กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
บุญ
ข้อธัมม์ที่ถาม-เถียงกันบ่อย
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้พิพากษาตั้งตุลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
รู้เขา รู้เรา
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน,
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจน เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีลธรรมไม่กลับมาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วัฒนธรรมประเพณี
จารึกธรรม
สมาธิ,ฌาน
เขาว่า ถ้าพุทธมีหลักธรรมดีจริง คงไม่ 0 สิ้นจากถิ่นเกิด
ภาวะแห่งนิพพาน
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์
จงกรม ไม่ใช่ จงกลม
กรรมฐาน
สติปัฏฐาน
ศีลสำหรับประชาชน
วิธีการแห่งศรัทธา (ปรโตโฆสะที่ดี)
วิธีการแห่งปัญญา (โยนิโสมนสิการ)
ทางดำเนินชีวิตสายกลาง
คุณสมบัติบุคคลโสดาบัน
กาม
ความสุข
อริยสัจ ๔
ธรรมฉันทะ - ตัณหาฉันทะ
กรรม
เถรวาท VS ลัทธิอาจารย์
นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท
ภาวนา ๔ ภาวิต ๔
สมถะ,วิปัสสนา,เจโตวิมุตติ,ปัญญาวิมุตติ
อนัตตา
สมมุติ
ศีล-สีลัพพตปรามาส
นรก สวรรค์ ในพระไตรปิฎก
วันสำคัญของชาวพุทธไทย
วิธีฝึกหูทิพย์ ตาทิพย์
ลำดับญาณ,ทวนญาณ
ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ ศ.ประจำชาติ
ระดับของผู้บรรลุนิพพาน
<<
กันยายน 2567
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
23 กันยายน 2567
กำเนิดพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท
การสังคายนาครั้งที่ ๑
การสังคายนาคืออะไร
พระไตรปิฎกกับพุทธบริษัท ๔
พูดถึงพระไตรปิฎกแบบกว้างๆ ทำนองพูดตามสภาพ
โย โว อานนฺท มยา ธมฺโม จ วินโย จ เทสิโต ปญฺญตฺโต
บทสรุป
อรรถกถาและคัมภีร์รุ่นต่อมา
หัวใจพระไตรปิฎก
การจัดหมวดหมู่คัมภีร์ในพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกเข้ากันได้กับสถานการณ์ของโลกปัจจุบัน
การสังคายนาครั้งที่หกและภายหลังจากนั้น
พระไตรปิฎกที่เป็นลายลักษณ์อักษรเล่า ?
พระไตรปิฎกที่มีการท่องจำมีความแม่นยำเพียงไร
พระไตรปิฎกมีการรักษาสืบทอดมาถึงเราได้อย่างไร
พระไตรปิฎกเกิดขึ้นได้อย่างไร
กำเนิดพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท
การสังคายนาครั้งที่ ๑
การสังคายนาคืออะไร
พระไตรปิฎกกับพุทธบริษัท ๔
พระไตรปิฎกกับพระรัตนตรัย
พระไตรปิฎก: ข้อควรรู้เบื้องต้น
พุทธพจน์: แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา
ควรเชื่อพระไตรปิฎกเล่มไหน ๑๐๐ %
พระไตรปิฎกกับไตรสิกขา
พระไตรปิฎกกับสัทธรรม ๓
พระพุทธศาสนา ไม่ใช่ปรัชญา
ทรงห่วงสังคมไทย มีผู้กล่าวตู่พุทธพจน์ คิดพูดเอง
ตั้งเปรียญธรรม 3 ประโยค
ถาม-ตอบ สำนวนแปลบาลี
หลักแปลบาลี
ตรีปิฎกอาจารย์
ต่อจบ
รู้จักอรรถกถากันหน่อย
???
ภาษาธรรมไม่ใช่ภาษาไทย
ตย.ผู้เรียนบาลี กับ ผู้ไม่เรียน
หลักการอ่านคำภาษาบาลี(๒)
สมาส,สนธิ
แทรกเสริม
วิธีอ่านคำภาษาบาลี(๑)
ไม่แน่ใจตอบคำถาม
บาลี
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
การสังคายนาครั้งที่ ๑
ปฐมสังคายนา
แม้ว่า
ท่านพระสารีบุตรได้แสดงตัวอย่างวิธีการทำสังคายนาไว้
ท่านก็ไม่ได้อยู่ที่จะทำงานนี้ต่อ เพราะว่า
ได้ปรินิพพานก่อนพระพุทธเจ้า
แต่ก็มีพระสาวกผู้ใหญ่ที่ได้ดำเนินงานนี้ต่อมาโดยไม่ได้ละทิ้ง กล่าวคือ
พระมหากัสสปเถระ
ซึ่งตอนที่พระพุทธเจ้าปรินิพพานนั้น เป็นพระสาวกผู้ใหญ่ มีอายุพรรษามากที่สุด
พระมหากัสสปเถระนั้น ทราบข่าวปรินิพพานของพระพุทธเจ้า เมื่อพระองค์ปรินิพพานแล้วได้ ๗ วัน ขณะที่ท่านกำลังเดินทางอยู่พร้อมด้วยหมู่ลูกศิษย์จำนวนมาก
เมื่อได้ทราบข่าวนั้น
ลูกศิษย์
ของพระมหากัสสปะจำนวนมากซึ่งยังเป็นปุถุชนอยู่ ก็ได้ร้องไห้คร่ำครวญกัน ณ ที่นั้นมีพระภิกษุที่บวชเมื่อแก่องค์หนึ่ง ชื่อว่า
สุภัททะ
ได้พูดขึ้นมาว่า “ท่านทั้งหลายจะร้องไห้กันไปทำไม พระพุทธเจ้าปรินิพพานนี้ก็ดีไปอย่าง คือว่า ตอนที่พระองค์ยังอยู่นั้น พระองค์ก็คอยดูแลคอยกวดขัน ตรัสห้ามไม่ให้ทำสิ่งโน้นสิ่งนี้ แนะนำให้ทำสิ่งนั้นสิ่งนี้ พวกเราก็ลำบาก ต้องคอยระมัดระวังตัว ทีนี้พระพุทธเจ้าปรินิพพานไปแล้วนี้ พวกเราคงจะทำอะไรได้ตามชอบใจ ชอบอะไรก็ทำ ไม่ชอบอะไรก็ไม่ทำ”
พระมหากัสสปเถระ
ได้ฟังคำนี้แล้ว ก็นึกคิดอยู่ในใจว่า พระพุทธเจ้าปรินิพพานไปใหม่ๆ แค่นี้ ก็ยังมีคนคิดที่จะประพฤติปฏิบัติให้วิปริตไปจากพระธรรมวินัย ท่านก็เลยคิดว่าควรจะทำการสังคายนา
ท่านวางแผนว่าจะชักชวนพระเถระผู้ใหญ่ ซึ่งเป็นพระอรหันต์ทั้งหลายที่มีอยู่สมัยนั้น
ซึ่งล้วนทันเห็นพระพุทธเจ้า ได้ฟังคำสอนของพระองค์มาโดยตรง และได้อยู่ในหมู่สาวกที่เคยสนทนาตรวจสอบกันอยู่เสมอ รู้ว่าอะไรเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า จะชวนให้มาประชุมกัน มาช่วยกันแสดง ถ่ายทอด รวบรวมประมวลคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า แล้วตกลงวางมติไว้ ก็คือคิดว่าจะทำสังคายนา
แต่เฉพาะเวลานั้น ท่านต้องเดินทางไปยังเมือง
กุสินารา
แล้วก็เป็นประธานในการถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ ใน
พระราชูปถัมภ์ของกษัตริย์มัลละ
ทั้งหลาย
เมื่องานถวายพระเพลิงเสร็จแล้ว ท่านก็ดำเนินงานตามที่ได้คิดไว้ คือ ได้ชักชวนนัดหมายกับพระอรหันต์ผู้ใหญ่ เพื่อจะทำการสังคายนา
ต่อจากนั้นก็เป็นเรื่องของงานใหญ่แห่งการสังคายนา ซึ่งมีการเตรียมการถึง ๓ เดือน ก่อนที่จะประชุมที่ถ้ำสัตตบรรณคูหา ณ ภูเขาชื่อเวภาระ นอกเมืองราชคฤห์
ในพระราชูปถัมภ์ของพระเจ้าอชาตศัตรู
ในการประชุมนี้
พระมหากัสสปเถระทำหน้าที่เป็นประธาน
โดยเป็นผู้ซักถาม
หลักคำสั่งสอน
ซึ่งพระพุทธเจ้าเองทรง
แบ่งไว้เป็น ๒ ส่วน
เรียกว่า
ธรรม
ส่วนหนึ่ง และ
วินัย
ส่วนหนึ่ง
ธรรม
คือ
หลักคำสอนว่าด้วยความจริงของสิ
่
งทั
้
งหลาย
พร้อมทั้ง
ข้อประพฤติปฏิบัติ
ที่พระพุทธเจ้าทรงแนะนำตรัสแสดงไว้
โดยสอดคล้องกับความจริง
นั้น
ส่วน
วินัย
คือประมวลพุทธบัญญัติเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ใน
การเป็นอยู่
ของภิกษุและภิกษุณี
ด้วยเหตุนี้จึง
เรียกพระพุทธศาสนา
ด้วยคำสั้นๆ ว่า
ธรรมวินัย
การสังคายนาคำสอนของพระพุทธเจ้า จึงเป็นการสั
งคายนาพระธรรมวินัย
ในการ
สังคายนาครั
้
งนี
้
มีการเลือกพระเถระ ๒ องค์
ที่มีความโดดเด่นในการทรงจำพระพุทธพจน์ได้แม่นยำ และเชี่ยวชาญในแต่ละด้านของ
พระธรรมวินัย
ฝ่ายธรรม
นั้น ผู้ที่ได้ฟังคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าอยู่ตลอดเวลา เพราะติดตามพระองค์ไป อยู่ใกล้ชิด เป็นผู้อุปัฏฐากของพระองค์ ก็คือ
พระอานนท์
ที่ประชุมก็ให้พระอานนท์เป็น
ผู้นำเอาธรรมมาแสดงแก่ที่ประชุม
ส่วน
ด้านวินัย
พระพุทธเจ้าทรงยกย่อง
พระอุบาลี
ไว้ว่าเป็นเอตทัคคะ ที่ประชุมก็คัดเลือก
พระอุบาลี
ให้มาเป็นผู้นำในด้านการ
วิสัชนาเรื่องของวินัย
เมื่อได้ตัวบุคคลเรียบร้อยแล้ว พระอรหันต์ ๕๐๐ องค์ก็เริ่มประชุมกัน จากนั้นก็ให้พระเถระทั้งสององค์นำพุทธพจน์มาสาธยายแสดงแก่ที่ประชุม โดยประธานในที่ประชุมคือ
พระมหากัสสปะ
วางแนวการนำเสนอ ด้วยการซักถามอย่างเป็นระบบ คือตามลำดับและเป็นหมวดหมู่
พุทธพจน์
พร้อมทั้งเรื่องราวเกี่ยวข้องแวดล้อม ที่นำมาสาธยายนี้ ถ้าเป็นครั้งพุทธกาล พระพุทธเจ้าก็ทรงรับรองด้วยพระองค์เอง แต่ในการสังคายนาครั้งแรก ก็ต้องอาศัยที่ประชุมพระอรหันตเถระทั้ง ๕๐๐ องค์ รับรองแทน
เมื่อได้มติร่วมกัน
เกี่ยวกับเนื้อหาในเรื่องใด พระเถระในที่ประชุมก็
สวดพร้อมกัน
เนื้อหาที่ผ่านการรับรองก็จะถือเป็นที่ยุติให้เป็นแบบแผนที่จะ
ทรงจำ
ถ่ายทอดกันต่อมา
การประชุมเพื่อทำสังคายนาครั้งประวัติศาสตร์นี้ดำเนินอยู่เป็นเวลา ๗ เดือนจึงเสร็จสิ้น มีเรื่องราวปรากฏในพระวินัยปิฎก จุลลวรรค
Create Date : 23 กันยายน 2567
Last Update : 23 กันยายน 2567 18:50:06 น.
0 comments
Counter : 115 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com