พลังงานทดแทนและการลดความยากจนของประชาชน 2014
โรงไฟฟ้าชุมชนขนาด 1 MW มีเงินซื้อวัตถุดิบหญ้าเนเปียร์16 ล้านบาทต่อปี ถ้ามีทั่วไทย 10,000 แห่ง ก็จะเพิ่มรายได้เกษตรกร 160,000ล้านบาทต่อปีหรือ14%ของGDPภาคเกษตร ตลอดไป  โรงไฟฟ้าชุมชนขนาด 1 MW ใช้พื้นที่ปลูกหญ้าพลังงาน1,000ไร่ ปลูกครอบครัวละ5ไร่=200 ครอบครัวยั่งยืน ถ้ามี 10,000 แห่ง สามารถช่วยเกษตรกรได้2ล้านครอบครัวหรือ 8 ล้านคน ( เยอรมันมีแล้ว8,500 แห่งทั่วประเทศ)  เกษตรกร2ล้านครอบครัว (1ครอบครัวมี4คน)ที่มีรายได้ประจำ งานประจำ ร่วมกับโรงไฟฟ้าชุมชนนี้จะสร้างความเข็มแข็งให้สังคมไทยอย่างยั่งยืน
ถ้าภาคพลังงานไม่ใจดำ อาทิเช่น ปตท. -บางจาก-การไฟฟ้าฝ่ายผลิต-การไฟฟ้าภูมิภาค เจียดเม็ดเงินไปลงทุนทำโรงไฟฟ้าชุมชน biogas-biomass จำนวน 7,000 แห่ง/ตำบล จะก่อให้เกิดการจ้างงานและสร้างรายได้เพิ่มแก่ชาวไร่ ชาวนา จำนวน 200,000 ล้านบาท/ปีหรือ 15%ของGDPภาคเกษตร ตามทฤษฎีตัวทวีและมือที่มองไม่เห็น คนจนจะลดลง ชุมชนแออัดและสลัมในเมืองก็ลดลงเพราะคนไหลกลับไปทำงานที่ชนบท น่าลงทุนไหม ?
GDPภาคเกษตร 11% แต่มีประชากรอาศัยอยู่ในภาคเกษตร 40% ภาวะคนส่วนใหญ่จึงยากจน เว้นแต่มีการเพิ่มการจ้างงานและสร้างรายได้เพิ่มให้เกษตรกรให้มากขึ้นเพื่อให้หลุดพ้นความยากจน...เส้นความยากจนประเทศไทยมีดังภาพด้านล่าง

ชาวนาไทย17.6 ล้านคน จำแนกเป็นชาวนายากจนมาก7.7 ล้านคน.... ข้อมูลจาก ดร.อัมมาร สยามวาลา,2555





Create Date : 04 กรกฎาคม 2557
Last Update : 4 กรกฎาคม 2557 19:57:28 น.
Counter : 1674 Pageviews.

0 comments
ชื่อ :
Comment :
 *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

surya21
Location :
  

[ดู Profile ทั้งหมด]
 ฝากข้อความหลังไมค์
 Rss Feed
 Smember
 ผู้ติดตามบล็อก : 50 คน [?]



New Comments
กรกฏาคม 2557

 
 
2
3
6
7
8
9
10
11
13
14
15
17
18
19
20
21
22
25
27
28
31
 
 
All Blog