Bloggang.com : weblog for you and your gang
ไปกด Link ได้ที่แฟนเพจ
https://www.facebook.com/skymantaf
หรือ Follow ได้ที่ Twitter
https://twitter.com/skymantaf
หรือที่
http://www.thaiarmedforce.com
นะครับ
Group Blog
เทคโนโลยีทางทหาร
กองทัพไทย: ประวัติการรบและศาสตร์ทางทหาร
ข้อมูลกองทัพทั่วโลก
Off Topic: เรื่องอื่น ๆ
Welcome
ปฏิบัติการทางทหารที่สำคัญของโลก
Temp Group: For Testing
การบินพลเรือน: เทคโนโลยี ข่าวคราว รูปภาพ
ณ ดินเเดนเเห่งหนึ่งที่มีชื่อเรียกว่า \'โลก\' (หัสนิยายเชิงสารคดีโลกร้อนแนวหว้ากอ)
-+=สารบัญบทความ=+-
รายชื่อ-จำนวนยุทโธปกรณ์ในกองทัพไทย
Politic & Social Talk: การเมืองและสังคม กรุ๊ปนี้เต็มที่
<<
กันยายน 2549
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
23 กันยายน 2549
อันว่าด้วย "เรือรบล่องหน"
All Blogs
(สปอยด์)อาวุธ เทคนิค แท๊คติก ใน Battleship
DTI-1 vs. BM21
รอก Support ของกริพเพน ความลับว่าทำไมค่าบำรุงรักษาของกริพเพนถึงต่ำ
โครงการ F-35 มีค่าใช้จ่ายพุ่งไปถึง 382 พันล้านเหรียญ/ราคาค่าตัวมากกว่า 92.4 ล้านเหรียญ
JAS-39 Gripen: How to build Gripen?+วีดีโอจรวด RBS-15
รู้จักกับ M79 และกระสุนชนิดต่าง ๆ
JAS-39 Gripen: บินไปกับซิมกริพเพนและพูดคุยกับรองผู้อำนวยการโครงการกริพเพนในประเทศไทย
เยี่ยมชมเรือดำน้ำ USS City of Corpus Christi แบบเจาะลึก!
โครงการเครื่องยนต์ทางเลือกของ F-35
F/A-18A/B ของกองทัพอากาศออสเตรเลียในการฝึก Thai Boomerang 2009
JAS-39 Gripen: พิสัยทำการของ Gripen
Walk Around - Su-30MKM แห่งกองทัพอากาศมาเลเซีย
จากงานพระราชพิธี: มารู้จักปืนใหญ่กันเถอะ
คร่าว ๆ กับ StriC ระบบควมคุมปฏิบัติการทางอากาศของกองทัพอากาศไทย
ว่าด้วย ... ระเบิดควัน แก๊สน้ำตา
ภาพและวีดีโอการตกของ B-2 เครื่องบิน Stealth ของสหรัฐ
Airbus Military เปิดตัวเครื่องบินลำเลียง A400M
F-35B รุ่นขึ้นลงทางดิ่ง ทำการบินเที่ยวแรก
JAS-39 Gripen: AEW&C ของไทย, ปากีสถาน, และสิงคโปร์
การพัฒนาขั้นต่อไปของ Typhoon และ Rafale
ภาพการบินทดสอบของ F-35 Lightning II "AA-1"
JAS-39 Gripen: กริพเพนเป็นแค่เครื่องบินฝึก?
รู้จัก Standard Missile-3 จรวดที่สหรัฐใช้ยิงดาวเทียม
The Most Advanced F-16IN For India Unveiled
กองทัพบกจะทำบั้งไฟเข้าประจำการ
TFC: คิดเล่น ๆ : L-39ZA/ART vs. MiG-29B
JAS-39 Gripen: กริเพน กับ Datalink
==พาเที่ยวงาน "วันเด็กแห่งชาติของกองทัพอากาศ 2551: RTAF Children's Day Air Show 2008"==
JAS-39 Gripen: บทความกริเพนของแฟนพันธุ์แท้เครื่องบินรบ สรศักดิ์ สุบงกช
JAS-39 Gripen: ว่าด้วยเรื่อง Software และ Source Code
ความหมาย และหลักการเบื้องต้นของ "Stealth Technology" .... อีกครั้ง
JAS-39 Gripen: ขอโต้เถียงข้อมูลในหนังสือพิมพ์ ภาค 2 เรื่องราคา Gripen
กองทัพอากาศประสบผลสำเร็จในการสร้างเครื่องบินต้นแบบ บ.ชอ.๒
JAS-39 Gripen: ข้อมูลเบื้องต้นของ Package อาวุธของ บ.ข. 20 ของกองทัพอากาศ
JAS-39 Gripen: ขอโต้เถียงข้อมูลในหนังสือพิมพ์ ภาค 1
เฮลิคอปเตอร์พระที่นั่งใหม่มาแล้วครับ: Sikorsky S-92
รู้จัก....(ว่าที่) เครื่องบินขับไล่แบบที่ 20 ของกองทัพอากาศไทย: JAS-39 Gripen
อันว่าด้วย.....ระบบเรด้าร์ลอยฟ้า: AWE, AWE&C, AWACS
-+= เปิดประสิทธิภาพ BTR-3E1 รถเกราะล้อยางจากประเทศยูเครน =+-
กองทัพเตรียมต่อยอดหุ่นยนต์กู้ภัยพระนครเหนือ
Rafale M ทดสอบการลงจอดบนเรือบรรทุกเครื่องบิน USS Enterprise ครั้งแรก
รู้จักกับ...เทคโนโลยีทางทหารใน "++Transformer++"
"Leave No Man Behind": ขอต้อนรับทุกท่านสู่ SAREX 2007 at Chiang Mai Int'l Airport ภาคอากาศยาน
"Leave No Man Behind": ขอต้อนรับทุกท่านสู่ SAREX 2007 at Chiang Mai Int'l Airport ภาค การแสดงการบิน
วันนี้...พรุ่งนี้....และมะรืนนี้ของ F-22 Raptor
Stealth Technology: รู้จัก เทคโนโลยี Stealth คร่าว ๆ กันครับ
มันมาแล้ว!!!...เอ้ย....ยินดีต้อนรับ "Su-30 MKM" สุดยอดเครื่องบินรบในอาเซียนของ "ทอ.มาเลเซีย"
กองทัพเรือ ฝึกยิงอาวุธปล่อยนำวิถี Exocet MM38 (เชิญชมภาพและ VDO หายากครับ)
เชิญรู้จักกับหน่วยรบพิเศษที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดในโลก.....Navy SEAL
โครงการ JSF เปิดเผยหมวกนักบินรุ่นล่าสุดที่จะใช้กับ F-35
รู้จัก "เครื่องบินโจมตี"......ก่อนที่จะไม่มีให้เห็น
พาเที่ยววันเด็กทอ. ณ ดอนเมือง + สาระความรู้เกี่ยวกับกองทัพอากาศไทย ภาค 3
พาเที่ยววันเด็กทอ. ณ ดอนเมือง + สาระความรู้เกี่ยวกับกองทัพอากาศไทย ภาค 2
20 มีนาคม 2550.........10 ปี เรือหลวงจักรีนฤเบศร
พาเที่ยววันเด็กทอ. ณ ดอนเมือง + สาระความรู้เกี่ยวกับกองทัพอากาศไทย ภาค 1
"เครื่องบินรบยิงจรวดกลับหลัง"....เอ๊ะ เป็นไปได้เหรอ
บทวิเคราะห์ Su-30 MKM ของมาเลเซีย
***อากาศยานของผู้นำสหรัฐ***
F-35 Lightening II "ขึ้นบินครั้งแรก"; F-35 First Flight
รู้จัก....การแบ่งประเภทเครื่องบินรบและยุคของเครื่องบิน
"เครื่องบินขับไล่จีน": มุมมองสู่ตลาดโลก
รู้จัก..."เรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง" ลำใหม่ของกองทัพเรืออาเซียน
เครื่อง Air Force One ของประเทศต่าง ๆ (Presidential Jet)
เรื่องราวของกระสุนและอาวุธต่อต้านรถถัง
อันว่าด้วย "เรือรบล่องหน"
###ขอประกาศปิด Blog เทคโนโลยีทางทหารชั่วคราว###
ทอ.รัสเซีย สั่งซื้อ Su-34 เข้าประจำการจำนวน 58 ลำ
Kfir: ปฏิบัติการขโมยพิมพ์เขียวจากฝรั่งเศส
อิหร่าน..เตรียมจัดซื้อ Su-30 MKP จำนวน 75 ลำ
มารู้จัก "เอจีส" กันเถอะ [Mk 7 Aegis Combat System]
ข้อดี - ข้อเสีย เครื่องบินรบค่ายต่าง ๆ
กองทัพอากาศ ปรับปรุงบ.ข.19 (F-16A/B/ADF) จำนวน 50 ลำมูลค่า 1,000 ล้านบาท
บทวิเคราะห์ F-35 Lighting II จากต่างประเทศ (แปลให้แล้วครับ)
Su-47 Burkut เครื่องบินล่องหนจากรัสเซียกับความเป็นไปได้ที่จะเข้าประจำการ
รู้จักกับเรือดำน้ำ 3 ชาติมหาอำนาจ ตอน เรือดำน้ำจีน
รู้จักกับเรือดำน้ำ 3 ชาติมหาอำนาจ ตอน เรือดำน้ำรัสเซีย
รู้จักกับเรือดำน้ำ 3 ชาติมหาอำนาจ ตอน เรือดำน้ำของสหรัฐอเมริกา
เรื่องราวของกระสุนหัวยูเรเนียม (ภาคจบ)
เรื่องราวของกระสุนหัวยูเรเนียม (ภาคแรก)
การแบ่งประเภทของเรือรบและการตั้งชื่อเรือ
เหลือเชื่อ!! F-15 ของอิสราเอลบินได้โดยใช้ "ปี ก ข้ า ง เ ดี ย ว"
ควันหลง: รู้จักกับเรือบรรทุกเครื่องบินสหรัฐและกองเรือคุ้มกัน (US Carrier Battle Group)
F-35 Joint Strike Fighter
F-22 สุดยอด (หรือเปล่า) เครื่องบินรบของอเมริกา
เรือรบใหม่ของกองทัพเรือไทยในแผนปรับปรุงกองทัพ 9 ปี
ฟันธง!!! "เรือดำน้ำ" เหมาะกับไทยหรือไม่ พร้อมวิเคราะห์ตัวเลือกที่เป็นไปได้สำหรับไทย
เปิดประสิทธิภาพฮ.และปืนใหญ่ใหม่ของกองทัพบกไทย
ทำไมเราไม่ "ทำเครื่องบินเอง" ซักที
รู้จักกับเครื่องบินขับไล่เอเชีย: "J-10" จากจีน
เปิดประสิทธิภาพตัวเลือกเครื่องบินใหม่ทอ. ตอนที่ 3: F-16 C/D Block 50/52+
เปิดประสิทธิภาพตัวเลือกเครื่องบินใหม่ทอ. ตอนที่ 2: Su-30 Flanker
เปิดประสิทธิภาพตัวเลือกเครื่องบินใหม่ทอ. ตอนที่ 1: JAS-39 Gripen
รู้จักกับ "เรือหลวงจักรีนฤเบศร" กันเถอะ
ความหมายของคำว่า "วัน ดี เดย์" (D Day)
ทำไมเราจึงต้องซื้อ"เครื่องบินขับไล่"ฝูงใหม่
อร่อยท่ามกลางไฟสงครามกับ MRE (Meal Ready to Eat)
อันว่าด้วย "เรือรบล่องหน"
บทความสนี้เคยเป็นกระทู้ในพันทิปครับ ก๊อปมาเก็บใน Blog ครับผม
Concept ของเครื่องบินรบล่องหนเริ่มขึ้นมาตั้งแต่ทศวรรศที่ 80 แล้ว แต่สำหรับการประยุกต์เทคโนโลยี Stealth แบบสมบูรณ์เข้ากับเรือรบนั้นเพิ่งมาเริ่มเอาในทศวรรศที่ 90 ปลาย ๆ นี่เอง
ณ ปัจจุบัน มีเรือรบที่ถือได้ว่ามีเทคโนโลยี Stealth ที่สมบูรณ์แบบอยู่ 3 ชั้นคือ เรือคอร์แวตต์ชั้น Visby ของราชนาวีสวีเดน เรือฟริเกตชั้น La Fayette ของกองทัพเรือฝรั่งเศส และ เรือคอแวตต์ชั้น MEKO A ของกองทัพเรือเยอรมัน
La Fayette Class Frigate
เรือฟริเกตชั้น ลา ฟาเย็ตเต้ ลำแรกเข้าระจำการในปี 1996 และลำสุดท้ายในปี 2001
ตัวเรือมีน้ำหนัก 3,500 ตัน ด้านข้างของเรือลาดเอียง 10 องศาเพื่อลดการสะท้อนเรด้าห์กลับสู่แหล่งกำเนิด ส่วนนอกถูกเคลือบด้วยสีที่ดูดซับคลื่นเรด้าห์ จึงทำให้มีภาคตัดขวางเรด้าห์ (Radar Cross Section: RCS) ค่อนข้างต่ำ ตัวเรือออกแบบปืนใหญ่เพื่อลดการสะท้อนเรด้าห์ (ลบเหลี่ยมหรือรูปทรงที่สามารถสะท้อนเรด้าห์ได้)
La fayette ติดตั้งขีปนาวุธพื้นสู่พื้นแบบ Exocet MM40 Block II จำนวน 8 ท่อยิง มีระยะยิงไกล 70 กม. และคาดว่าจะได้รับการติดตั้ง Exocet MM40 Block III ที่เพิ่มพิสัยยิงได้ไกลกว่า 180 กม.
La Fayette ติดตั้ง SAM รุ่น Crotale Naval CN2 ระยะยิงไกล 13 กม.
La Fayette ติดตั้งปืนใหญ่เรือขนาด 100 มม. 1 กระบอก ปืน 20 มม. 2 กระบอก สามารถรองรับเฮลิคอปเตอร์หนัก 10 ตันได้ โดยเรือชั้น La Fayette มีทั้งหมด 5 ลำคือ (ในวงเว็บคือรหัสเรือ)
La Fayette (F710)
Surcouf (F711)
Courbet (F712)
Aconit (F713)
Guépratte (F714)
มีอีกสามประเทศที่สั่งซื้อเรือชั้น La Fayette ไว้ใช้งานคือซาอุดิอารเบีย (Al Riyadh class) ไต้หวัน (Kang Ding class) และสิงคโปร์ (Formidalbe class) ซึ่งการติดอาวุธจะแตกต่างออกไปจากที่ติดตั้งในกองทัพเรือฝรั่งเศส
RSS Formidable
แต่เรือชั้น Formidable จะแตกต่างออกไปจาก La Fayette ตัวต้นแบบเล็กน้อย โดยกองทัพเรือสิงคโปร์ได้ออกแบบ Formidable ให้มีขนาดเล็กลง สะท้อนเรด้าห์ต่ำลง ลดเสียง อินฟาเรด และคลื่นแม่เหล็กที่แผ่ออกจากตัวเรือลง เพิ่มระบบอัตโนมัติมากขึ้น ทำให้ใช้ลูกเรือน้อยลงคือเพียงแค่ 70 คน ในขณะที่ La Fayette ใช้ถึง 164 คน
กองทัพสิงคโปร์สั่งซื้อ Formidable 6 ลำ โดย 1 ลำต่อที่ฝรั่งเศส ส่วนอีก 5 ลำต่อที่สิงคโปร์ พร้อมทั้งการถ่ายทอดเทคโนโลยี โดยจะเข้าประจำการและพร้อมรบอย่างเป็นทางการในปี 2007
MEKO A
เรือตระกูล MEKO A ถือได้ว่าเป็นเรือที่มีขนาดไม่ใหญ่แต่มีประสิทธิภาพสูง โดยมีสองชั้นใหญ่ ๆ คือ MEKO A-100 และ MEKO A-200 (อันที่จริง ชื่อ MEKO นี้ไม่ใช่ชั้นเรือครับ แต่เป็นชื่อองค์ประกอบที่จะมาเป็นเรือชั้นหนึ่ง ๆ นั้งเอง)
MEKO A มีตัวเรือที่มีเหลี่ยมมุมเพื่อลดการสะท้อนเรด้าห์ โดยซ่อนทางเดินทางกราบเหมือนกับ La Fayette ด้วย ตัวเรือสามารถลดการปล่อยรังสีอินฟราเรดได้ถึง 75% ของที่ปล่อยออกมาจริง โดยถอดปล่องปล่อยไอเสียออกไป โดยไอเสียจะผ่านเข้าสู่กระบวนการทำให้เย็นโดยฉัดนี้ทะเลเข้าไป และปล่อยออกในระดับน้ำทะเล
รังสีอินฟราเรดเป็นตัวการสำคัญที่จะทำให้จรวดที่พุ่งเข้ามาสามารถจับตำแหน่งของเรือได้ ฉะนั้น มีได้ยิ่งน้อยยิ่งดีครับ
ในที่นี้ จะขอพูดถึง MEKO A-100 ครับ
มาเลเซียสั่งซื้อ MEKO A-100 จำนวน 6 ลำ โดยจะต่อที่เยอรมันส่วนหนึ่ง และอีกส่วนหนึ่งต่อในมาเลเซียเอง และจะต่อให้ได้ถึง 27 ลำ
MEKO A-100 ของมาเลเซียในขั้นต้นจะติดตั้งเฉพาะปืนใหญ่เรือ 76/62 และปืน 30 mm. ของ Oto Melara เท่านั้นตามหลักการของเรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง แต่ในอนาคต (เมื่อมีงบประมาณและจำเป็น) มาเลเซียอาจจะติดตั้งระบบ SAM แบบ RIM-116A RAM (Rolling Airframe Missile) ระบบ SAM แบบ Umkhonto ติดตั้งในท่อยิงทางดิ่ง (Vertical Launching System: VLS) จำนวน 16 ท่อยิง และขีปนาวุธพื้นสู่พื้นแบบ Exocet MM40
ทั้งใน ในยามสงบ เรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง (OPV) จะทำหน้าที่ลาดตระเวนทางทะเลต่อภัยคุกคามต่ำเช่นการทำผิดทางทะเล โจรสลัด สินค้าหนีภาษี แต่เมื่อจำเป็นหรือเมื่อเกิดสงคราม OPV ก็สามารถติดตั้งอาวุธแบบเรือฟริเกตและเข้าร่วมกับกองเรือได้อย่างดี
ส่วน MEKO ที่สั่งต่อโดยประเทศอื่น ๆ ก็จะมีระบบอาวุธต่างกันออกไป โดยมีผู้สั่งซื้อคือ โปแลนด์ (A-100) แอฟริกาใต้และตุรกี (A-200 ทั้งคู่)
Visby Class Corvette
สุดท้าย และสุดยอดที่สุด คือเรือคอร์แวตตชั้น Visby ของราชนาวีสวีเดน โดยเรือลำแรกคือ HMS Visby จำเข้าประจำการในปีนี้ และอีก 4 ลำในปี 2007 โดย 4 ลำแรกจะทำภารกิจปราบเรือดำน้ำและกวาดทุ่นระเบิด ส่วนลำสุดท้ายจะทำภารกิจปราบเรือผิวน้ำ และมี option ต่อเพิ่มอีก 1 ลำ
เรือชั้นนี้ใช้เทคโนโลยี Sealth ที่สมบูรณ์แบบที่สุดเมื่อเทียบกับสองชั้นก่อนหน้า โดยตัวเรือลดรังสีอินฟราเรด เสียง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ลดความดันและภาคตัดขวางขอเรด้าห์ ซึ่งในสภาวะอากาศปกติเรือจะถูกตรวจจับได้ที่ระยะไกล 13 km (ไกลกว่า 13 กม.จับไม่ได้) และในพายุที่ 22 กม. แต่ถ้าเปิดระบบ Jamming ก็จะสามารถลดระยะการถูกตรวจจับลงไปได้ที่ 8 กม.ที่อากาศปกติ และ 11 กม.ในพายุ
ในภาพแสดงการสะท้อนของเรด้าห์เมื่อตกกระทบที่ผิวของเรือ สังเกตุว่าเรด้าห์จะสะท้อนตามเหลี่ยมมุมของเรือออกไปในทิศทางคนละด้านกับแหล่งกำเนิด
Visby ติดตั้งขีปนาวุธพื้นสู่พื้นประสิทธิภาพสูงแบบ RBS-15 ของสวีเดนจำนวน 8 นัด ซึ่งจะเก็บเอาไว้ใน bay ภายในตัวเรือเพื่อป้องกันการถูกตรวจจับได้ พร้อมตอปิโดและจรวดปราบเรือดำน้ำ
ตัวเรือติดตั้งปืนใหญ่ขนาด 57 mm ของ Bofors ซึ่งมีอัตราการยิงสูงถึง 220 นัดต่อนาทีที่ระยะไกล 17 กม. และตัวปืนนั้นถูกปรับให้มีคุณสมบัติ Stealth เช่นเดียวกับตัวเรือ
สิ่งที่น่าสนใจอีกอย่างหนึ่งก็คือเรือชั้น Visby ใช้ระบบขับเคลื่อนแบบ Water Jet แบบเดียวกับเรือชั้น fearless ของสิงคโปร์
'ระบบขับเคลื่อนด้วยเครื่องพ่นน้ำใช้แรงผลักของเครื่องพ่นน้ำในการขับเคลื่อนเรือ โดยการดูดน้ำจากนอกตัวเรือผ่านปั๊มแรงดันสูง และพ่นออกมาด้วยความเร็วสูงเพื่อให้เกิดแรงผลักในทิศตรงกันข้าม ระบบขับเคลื่อนด้วยเครื่องพ่นน้ำเป็นระบบขับเคลื่อนที่ไม่ใช้ใบจักรและหางเสือ แต่ใช้การควบคุมทิศทางน้ำที่พ่นออกมา ซึ่งเป็นการควบคุมทิศทางที่ให้ความคล่องตัวสูง และการที่ระบบขับเคลื่อนแบบนี้ไม่มีใบจักรและชุดเฟืองทดจึงสามารถลดอัตรากินน้ำลึกของเรือ ประหยัดพื้นที่ใช้สอย ลดเสียงและการสั่นสะเทือน และยังไม่เกิดปัญหาความเสียหายของใบจักรเมื่อเรือเข้าที่ตื้น หรือปัญหาการเกิดโพรงอากาศหรือคาวิเตชั่น (Cavitation) ที่ใบจักรเมื่อใช้ความเร็วสูง ระบบขับเคลื่อนด้วยเครื่องพ่นน้ำเริ่มมีใช้ในเรือความเร็วสูงขนาดเล็กมาหลายสิบปีแล้ว และในปัจจุบันเริ่มมีการพัฒนาระบบขับเคลื่อนด้วยเครื่องพ่นน้ำในเรือขนาดกลางและขนาดใหญ่' (ขอบคุณคุณกัปตันนีโมแห่ง Wing 21 ครับ)
Visby ถือเป็นหน้าใหม่ของประวัติศาสตร์เรือรบที่มีคุณสมบัติ Stealth อย่างสมบูรณ์แบบ และในอนาคตเทคโนโลยี Stealth ก็จะเป็นเทรนใหม่ของเรือรบที่จะต่อในอนาคตต่อไป
ภาคผนวก
ยังมีเรืออีกชั้นหนึ่งทีน่าสนใจคือเรือชั้น Hamina ซึ่งมีคุณสมบัติกึ่งล่องหน (semi stealth) ของกองทัพเรือฟินแลนด์
เรือชั้น Hamina เป็นเรือ Missile Boat ติดปืนใหญ่เรือแบบ 40/70 ปืนกล 12.7 mm. 2 กระบอก SAM รุ่น Umkhonto ติดตั้งในท่อยิงทางดิ่ง (VLS) มีขีปนาวุธพื้นสู่พื้นคือ RBS-15 4 นัด จรวดปราบเรือดำน้ำ และอุปกรณ์วางทุ่นระเบิด แต่ขนาดแค่ 250 ตันเท่านั้น เป็นเรือที่มีเทคโนโลยี Stealth อยู่เหมือนกัน แต่จะไม่เท่ากับสามลำข้างบน
อย่างไรก็ตาม เรือของกองทัพเรือฟินแลนด์ล้วนทำสีอย่างนี้ทั้งสิ้นครับ เป็นการพรางจากการตรวจการณ์ด้วยสายตา ทำให้รูปร่างของวัตถุเปลี่ยนรูปไปเมื่อมองด้วยตา แต่เรือที่มีเทคโนโลยี Stealth นั้นคงมีเพียงเรือชั้นนี้เท่านั้น
กองทัพเรือสหรัฐก็มีการวิจัยเรือรบล่องหนเช่นกันในเรือที่ชื่อว่า Sea Shadow ตามภาพข้างล่าง
สำหรับกองทัพเรือไทยใช้เทคโนโลยี Stealth ครั้งแรกในการสั่งต่อเรือชั้นนเรศวรจากจีน โดยส่วนหนึ่งได้รับความช่วยเหลือจากสหรัฐอเมริกา แต่การ Stealth นั้นยังไม่เท่าเรือทั้งสามชั้นที่กล่าวมา
เรือชั้นล่าสุดที่ทร.ได้รับคือเรือชั้นปัตตานีก็มีเทคโนโลยี Stealth เช่นกัน โดยดูได้ง่าย ๆ จากรูปทรงของเรือซึ่งมีการตัดเหลี่ยมมุมบางส่วนออกไป
และเป็นที่น่ายินดีว่าทั้งเรือชั้นนเรศวรและเรือชั้นปัตตานีนั้นราชนาวีไทยเป็นผู้ออกแบบเองทั้งสิ้น
จบครับ
Create Date : 23 กันยายน 2549
Last Update : 5 พฤศจิกายน 2550 13:21:16 น.
14 comments
Counter : 18127 Pageviews.
Share
Tweet
สวัสดีคร๊าบ
แวะมาเยี่ยมครับ อิ อิ เปนรายแรกเลย
ขอบคุญ สำหรับ Concept ของเครื่องบินรบล่องหนครับ
โดย: N'Bird (
AsWeChange
) วันที่: 23 กันยายน 2549 เวลา:6:04:56 น.
ผ่านมาชมค่ะ ชอบจังเลย เท่ห์อ่ะ ชอบๆๆ
โดย:
เเสงตะวัน
วันที่: 23 กันยายน 2549 เวลา:14:07:23 น.
ลืม DDG 51 ของ ทร.สหรัฐฯ ไปแล้วเหรอครับ นั่นก็มีส่วน stealth เหมือนกัน แต่ลำใหญ่หลาย ซ่อนยังไงก็คงไม่มิด
โดย: น้องเน IP: 202.90.127.8 วันที่: 23 กันยายน 2549 เวลา:16:18:43 น.
แหะ ๆ ผมไม่เคยทราบเลยครับว่า DDG 51 เป็น Stealth เหมือนกัน
โดย: Skyman IP: 203.121.187.3 วันที่: 23 กันยายน 2549 เวลา:16:31:02 น.
ได้ความรู้เพิ่มครับ
โดย: หมาป่าดำ IP: 203.113.41.133 วันที่: 23 กันยายน 2549 เวลา:19:44:30 น.
ทั้งเสากระโดง ทั้งรูปทรงองค์เอว ออกจะลาดเอียงซะขนาดนั้น แถมยังไม่มีจานเรดาร์อากาศใหญ่ๆ อีก น่าจะเป็นเรือรบ stealth รุ่นแรกๆ แน่นอนครับ
โดย: น้องเน IP: 203.170.228.172 วันที่: 24 กันยายน 2549 เวลา:22:38:34 น.
เข้ามาดู
โดย: วันนี้กาแฟไม่หวาน IP: 203.149.53.82 วันที่: 26 กันยายน 2549 เวลา:17:26:54 น.
ตอนอ่านแรก ๆ ก็สงสัยเหมือนกันว่าประเทศไทยจะมีไหม แต่กลายเป็นว่าไทยเรามีไปแล้วสองลำ เร็วเหมือนกันนะเนี่ย
โดย: กิตติโชค IP: 203.147.0.44 วันที่: 27 กันยายน 2549 เวลา:0:31:00 น.
เข้ามาชมครับ
โดย: จับฉ่าย IP: 58.9.16.124 วันที่: 30 กันยายน 2549 เวลา:11:42:35 น.
สุดยอดจิงๆครับ ทร.ไทย ก้าวหน้าจิงๆ ถ้าจะต่อเรือรบเพิ่มอีก น่าจะใช้ระบบstealth ที่ดีขึ้นกว่านี้อีกนะครับ
เนื้อหาสาระครบครับจิงๆคับ คุณ skyman
โดย: สมรภูมิ IP: 125.24.140.57 วันที่: 22 มิถุนายน 2550 เวลา:13:38:38 น.
โดย: โม IP: 125.27.139.193 วันที่: 2 กรกฎาคม 2550 เวลา:17:57:55 น.
โดย: บูม IP: 125.27.139.193 วันที่: 2 กรกฎาคม 2550 เวลา:18:00:31 น.
โดย: บูม IP: 125.27.139.193 วันที่: 2 กรกฎาคม 2550 เวลา:18:08:01 น.
ของสวีเดนนี่เจ๊งสุดยอดเลยครับ ใช้ระบบขับเคลื่อนแบบพ่นน้ำ แทนที่ใบจักรกับหางเสือ ยกย่องเลย ถึงจะเป็นประเทศเล็กๆ แต่เทคโนโลยี สุดยอดเลยครับ
ไทยเราก็ไม่เบานะ ออกแบบเรือเอง ต่อไป ถ้าออกแบบเอง ต่อเอง จะดีมากเลยครับ แต่เทคโนโลยีต่างๆคงต้องพัฒนาไปให้มากกว่านี้
โดย: Kwang IP: 124.121.177.193 วันที่: 22 ตุลาคม 2550 เวลา:21:56:08 น.
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
Analayo
Location :
กรุงเทพ Thailand
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 56 คน [
?
]
หากโลกนี้มีความยุติธรรม เราคงไม่ต้องมีศาล ไม่ต้องมีทหาร ไม่ต้องมีตำรวจหรอก/Skyman
@ จ่อยน้องลิง @
@ จ่อยหัวหอม @
X
X
Friends' blogs
*คุณวรมัน*
sirpass
ดนย์
ผีกองกอย
อาซิ่ม
UVPhenix
pooktoon
icy_CMU
นางน่อยน้อย
Glitter Maker
เซียงยอด
laughingbug
เพลงเสือโคร่ง
กะว่าก๋า
นภานุภาพ
คนไม่เจียม..
หมีสีชมพู
Warfighter
helldiver
น้องผิง
picmee
Mr.Terran
MeMoM
FW190
เฉลียงหน้าบ้าน
labelle
AW Milan
ลูกกวาดจัง
-=Jfk=-
Jump.Jr
unsa
Vitamin_C
azuma304
น้าหนูนีล_น้องขวัญ
ลูกไก่พองลม
pattapon
จูหน่านพ
แม่น้องขวัญ_ซาแมนต้า
Aerospicy
001 JZ Team
Noahdaddyboy
ขอบฟ้าบูรพา
บิน102
พี่เปิ้ลจ๋า
spetsnaz
archawin
Webmaster - BlogGang
[Add Analayo's blog to your web]
Links
หลังไมค์ถึง Skyman (Analayo)
องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์
อากาศยานานุสรณ์ อากาศยาน รุ่นต่าง ๆ ของ ทอ.
F-35 JSF Official Site
"นิตยสารนาวิกศาสตร์" นิตยสารของกองทัพเรือ
Eurofighter Typhoon - Nothing Coming Close
F-16.net - The F-16 Community
Sukhoi Design Bureau: สำนักแผนแบบซูคอย
JAS-39 Official Site [Gripen International]
Thaifighterclub.org - เว็บบอร์ดทางทหารของไทย
Wing21 - เว็บบอร์ดทางทหารของไทย
Airliners.net - รวมภาพอากาศยาน
JetPhotos.Net - รวมภาพอากาศยาน
คลับหน้าต่างโลก - เรื่องราวน่าสนใจจากทั่วโลก การเมือง ความเป็นอยู่ ประเทศต่าง ๆ
Wing of Siam : โดยท้าวทองไหล
Blog ภาษาอังกฤษ thaimilitary.wordpress.com
OA Military Books - รวบรวม E-Book ทางทหารทั่วโลก
Warfighter - ข้อมูลเทคโนโลยีทางทหาร
Thai UAV Group ... UAV ขนาดเล็กฝีมือคนไทย
ตำนาน C-130 ของกองทัพอากาศไทย
ThaiArmedForce.com - เว็บบอร์ดและแหล่งความรู้ทางทหาร
NWS 980 - เครื่องฝึกจำลองการรบทางทะเลฝีมือคนไทย
BlogGang.com
Pantip.com
|
PantipMarket.com
|
Pantown.com
| © 2004
BlogGang.com
allrights reserved.
สวัสดีคร๊าบ
แวะมาเยี่ยมครับ อิ อิ เปนรายแรกเลย
ขอบคุญ สำหรับ Concept ของเครื่องบินรบล่องหนครับ