีประสบการณ์สูง...สูงด้วยวัยวุฒิ
คุณวุฒิ ยังไม่น่าจะเกษียณเร็ว
ความรู้ที่เขามีน่าจะช่วยบ้านเมืองได้อีกเยอะอ่ะค่ะ

บ้านเราน่าจะมีแบบนี้มั่ง




โดย: prncess วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:8:47:22 น.  

 


แฮ่ะ ๆ เป็นอีก 1 ตัวเลขของผู้เข้าชมค่ะ


โดย: stella@luna วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:10:08:40 น.  

 
แปล ไม่ออกอ่ะคร้าบบบ


โดย: merf1970 วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:10:59:06 น.  

 
ขอบคุณนะคะพี่ ที่แวะไปเยี่ยม ..........

............ มาที่นี่ได้ความรู้ไปแน่นสมองเลยค่ะ.....

........ ยินดีที่ได้รู้จักค่ะ


โดย: largeface วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:11:04:16 น.  

 
ขอเวลาสัก 3 วัน คงจะเคลียร์ค่ะ


โดย: JewNid วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:11:04:26 น.  

 
ไม่อ่านจริงๆด้วย ไม่ชอบอ่านภาษาอังกิดยาวๆง่ะ เอิ้กๆๆ
จะอ่านถ้าคุณตำหนวดแปลให้ฟัง


โดย: เกือกซ่าสีชมพู วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:12:01:06 น.  

 
r i p
คือ rest in peace
ทำไมต้องลบด้วยครับ


โดย: เ ม ฆ ค รึ่ ง ฟ้ า วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:12:54:06 น.  

 
โทษที น้องเมฆฯ พี่โง่เองแหละ นึกว่าพิมพ์ตก เหอ เหอ ขอให้ท่านไปสู่สุคติด้วยคน

หลายท่านในที่นี่ ถ่มตัวจัง ไม่อ่านภาษาอังกฤษ (ทำแบบเดียวกับผม ก่อนมาเรียนในสหรัฐฯ เลยครับ อายจัง เหอ เหอ เพื่อนผมตอนนี้ ก็เหมือนกัน ถ้าวันใด ส่งอีเมลล์ เป็นภาษาอังกฤษ มันไม่อ่าน เฮ้อ ....กลุ้มใจ ไอ้เมลล์ผม ก็ไม่มีภาษาไทยด้วย จะส่งทีหนึ่ง ลำบากจริง ๆ ๆ)

ส่วนเรื่องคนสูงอายุ ยังเก่งอยู่นี่ ผมว่ามันขึ้นกับรายบุคคลไปนะครับ ผมเริ่มมีปัญหาเรื่องความจำของตัวเองเยอะเลย สมองก็เริ่มอ่อนล้า ไม่สดใส ไม่คิดอะไรรวดเร็วตามที่ต้องการแบบสมัยเด็ก ๆ ครับ ร่างกายก็เริ่มถดถอย ตอนหนุ่ม ๆ ไม่นอน สองสามวัน ทำงานยันเช้า ไม่รู้สึกอะไร สบายมาก ตอนนี้ ไม่ไหวแล้วครับ

คนที่อายุมากขึ้น ผมว่าสมองมันเริ่มตายนะครับ เรื่องมีประสบการณ์อะไรก็จริงอยู่ แต่ผมไม่แน่ใจว่า ผู้บริหารบ้านเมืองไทยของเรา ได้ลับสมองตลอดเวลาหรือไม่ ระหว่างที่ทำงาน เห็นส่วนใหญ่จะให้เด็ก ๆ ๆ ทำงานให้ทั้งนั้นแหละครับ ไปเรียนโทมหาลัยต่าง ๆ ก็ให้เด็กทำงานให้ ฯลฯ ไม่เคยเห็นทำงานเองเลย เหอ เหอ

ผมว่าประเมินเป็นราย ๆ ไปเถอะครับ ให้เด็กรุ่นใหม่ เขาได้เจริญเติบบ้าง ถ้าเกษียณอายุ ๗๐ หรือ ๘๐ แล้วผมจะโตได้อย่างไรละคร๊าบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ


โดย: POL_US วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:13:41:55 น.  

 
ขอบคุณครับ อย่างนี้นี่เอง


โดย: เพราะผมไม่มี Time Machine IP: 59.113.51.142 วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:14:24:22 น.  

 
มันแล้วแต่คนคิดนะคะคุณตำรวจ จริงแล้วใครจะไปรู้ใจท่านบุชเนอะ ก็ลองใช้หลักการความคิดของแต่ละคนว่ากันไป

ส่วนคนเรื่องอายุ..หุหุ บางทีถึง "แก๊" ก็ยังมีไฟอยู่ก็ได้นะคะ


โดย: marinesnow วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:16:25:15 น.  

 
เอ่อ พอยาวๆ ผมก็เกิดอาการขี้เกียจอ่านอ่ะคับ

ถ้าขยัน ผมไปเรียนเมืองนอกเหมือนคุณ POL แหล่วคับ



ผมไม่ทราบว่าผลงานของท่านเป็นเช่นไร

แต่การตายของคนดีๆ มักจะนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลง

ผมรู้สึกเช่นนั้นครับ


โดย: Marvellous Boy วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:16:53:34 น.  

 
มาทักทายยามเย็นนะคะ

ขอบคุณสำหรับคำแนะนำใน blog เราด้วยค่ะ
แต่สำหรับ blog นี้.................

ตอบไม่ถูกอ่ะค่ะ

ปล. แอบกระซิบ...
เคยเกือบสอบตกวิชากฏหมายด้วยล่ะค่ะ


โดย: ตุ๊กตาไขลาน วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:18:00:53 น.  

 
แวะมเข้ามาอ่านด้วยคนค่ะ

สบายดีมั้ยคะ คิดถึงค่ะ


โดย: yadegari วันที่: 6 กันยายน 2548 เวลา:19:36:39 น.  

 
เพิ่งย้อนมาลงความเห็น

ภาษาอังกฤษก็อ่านครับแต่ว่าไม่มี background ด้านกฏหมายครับ กฏหมายที่รุ้จักล่าสุดก็กฎจราจารที่ต้องท่องสอบใบขับขี่ แล้วก็กฏหมายไทยฉบับที่เก่าที่สุดคือกฏหมายตราสามดวง


อืม ผมว่านะครับ คงไม่สามารถตั้งได้ คงเลือก ๆ เอาจากใน 9 คนนี่ล่ะ คนใหม่ก็คงได้เป็นคณะกรรมการมากกว่า แม้ว่า อเมริกาเค้าจะนับถือเรื่องของความสามารถมากกว่า seneirity แต่ว่าออกจะยากที่จะให้คนใหม่มาเป็น chief ของคนเก่า ๆ เก๋า ๆ ตั้ง 9 คน


โดย: dont wanna no วันที่: 7 กันยายน 2548 เวลา:2:54:04 น.  

 
ที่จริงผมลุ้นเรื่องแต่งตั้งผู้พิพากษาของศาลสูงสุดสหรัฐฯ กะเขาเหมือนกันนะ เพราะถ้ามันเปลี่ยนแนวนี่ หลักกฎหมายก็เปลี่ยนอีก เซ็งเลย เพราะเรื่องหลักกฎหมายคอมมอนลอว์นี่ มันเปลี่ยนได้ตามเหตุผลและความจำเป็นของสภาวะการณ์บ้านเมืองฯ แต่ถ้าไม่จำเป็นจริง ๆ ก็ไม่ควรเปลี่ยน เพราะมันจะก่อให้เกิดความไม่มั่นคงแน่นอนของระบบกฎหมายครับ

การแต่งตั้งนาย จอห์น โรเบิร์ต ขึ้นไปแทนเลย ผมว่ามันจะไม่เข้าท่า คือ ตอนนี้ ผู้พิพากษาศาลสูงสุดสหรัฐ เหลือแค่ ๗ คน หลังจากที่ ประธานศาลเพิ่งตาย และ นางโอคอนเนอร์ เพิ่งขอเกษียณตัวเองไปไม่นานนี้ ตอนแรกนายบุชฯ จะเสนอแต่งตั้ง นายจอห์น โรเบิร์ต แทนนางโอคอนเนอร์ ซึ่งก็มีที่มาคล้าย ๆ กันนั่นแหละ คือ เป็นพวกอนุรักษ์นิยมเหมือนกัน แต่ตอนนี้ จะเสนอเป็น ประธานศาลเลย .... ถ้าเกิดเรื่องอย่างนี้ในเมืองไทย ผมว่าศาลแตกแน่ ๆ เหอ เหอ


โดย: POL_US วันที่: 7 กันยายน 2548 เวลา:6:28:15 น.  

 

ขอบคุณ คุณ PoL มากนะจ้าที่แวะไปเล่นด้วยกับจอมแก่น

** มีความสุขกับการทำงานนะจ้า **


โดย: จอมแก่นแสนซน วันที่: 8 กันยายน 2548 เวลา:12:47:07 น.  

POL_US
Location :


[Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 82 คน [?]




คลิ๊ก เพื่อ Update blog พ.ต.อ.ดร. ศิริพล กุศลศิลป์วุฒิ ได้ที่นี่
https://www.jurisprudence.bloggang.com






รู้จักผู้เขียน : About Me.

"เสรีภาพดุจดังอากาศ แม้มองไม่เห็น แต่ก็ขาดไม่ได้ "










University of Illinois

22 Nobel Prize & 19 Pulitzer Prize & More than 80 National Academy of Sciences (NAS) members







***คำขวัญ : พ่อแม่หวังพึ่งพาเจ้า

ครูเล่าหวังเจ้าสร้างชื่อ

ชาติหวังกำลังฝีมือ

เจ้าคือความหวังทั้งมวล



*** ความสุข จะเป็นจริงได้ เมื่อมีการแบ่งปัน :

Happiness is only real when shared!














ANTI-COUP FOREVER: THE END CANNOT JUSTIFY THE MEANS!






Online Users


Locations of visitors to this page
New Comments
Friends' blogs
[Add POL_US's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.