กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
บุญ
ข้อธัมม์ที่ถาม-เถียงกันบ่อย
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้พิพากษาตั้งตุลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
รู้เขา รู้เรา
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน,
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจน เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีลธรรมไม่กลับมาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วัฒนธรรมประเพณี
จารึกธรรม
สมาธิ,ฌาน
เขาว่า ถ้าพุทธมีหลักธรรมดีจริง คงไม่ 0 สิ้นจากถิ่นเกิด
ภาวะแห่งนิพพาน
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์
จงกรม ไม่ใช่ จงกลม
กรรมฐาน
สติปัฏฐาน
ศีลสำหรับประชาชน
วิธีการแห่งศรัทธา (ปรโตโฆสะที่ดี)
วิธีการแห่งปัญญา (โยนิโสมนสิการ)
ทางดำเนินชีวิตสายกลาง
คุณสมบัติบุคคลโสดาบัน
กาม
ความสุข
อริยสัจ ๔
ธรรมฉันทะ - ตัณหาฉันทะ
กรรม
เถรวาท VS ลัทธิอาจารย์
นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท
ภาวนา ๔ ภาวิต ๔
สมถะ,วิปัสสนา,เจโตวิมุตติ,ปัญญาวิมุตติ
อนัตตา
สมมุติ
ศีล-สีลัพพตปรามาส
นรก สวรรค์ ในพระไตรปิฎก
วันสำคัญของชาวพุทธไทย
วิธีฝึกหูทิพย์ ตาทิพย์
ลำดับญาณ,ทวนญาณ
ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ ศ.ประจำชาติ
ระดับของผู้บรรลุนิพพาน
<<
กันยายน 2567
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
28 กันยายน 2567
พูดถึงพระไตรปิฎกแบบกว้างๆ ทำนองพูดตามสภาพ
พูดถึงพระไตรปิฎกแบบกว้างๆ ทำนองพูดตามสภาพ
โย โว อานนฺท มยา ธมฺโม จ วินโย จ เทสิโต ปญฺญตฺโต
บทสรุป
อรรถกถาและคัมภีร์รุ่นต่อมา
หัวใจพระไตรปิฎก
การจัดหมวดหมู่คัมภีร์ในพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกเข้ากันได้กับสถานการณ์ของโลกปัจจุบัน
การสังคายนาครั้งที่หกและภายหลังจากนั้น
พระไตรปิฎกที่เป็นลายลักษณ์อักษรเล่า ?
พระไตรปิฎกที่มีการท่องจำมีความแม่นยำเพียงไร
พระไตรปิฎกมีการรักษาสืบทอดมาถึงเราได้อย่างไร
พระไตรปิฎกเกิดขึ้นได้อย่างไร
กำเนิดพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท
การสังคายนาครั้งที่ ๑
การสังคายนาคืออะไร
พระไตรปิฎกกับพุทธบริษัท ๔
พระไตรปิฎกกับพระรัตนตรัย
พระไตรปิฎก: ข้อควรรู้เบื้องต้น
พุทธพจน์: แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา
ควรเชื่อพระไตรปิฎกเล่มไหน ๑๐๐ %
พระไตรปิฎกกับไตรสิกขา
พระไตรปิฎกกับสัทธรรม ๓
พระพุทธศาสนา ไม่ใช่ปรัชญา
ทรงห่วงสังคมไทย มีผู้กล่าวตู่พุทธพจน์ คิดพูดเอง
ตั้งเปรียญธรรม 3 ประโยค
ถาม-ตอบ สำนวนแปลบาลี
หลักแปลบาลี
ตรีปิฎกอาจารย์
ต่อจบ
รู้จักอรรถกถากันหน่อย
???
ภาษาธรรมไม่ใช่ภาษาไทย
ตย.ผู้เรียนบาลี กับ ผู้ไม่เรียน
หลักการอ่านคำภาษาบาลี(๒)
สมาส,สนธิ
แทรกเสริม
วิธีอ่านคำภาษาบาลี(๑)
ไม่แน่ใจตอบคำถาม
บาลี
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
พูดถึงพระไตรปิฎกแบบกว้างๆ ทำนองพูดตามสภาพ
มองพระไตรปิฎก นึกถึงหัวอกไปทั่วทุกคน
ทีนี้ เราอาจจะพูดถึงพระไตรปิฎกนั้นแบบกว้างๆ ทำนองว่าพูดตามสภาพโดยไม่อิงใคร
เมื่อว่าไปตามเรื่องก็เป็นว่า
ในพระไตรปิฎกมีพุทธพจน์เป็นแกน เป็นเนื้อแท้เป้าหมาย
พ่วงและแวดล้อมด้วย
เถรภาษิต
แม้กระทั่ง
อิสิภาษิต
(คำกล่าวของฤๅษี) แล้วก็
ภาษิตของคนอื่นๆ ที่มีบทบาทอยู่ในเรื่องราวนั้นๆ ตลอดจนคำสอน และเรื่องราวเก่าก่อน ที่ยอมรับได้
หรือ
นำเสนอใหม่ตามหลักการของพระพุทธศาสนา
อย่าง
เรื่องชาดกที่พระพุทธเจ้าตรัสเล่า
พระองค์ก็ทรงบอกไว้ว่า ตรงนี้คนนั้นๆ พูดว่าอย่างนั้นๆ แล้วก็มีคำสอนในวาทะของพระโพธิสัตว์ จะเห็นว่า
ชาดกเป็นเรื่องชีวีตของชาวโลก
ทั่วไป ที่อยู่กับการทำมาหาเลี้ยงชีพ เรื่องของครอบครัว ญาติพี่น้อง เพื่อน ชุมชน คนดี คนร้าย เรื่องอบายมุข การบำเพ็ญประโยชน์ ความขัดแย้งจองเวรและความสามัคคี ตั้งแต่ในหมู่สัตว์ดิรัจฉาน และคนต่างหมู่ต่างพวกจนถึงสงครามระหว่างรัฐ และการแข่งฤทธิ์ระหว่างฤๅษีกับเทวดา
ชาดกมีคำสอนสำหรับคนทั่วไปในเรื่องของชีวิตประจำวัน คติชาวบ้าน
การดิ้นรนแสวงหาความเจริญก้าวหน้าความสำเร็จด้านต่างๆ และการอยู่ร่วมกันในสังคมนี้ ว่าด้วยความประพฤติตามหลักศีลธรรม การเคารพเชื่อฟังพ่อแม่ ครูอาจารย์จนถึงการปกครองบ้านเมือง
หลักธรรมคำสอนในระดับนี้ก็สำคัญ
ไม่ควรมองข้ามไป
เพราะพระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมเพื่อประโยชน์สุขแก่ประชาชน จึงมีคำสอนทุกระดับ หลักธรรมคำสอนแบบชาดกนี้เรียกว่าเริ่มตั้งแต่พื้นฐานขึ้นไป จนเชื่อมต่อขึ้นสู่โลกุตตรธรรม
บางทีชาวพุทธ พอจับคำสอนในระดับหนึ่ง ก็เอียงไปอยู่ในเขตแคบๆของระดับนั้น
ไม่เข้ากับความเป็นจริง ควรจะนำคำสอนทุกระดับมาสอน มาใช้ให้ประสานสัมพันธ์หนุนเสริมถึงกัน อย่างที่ปัจจุบันเรียกว่าบูรณาการเข้าเป็นองค์รวมให้สำเร็จ
หลักธรรมคำสอนทั้งหลาย
นั้น
จะมีเรื่องอะไรเข้ามา ก็ครอบคลุมไปได้ทุกอย่าง พระพุทธเจ้าทรงจาริกไป
นอกจากจุดเป้าหมายแล้ว ก็เสด็จไปทั่ว ไม่จำเพาะที่ และคนที่มาเฝ้าก็หลากหลายทุกรูปแบบ เขาทูลถามอะไร มีเรื่องอะไรให้ปรารภ หรือเกี่ยวข้อง ก็ตรัสแสดงธรรมเข้ากับเรื่องได้ทั้งนั้น โดยมีสาระสำคัญก็คือ
หนึ่ง
มุ่งที่ความรู้ อะไรควรรู้ ก็เอามาบอกให้รู้ แล้วก็พูดก็ตอบชี้แจงให้เข้าใจให้ชัดเจน
สอง
แล้วก็สอนก็อธิบายให้เห็นทางว่าทำอย่างไรจะเอาไปใช้ประโยชน์ได้ให้สำเร็จผล พ้นปัญหา ลุจุดหมาย ได้ความสุข
นี่คือสาระสำคัญ
เหมือนกับเรามาพูดกันในที่นี้ มีอะไรเป็นไปที่ไหน ก็ยกมาว่ากัน จะถามเรื่องอะไรก็ได้ เราก็ปฏิบัติตามแนวทางของพระองค์ แต่ไม่ว่าเรื่องอะไร ก็มีสาระมาลงที่นี่ คือ
หนึ่ง
รู้เข้าใจ
สอง
เอาไปใช้ประโยชน์ได้ หมายความว่า ให้เกิดประโยชน์สุขแก่ตัวเอง แก่ครอบครัว แก่ประชาชนหรือแก่สังคม และแก่มวลมนุษย์หรือสรรพสัตว์
นี่ก็เป็นจุดมุ่งหมายในการที่พระพุทธเจ้าทรงสอนธรรม
คือ พระองค์ทรงมุ่งเพื่อประโยชน์สุขแก่ประชาชน ดังที่ทรงย้ำอยู่เสมอว่า
พหุชนหิตายะ พหุชนสุขายะ โลกานุกัมปายะ
คือต้องการให้เขาได้ประโยชน์สอนเพื่อประโยชน์แก่เขา
แต่ทีนี้ เรื่องมันซับซ้อน
ขึ้นมาในตอนที่ว่า
คนอยู่ในระดับการพัฒนาที่ไม่เท่ากัน
อย่างที่เคยพูดกันมาแล้ว
อินทรีย์
โดยเฉพาะ
ปัญญา
ความสามารถในการคิด ในการเข้าใจความ และจับใจความ ก็ไม่เท่ากัน
พระพุทธเจ้าจึงได้ทรงแยกคน
เป็นสามประเภทบ้าง สี่ประเภทบ้าง เป็นบัวสามเหล่าบ้าง เป็นบัวสี่เหล่าบ้าง (ในพระไตรปิฎกก็บัวสามเหล่า อรรถกถาก็บัวสี่เหล่า) อย่างนี้ เป็นต้น
พระพุทธเจ้าตรัสอะไรกะใคร พระองค์ก็ทรงดูทรงหยั่งทรงทราบความแตกต่างระหว่างบุคคลว่า คนนี้แค่นี้จะรู้เข้าใจเอาไปใช้ได้แค่ไหน แล้วพระองค์ก็ทรงสอนให้เขาเข้าใจนำไปใช้ปฏิบัติได้ในระดับนั้น แม้แต่คนเดียวกัน ครั้งนี้กับอีกครั้งหนึ่งมา บางทีก็พัฒนาก้าวไปแล้ว ก็ไม่เท่ากัน ครั้งนี้เขาแค่นี้พระองค์ก็ทรงสอนเท่านี้ อีกครั้งหนึ่ง พอเขาพร้อมกว่านั้น พระองค์ก็ทรงสอนต่อสูงขึ้นไปอีก คนในกลุ่มในหมู่เดียวกัน มาพร้อมด้วยกัน ก็มีแนว
มีพื้นมีความพร้อม
ไม่เท่ากัน
ฉะนั้น เราก็ต้องรับรู้ตามสภาพว่า คำสอนในพระไตรปิฎกจึงมีหลายขั้น หลายระดับ หลายแนว หลายลักษณะ เพื่อคนที่ต่างกันหลากหลายมากมาย พระพุทธเจ้าทรงมีทั้ง
-
อินทริยปโรปริยัตตญาณ
ญาณหยั่งรู้
ความยิ่ง
และ
หย่อน
แห่ง
อินทรีย์
ของสัตว์ทั้งหลาย คนมีอินทรีย์แก่กล้าไม่เท่ากัน มีศรัทธา มีปัญญา มีสติ มีสมาธิ มีความเพียร เป็นต้น ไม่เท่ากัน พูดง่ายๆว่า
รู้ความแตกต่างแนวตั้ง
แล้วก็
-
นานาธิมุตติกญาณ
รู้ความแตกต่างของมนุษย์ในแง่ความโน้มเอียง ความสนใจ พื้นเพภูมิหลัง ซึ่งไม่เหมือนกัน แม้แต่มีอินทรีย์ เช่นมีปัญญาในระดับเดียวกัน แต่อาจจะสนใจคนละเรื่องคนละราว พูดง่ายๆว่า
รู้ความแตกต่างแนวนอน
พระองค์ทรงรู้ความแตกต่างของคนทั้งหลายอย่างนี้ เมื่อพระองค์ทรงสนทนากับใคร ก็ตรัสให้เหมาะกับคนนั้น ให้เขาได้ประโยชน์ ก็ไปลงที่สำคัญ คือ จุดหมายที่จะให้เขาได้ประโยชน์
โดยเฉพาะ
ประโยชน์ในการที่จะได้พัฒนาชีวีตขึ้นไปสักขั้นหนึ่ง
Create Date : 28 กันยายน 2567
Last Update : 28 กันยายน 2567 13:22:17 น.
0 comments
Counter : 220 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com