กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
บุญ
ข้อธัมม์ที่ถาม-เถียงกันบ่อย
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้พิพากษาตั้งตุลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
รู้เขา รู้เรา
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน,
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจน เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีลธรรมไม่กลับมาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วัฒนธรรมประเพณี
จารึกธรรม
สมาธิ,ฌาน
เขาว่า ถ้าพุทธมีหลักธรรมดีจริง คงไม่ 0 สิ้นจากถิ่นเกิด
ภาวะแห่งนิพพาน
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์
จงกรม ไม่ใช่ จงกลม
กรรมฐาน
สติปัฏฐาน
ศีลสำหรับประชาชน
วิธีการแห่งศรัทธา (ปรโตโฆสะที่ดี)
วิธีการแห่งปัญญา (โยนิโสมนสิการ)
ทางดำเนินชีวิตสายกลาง
คุณสมบัติบุคคลโสดาบัน
กาม
ความสุข
อริยสัจ ๔
ธรรมฉันทะ - ตัณหาฉันทะ
กรรม
เถรวาท VS ลัทธิอาจารย์
นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท
ภาวนา ๔ ภาวิต ๔
สมถะ,วิปัสสนา,เจโตวิมุตติ,ปัญญาวิมุตติ
อนัตตา
สมมุติ
ศีล-สีลัพพตปรามาส
นรก สวรรค์ ในพระไตรปิฎก
วันสำคัญของชาวพุทธไทย
วิธีฝึกหูทิพย์ ตาทิพย์
ลำดับญาณ,ทวนญาณ
ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ ศ.ประจำชาติ
ระดับของผู้บรรลุนิพพาน
<<
กันยายน 2567
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
25 กันยายน 2567
โย โว อานนฺท มยา ธมฺโม จ วินโย จ เทสิโต ปญฺญตฺโต
บทสรุป
อรรถกถาและคัมภีร์รุ่นต่อมา
หัวใจพระไตรปิฎก
การจัดหมวดหมู่คัมภีร์ในพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกเข้ากันได้กับสถานการณ์ของโลกปัจจุบัน
การสังคายนาครั้งที่หกและภายหลังจากนั้น
พูดถึงพระไตรปิฎกแบบกว้างๆ ทำนองพูดตามสภาพ
โย โว อานนฺท มยา ธมฺโม จ วินโย จ เทสิโต ปญฺญตฺโต
บทสรุป
อรรถกถาและคัมภีร์รุ่นต่อมา
หัวใจพระไตรปิฎก
การจัดหมวดหมู่คัมภีร์ในพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกเข้ากันได้กับสถานการณ์ของโลกปัจจุบัน
การสังคายนาครั้งที่หกและภายหลังจากนั้น
พระไตรปิฎกที่เป็นลายลักษณ์อักษรเล่า ?
พระไตรปิฎกที่มีการท่องจำมีความแม่นยำเพียงไร
พระไตรปิฎกมีการรักษาสืบทอดมาถึงเราได้อย่างไร
พระไตรปิฎกเกิดขึ้นได้อย่างไร
กำเนิดพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท
การสังคายนาครั้งที่ ๑
การสังคายนาคืออะไร
พระไตรปิฎกกับพุทธบริษัท ๔
พระไตรปิฎกกับพระรัตนตรัย
พระไตรปิฎก: ข้อควรรู้เบื้องต้น
พุทธพจน์: แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา
ควรเชื่อพระไตรปิฎกเล่มไหน ๑๐๐ %
พระไตรปิฎกกับไตรสิกขา
พระไตรปิฎกกับสัทธรรม ๓
พระพุทธศาสนา ไม่ใช่ปรัชญา
ทรงห่วงสังคมไทย มีผู้กล่าวตู่พุทธพจน์ คิดพูดเอง
ตั้งเปรียญธรรม 3 ประโยค
ถาม-ตอบ สำนวนแปลบาลี
หลักแปลบาลี
ตรีปิฎกอาจารย์
ต่อจบ
รู้จักอรรถกถากันหน่อย
???
ภาษาธรรมไม่ใช่ภาษาไทย
ตย.ผู้เรียนบาลี กับ ผู้ไม่เรียน
หลักการอ่านคำภาษาบาลี(๒)
สมาส,สนธิ
แทรกเสริม
วิธีอ่านคำภาษาบาลี(๑)
ไม่แน่ใจตอบคำถาม
บาลี
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
พระไตรปิฎกเข้ากันได้กับสถานการณ์ของโลกปัจจุบัน
พระไตรปิฎก
เข้ากันได้กับ
สถานการณ์ของโลกปัจจุบัน
แม้ว่า
อารยธรรมมนุษย์
จะเจริญก้าวหน้ามามากมาย ผ่านเวลาหลายพันปี จนถึงบัดนี้ที่เรียกกันว่า
ยุคโลกาภิวัตน์
แต่มนุษย์ก็ยังไม่พ้น
หรือ
ห่างไกลออกไปเลยจากปัญหาความทุกข์
และการเบียดเบียนบีบคั้น ตลอดจนสงคราม
มนุษย์หวังจากระบบจริยธรรมของลัทธิศาสนาต่างๆ
ที่จะมา
ช่วยแก้ไขปัญหา
เหล่านี้
แต่ลัทธิศาสนาโดยทั่วไป
จะมอบให้เพียงบทบัญญัติ หรือคำสั่งบังคับต่าง ๆ ที่มนุษย์
ต้องปฏิบัติตามด้วยศรัทธา
ให้มนุษย์พ้นจากปัญหาในตัว
และ
ปัญหาระหว่างมนุษย์ด้วยกันเอง
ไปขึ้น
ต่อการลงโทษและการให้รางวัลจากอำนาจที่เชื่อว่าอยู่เหนือธรรมชาติ
ในเรื่องนี้
พระพุทธศาสนาตามพุทธพจน์ในพระไตรปิฎกบาลี
มีลักษณะพิเศษ ที่
สอนระบบจริยธรรมแห่งการพัฒนาตัวของมนุษย์เอง
ให้หลุดพ้นจากปัญหาทั้งหลาย สู่ความเป็นอิสระที่แท้จริงโดยไม่ต้องไปขึ้นต่ออำนาจบงการจากภายนอก
มนุษย์ยุคปัจจุบัน ได้เจริญมาถึงขั้นตอนหนึ่ง ที่ถือได้ว่าเป็นจุดสูงสุดแห่งอารยธรรม และ ณ จุดนี้ อารยธรรมก็ได้นำปัญหาที่เป็นความทุกข์ครบทุกด้านมามอบให้แก่มนุษย์ กล่าวคือ
ปัญหาชีวิต ปัญหาสังคม
ที่มาบรรจบถึงความครบถ้วนด้วย
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
เป็นที่ชัดเจนว่า อารยธรรมที่เจริญมาสูงสุดอย่างนี้
สามารถมอบปัญหา
ที่เป็นความ
ทุกข์
ให้แก่มนุษย์ได้อย่างครบถ้วน
แต่ไม่สามารถนำมนุษย์ให้หลุดพ้นจากทุกข์
แห่งปัญหาเหล่านั้นได้
มนุษย์จำนวนมากขึ้นๆ ได้เริ่มมองเห็นว่า พระพุทธศาสนาในพระไตรปิฎกเป็นคำตอบสำหรับปัญหาแห่งความทุกข์ทั้งหมดนี้ของมวลมนุษย์ ซึ่งอาจแสดงให้เห็นเป็น
วงกลมซ้อน ๓ ชั้นดังในแผนภูมิต่อไปนี้
ทุกข์ใจ
▼
●
-
ปัญหาชีวิต
-
ปัญหาสังคม
-
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
วงในที
่
สุดคือปัญหาชีวิต
และ
ปัญหาชีวิตที่ลึกซึ้งที่สุด
คือ
ปัญหา
ความ
ทุกข์ในจิตใจของมนุษย์
แม้แต่อย่างหยาบที่สุด คือ
ความเครียด
ก็เป็นปัญหาหนักยิ่งของมนุษย์ยุคปัจจุบัน
พระพุทธศาสนาเป็นคำสอน
ที่เรียกได้ว่า
ชำนาญพิเศษ
ในการกำจัดปัญหาชีวิตขั้นสุดท้าย คือความทุกข์ในใจนี้ ถึงขั้นที่เข้าถึงความจริงของธรรมชาติด้วยปัญญา และกำจัดเชื้อแห่งความทุกข์ในใจให้หมดสิ้นไป ทำให้จิตใจเป็นอิสระโล่งโปร่งผ่องใส โดยไม่มีทุกข์เกิดขึ้นอีกเลย
จากตัวเองออกมาข้างนอก
ในวงกว้างออกไป คือ
ปัญหาสังคม
อันเป็นความทุกข์ที่เกิดจากความสัมพันธ์ที่ผิด ซึ่งกลายเป็นความรุนแรงเบียดเบียนกันระหว่างมนุษย์
ในการแก้ปัญหาระดับนี้ พระพุทธศาสนาก็ปรากฏเด่นตลอดมาในฐานะเป็นศาสนาที่เผยแพร่โดยไม่ต้องใช้คมดาบ ไม่เคยมีสงครามศาสนา และไม่มีหลักการใด ๆ ที่จะนำไปใช้เป็นข้ออ้างในการรุกรานหรือทำสงครามได้เลย
พระพุทธศาสนามีประวัติแห่งความสงบอย่างแท้จริง
สอนเมตตาที่เป็นสากล จนนักปราชญ์ยอมรับกันว่า พระพุทธศาสนาเป็นขบวนการสันตินิยมที่แท้แรกสุดของโลกพระไตรปิฎกจึงเป็นแหล่งสำคัญที่สุดที่มนุษย์ผู้ปรารถนาสันติ สามารถเรียนรู้หลักการและวิธีการในการดำรงรักษาสันติภาพให้แก่โลกมนุษย์
วงนอกสุดที
่
ล้อมรอบตัวมนุษย์และสังคม ก็คือสิ
่
งแวดล้อมทั
้
งหลาย
โดยเฉพาะระบบนิเวศ ซึ่งเวลานี้ได้เกิดปัญหาร้ายแรงที่สุดซึ่งคุกคามต่อความอยู่รอดของมนุษยชาติ
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
นี้เป็นที่ยอมรับกันแล้วว่า เกิดจากแนวคิดผิดพลาด ที่เป็นฐานของอารยธรรมปัจจุบัน คือ ความคิดความเชื่อที่มองเห็นมนุษย์แยกต่างหากจากธรรมชาติ แล้วให้มนุษย์มีทัศนคติที่เป็นปฏิปักษ์ต่อธรรมชาติ มุ่งจะเอาชนะและมีอำนาจที่จะจัดการกับธรรมชาติ เพื่อสนองความต้องการผลประโยชน์ของมนุษย์ การที่จะแก้ปัญหานี้ได้ มนุษย์ต้องการแนวคิดใหม่มาเป็นฐาน
ในเรื่องนี้ พระพุทธศาสนาสอนทางสายกลาง ที่ให้รู้ตามเป็นจริงว่าธรรมชาติเป็นระบบแห่งความสัมพันธ์ของสิ่งทั้งปวง
รวมทั้งมนุษย์ด้วย
ซึ่งล้วนเป็นองค์ประกอบที่อิงอาศัยเป็นเหตุปัจจัยแก่กัน
มนุษย์เป็นองค์ประกอบพิเศษ
ในระบบความสัมพันธ์นั้น โดยเป็นส่วนที่เรียนรู้ฝึกหัดพัฒนาได้ เมื่อมนุษย์นั้นได้พัฒนาตนให้มีคุณสมบัติดีงาม ทั้งในด้านพฤติกรรมที่จะเป็นไปในทางเกื้อกูลกัน ในด้านจิตใจให้มีเจตจำนงในทางสร้างสรรค์ และในด้านปัญญาให้เข้าใจถูกต้องถึงระบบความสัมพันธ์ที่อิงอาศัยกันว่าจะต้องให้ระบบสัมพันธ์นั้นดำเนินไปด้วยดีได้อย่างไร
เมื่อมนุษย์ได้พัฒนามีคุณภาพดีแล้ว ก็จะรู้จักดำเนินชีวิตและจัดดำเนินการทั้งหลายที่จะเกื้อหนุนให้ระบบความสัมพันธ์แห่งธรรมชาติทั้งปวงนั้นเป็นไปในทางที่สมานเกื้อกูลกันยิ่งขึ้น เป็นทางนำมนุษย์ให้เข้าถึงโลกที่เป็นสุขไร้การเบียดเบียน
พูดสั้นๆ ว่า พระพุทธศาสนามอบให้ฐานความคิดอย่างใหม่ ที่เปลี่ยนแนวทางการพัฒนามนุษย์ จากการเป็นคู่ปรปักษ์ที่จะชิงชัยกับธรรมชาติ มาสู่ความเป็นองค์ประกอบที่เกื้อกูลต่อระบบแห่งการอยู่ร่วมกันของธรรมชาตินั้น
เมื่อมองเห็นประโยชน์ของพระพุทธศาสนาในการที่จะแก้ปัญหาข้อใหญ่ที่สุดนี้ พระไตรปิฎกก็จะเป็นแหล่งอันอุดมสมบูรณ์ของการศึกษาค้นคว้าเพื่อจุดหมายดังกล่าว
รูปวงกลม ๓ ชั้น เอามาไม่ได้ (นึกเอาแล้วกัน
) ไล่จากข้างในออกมาข้างนอก.
วงในสุด
ทุกข์ใจ
ปัญหาชีวิต
,
ปัญหาสังคม
,
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมวงนอกสุด
- ไม่ว่าจะมองไปทางไหนใกล้ไกลเห็นชัดทั้งข้างในข้างนอก
Facebook
Create Date : 25 กันยายน 2567
Last Update : 25 กันยายน 2567 18:07:40 น.
0 comments
Counter : 64 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com