กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
บุญ
ข้อธัมม์ที่ถาม-เถียงกันบ่อย
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้พิพากษาตั้งตุลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
รู้เขา รู้เรา
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน,
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจน เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีลธรรมไม่กลับมาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วัฒนธรรมประเพณี
จารึกธรรม
สมาธิ,ฌาน
เขาว่า ถ้าพุทธมีหลักธรรมดีจริง คงไม่ 0 สิ้นจากถิ่นเกิด
ภาวะแห่งนิพพาน
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์
จงกรม ไม่ใช่ จงกลม
กรรมฐาน
สติปัฏฐาน
ศีลสำหรับประชาชน
วิธีการแห่งศรัทธา (ปรโตโฆสะที่ดี)
วิธีการแห่งปัญญา (โยนิโสมนสิการ)
ทางดำเนินชีวิตสายกลาง
คุณสมบัติบุคคลโสดาบัน
กาม
ความสุข
อริยสัจ ๔
ธรรมฉันทะ - ตัณหาฉันทะ
กรรม
เถรวาท VS ลัทธิอาจารย์
นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท
ภาวนา ๔ ภาวิต ๔
สมถะ,วิปัสสนา,เจโตวิมุตติ,ปัญญาวิมุตติ
อนัตตา
สมมุติ
ศีล-สีลัพพตปรามาส
นรก สวรรค์ ในพระไตรปิฎก
วันสำคัญของชาวพุทธไทย
วิธีฝึกหูทิพย์ ตาทิพย์
ลำดับญาณ,ทวนญาณ
ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ ศ.ประจำชาติ
ระดับของผู้บรรลุนิพพาน
<<
กันยายน 2567
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
22 กันยายน 2567
พระไตรปิฎกกับพระรัตนตรัย
พระไตรปิฎก: ข้อควรรู้เบื้องต้น
พุทธพจน์: แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา
พูดถึงพระไตรปิฎกแบบกว้างๆ ทำนองพูดตามสภาพ
โย โว อานนฺท มยา ธมฺโม จ วินโย จ เทสิโต ปญฺญตฺโต
บทสรุป
อรรถกถาและคัมภีร์รุ่นต่อมา
หัวใจพระไตรปิฎก
การจัดหมวดหมู่คัมภีร์ในพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกเข้ากันได้กับสถานการณ์ของโลกปัจจุบัน
การสังคายนาครั้งที่หกและภายหลังจากนั้น
พระไตรปิฎกที่เป็นลายลักษณ์อักษรเล่า ?
พระไตรปิฎกที่มีการท่องจำมีความแม่นยำเพียงไร
พระไตรปิฎกมีการรักษาสืบทอดมาถึงเราได้อย่างไร
พระไตรปิฎกเกิดขึ้นได้อย่างไร
กำเนิดพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท
การสังคายนาครั้งที่ ๑
การสังคายนาคืออะไร
พระไตรปิฎกกับพุทธบริษัท ๔
พระไตรปิฎกกับพระรัตนตรัย
พระไตรปิฎก: ข้อควรรู้เบื้องต้น
พุทธพจน์: แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา
ควรเชื่อพระไตรปิฎกเล่มไหน ๑๐๐ %
พระไตรปิฎกกับไตรสิกขา
พระไตรปิฎกกับสัทธรรม ๓
พระพุทธศาสนา ไม่ใช่ปรัชญา
ทรงห่วงสังคมไทย มีผู้กล่าวตู่พุทธพจน์ คิดพูดเอง
ตั้งเปรียญธรรม 3 ประโยค
ถาม-ตอบ สำนวนแปลบาลี
หลักแปลบาลี
ตรีปิฎกอาจารย์
ต่อจบ
รู้จักอรรถกถากันหน่อย
???
ภาษาธรรมไม่ใช่ภาษาไทย
ตย.ผู้เรียนบาลี กับ ผู้ไม่เรียน
หลักการอ่านคำภาษาบาลี(๒)
สมาส,สนธิ
แทรกเสริม
วิธีอ่านคำภาษาบาลี(๑)
ไม่แน่ใจตอบคำถาม
บาลี
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
พุทธพจน์: แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา
พุทธพจน์:
แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา
คำว่า
พระพุทธศาสนา
ว่าโดยทั่วไป มีความหมายกว้างมาก รวมตั้งแต่
หลักธรรม พระสงฆ์ องค์กร สถาบัน กิจการ
ไปจนถึง
ศาสนสถาน
และ
ศาสนวัตถุ
ทุกอย่าง แต่ถ้าจะเจาะลงไปให้ถึงความหมายแท้ที่เป็นตัวจริง
พระพุทธศาสนา
ก็มีความหมายตรงไปตรงมาตามคำแปลโดยพยัญชนะของคำว่า พระพุทธศาสนา นั่นเองว่า “คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า” นี้คือตัวแท้ตัวจริงของพระพุทธศาสนา สิ่งอื่นนอกจากนี้เป็นส่วนขยายออก หรืองอกขึ้นมาจากคำสอนของพระพุทธเจ้านั้น
เมื่อจับความหมายที่เป็นตัวแท้ได้แล้ว ก็จะมองเห็นว่า ความดำรงอยู่ของพระพุทธศาสนา หมายถึงความคงอยู่แห่งคำสอนของพระพุทธเจ้า หากคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าเลือนลางหายไป แม้จะมีบุคคล กิจการศาสนสถาน และศาสนวัตถุใหญ่โตมโหฬารมากมายเท่าใด ก็ไม่อาจถือว่ามีพระพุทธศาสนา แต่ในทางตรงข้าม แม้ว่าสิ่งที่เป็นรูปธรรมภายนอกดังกล่าวจะสูญหาย ถ้าคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้ายังดำรงอยู่ คนก็ยังรู้จักพระพุทธศาสนาได้ ด้วยเหตุนี้ การดำรงรักษาพระพุทธศาสนาที่แท้จริง จึงหมายถึงการดำรงรักษาคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า
กล่าวให้เฉพาะลงไปอีก คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้านั้น ก็ได้แก่พุทธพจน์หรือพระดำรัสของพระพุทธเจ้านั้นเอง ดังนั้น ว่าโดยสาระ การดำรงรักษาพระพุทธศาสนา จึงหมายถึงการดำรงรักษาพระพุทธพจน์
อนึ่ง พระพุทธพจน์นั้น เป็นพระดำรัสที่พระพุทธเจ้าตรัสแสดงธรรมและบัญญัติวินัยไว้ ก่อนพุทธปรินิพพานไม่นาน พระพุทธเจ้าตรัสไว้เองว่าจะไม่ทรงตั้งพระภิกษุองค์ใดเป็นศาสดาแทนพระองค์เมื่อพระองค์ปรินิพพานล่วงลับไป แต่ได้ทรงมอบหมายให้ชาวพุทธได้รู้กันว่า พระธรรมวินัยนั้นแหละเป็นพระศาสดาแทนพระองค์ ชาวพุทธจำนวนมากถึงกับจำพุทธพจน์ภาษาบาลีได้ว่า
“โย โว อานนฺท มยา ธมฺโม จ วินโย จ เทสิโต ปญฺญตฺโต โส โว มมจฺจเยน สตฺถา”
“ดูก่อนอานนท์ ธรรมและวินัยใด ที่เราได้แสดงแล้ว และบัญญัติแล้ว แก่เธอทั้งหลาย ธรรมและวินัยนั้น จักเป็นศาสดาของเธอทั้งหลาย โดยกาลที่เราล่วงลับไป”
โดยนัยนี้ พระพุทธพจน์ จึงเป็นทั้งพระพุทธศาสนาคือคำตรัสสอนของพระพุทธเจ้า และที่ธำรงสถิตพระศาสดา โดยทรงไว้และประกาศพระธรรมวินัยแทนพระพุทธองค์
Create Date : 22 กันยายน 2567
Last Update : 22 กันยายน 2567 8:52:28 น.
0 comments
Counter : 66 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com