กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
บุญ
ข้อธัมม์ที่ถาม-เถียงกันบ่อย
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้พิพากษาตั้งตุลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
รู้เขา รู้เรา
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน,
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจน เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีลธรรมไม่กลับมาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วัฒนธรรมประเพณี
จารึกธรรม
สมาธิ,ฌาน
เขาว่า ถ้าพุทธมีหลักธรรมดีจริง คงไม่ 0 สิ้นจากถิ่นเกิด
ภาวะแห่งนิพพาน
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์
จงกรม ไม่ใช่ จงกลม
กรรมฐาน
สติปัฏฐาน
ศีลสำหรับประชาชน
วิธีการแห่งศรัทธา (ปรโตโฆสะที่ดี)
วิธีการแห่งปัญญา (โยนิโสมนสิการ)
ทางดำเนินชีวิตสายกลาง
คุณสมบัติบุคคลโสดาบัน
กาม
ความสุข
อริยสัจ ๔
ธรรมฉันทะ - ตัณหาฉันทะ
กรรม
เถรวาท VS ลัทธิอาจารย์
นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท
ภาวนา ๔ ภาวิต ๔
สมถะ,วิปัสสนา,เจโตวิมุตติ,ปัญญาวิมุตติ
อนัตตา
สมมุติ
ศีล-สีลัพพตปรามาส
นรก สวรรค์ ในพระไตรปิฎก
วันสำคัญของชาวพุทธไทย
วิธีฝึกหูทิพย์ ตาทิพย์
ลำดับญาณ,ทวนญาณ
ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ ศ.ประจำชาติ
ระดับของผู้บรรลุนิพพาน
<<
กันยายน 2567
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
25 กันยายน 2567
โย โว อานนฺท มยา ธมฺโม จ วินโย จ เทสิโต ปญฺญตฺโต
บทสรุป
อรรถกถาและคัมภีร์รุ่นต่อมา
หัวใจพระไตรปิฎก
การจัดหมวดหมู่คัมภีร์ในพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกเข้ากันได้กับสถานการณ์ของโลกปัจจุบัน
การสังคายนาครั้งที่หกและภายหลังจากนั้น
พูดถึงพระไตรปิฎกแบบกว้างๆ ทำนองพูดตามสภาพ
โย โว อานนฺท มยา ธมฺโม จ วินโย จ เทสิโต ปญฺญตฺโต
บทสรุป
อรรถกถาและคัมภีร์รุ่นต่อมา
หัวใจพระไตรปิฎก
การจัดหมวดหมู่คัมภีร์ในพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกเข้ากันได้กับสถานการณ์ของโลกปัจจุบัน
การสังคายนาครั้งที่หกและภายหลังจากนั้น
พระไตรปิฎกที่เป็นลายลักษณ์อักษรเล่า ?
พระไตรปิฎกที่มีการท่องจำมีความแม่นยำเพียงไร
พระไตรปิฎกมีการรักษาสืบทอดมาถึงเราได้อย่างไร
พระไตรปิฎกเกิดขึ้นได้อย่างไร
กำเนิดพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท
การสังคายนาครั้งที่ ๑
การสังคายนาคืออะไร
พระไตรปิฎกกับพุทธบริษัท ๔
พระไตรปิฎกกับพระรัตนตรัย
พระไตรปิฎก: ข้อควรรู้เบื้องต้น
พุทธพจน์: แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา
ควรเชื่อพระไตรปิฎกเล่มไหน ๑๐๐ %
พระไตรปิฎกกับไตรสิกขา
พระไตรปิฎกกับสัทธรรม ๓
พระพุทธศาสนา ไม่ใช่ปรัชญา
ทรงห่วงสังคมไทย มีผู้กล่าวตู่พุทธพจน์ คิดพูดเอง
ตั้งเปรียญธรรม 3 ประโยค
ถาม-ตอบ สำนวนแปลบาลี
หลักแปลบาลี
ตรีปิฎกอาจารย์
ต่อจบ
รู้จักอรรถกถากันหน่อย
???
ภาษาธรรมไม่ใช่ภาษาไทย
ตย.ผู้เรียนบาลี กับ ผู้ไม่เรียน
หลักการอ่านคำภาษาบาลี(๒)
สมาส,สนธิ
แทรกเสริม
วิธีอ่านคำภาษาบาลี(๑)
ไม่แน่ใจตอบคำถาม
บาลี
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
การสังคายนาครั้งที่หกและภายหลังจากนั้น
ฉัฏฐสังคีติและภายหลังจากนั้น
เมื่อการติดต่อสื่อสารคมนาคมในโลกสะดวกมากขึ้นแล้ว ครั้นถึงช่วงระยะครบ ๒๕ ศตวรรษแห่งพระพุทธศาสนา และประเทศพุทธศาสนาต่างก็จัดงานสมโภชเป็นการใหญ่ในประเทศของตน ก็ได้มีการสังคายนาระหว่างชาติขึ้นเป็นครั้งแรกที่ประเทศพม่า เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๗–๒๔๙๙ ที่พระสงฆ์และนักปราชญ์จากประเทศพุทธศาสนาเถรวาททุกประเทศ และประเทศที่มีการศึกษาพระพุทธศาสนา ได้มาประชุมทวนทานพระไตรปิฎกบาลีของพม่าที่เตรียมไว้ พร้อมทั้งพระไตรปิฎกฉบับอักษรต่าง ๆ ของนานาประเทศ เรียกว่า
ฉัฏฐสังคีติ
อันที่ยอมรับทั่วไปในประเทศพุทธศาสนาทั้งหลาย
อย่างไรก็ดี หลังจากฉัฏฐสังคีติเสร็จสิ้นแล้วไม่นาน ได้เกิดความเปลี่ยนแปลงและความผันผวนทางการเมืองในประเทศพม่า ซึ่งเข้าใจว่าคงจะเป็นเหตุให้การดูแลรักษาและจัดพิมพ์พระไตรปิฎกฉบับฉัฏฐสังคีติ ไม่ดำเนินมาอย่างราบรื่น จนเกิดมีความเข้าใจสับสนขึ้นระหว่างพระไตรปิฎกฉบับเดิมของพม่าที่ใช้เป็นต้นร่างสำหรับพิจารณาในการสังคายนา กับฉบับที่เป็นผลงานของการสังคายนา
บัดนี้ กองทุนสนทนาธรรมนำสุขในพระสังฆราชูปถัมภ์ ได้ดำเนินการนำพระไตรปิฎกฉบับฉัฏฐสังคีติที่สอบทานโดยที่ประชุมสงฆ์เถรวาทนานาชาตินี้ มาจัดพิมพ์ด้วยอักษรโรมันที่เป็นสากลแก่ผู้อ่านในนานาประเทศ
จากการดำเนินการด้วยความเพียรพยายามอย่างตั้งใจจริง และโดยกระบวนวิธีที่รอบคอบรัดกุม จึงมีรายงานของคณะผู้ทำงานว่า ได้พบพระไตรปิฎกฉบับฉัฏฐสังคีติที่พิมพ์ต่างวาระ และสามารถกำหนดแยกได้ระหว่างฉบับต้นร่าง กับฉบับที่พิมพ์จากผลงานอันได้ทวนทานแล้ว ตลอดจนรู้เข้าใจฉบับที่พิมพ์ครั้งต่อๆ มาได้ตามเป็นจริง ทำให้ได้ต้นฉบับที่มั่นใจที่สุด กับทั้งยังได้สอบทานกับพระไตรปิฎกฉบับอักษรต่าง ๆ ของหลายประเทศซ้ำอีกครั้งหนึ่งด้วย เหมือนกับทำให้จุดหมายของฉัฏฐสังคีติบรรลุผลสมบูรณ์
นอกจากนี้ คณะผู้ทำงานได้นำเทคโนโลยีสารสนเทศของยุคปัจจุบันที่ล่าสุดมาใช้ประโยชน์ด้วย ทำให้จัดวางระบบการค้นคว้าอ้างอิงได้อย่างมีประสิทธิภาพ และได้ฐานข้อมูลที่พร้อมอย่างยิ่งสำหรับงานอย่างอื่น เกี่ยวกับการศึกษาค้นคว้าพระไตรปิฎกที่อาจจะจัดทำต่อไป เช่น การนำข้อมูลลงในซีดีรอม โดยมีโปรแกรมค้นให้สะดวก เป็นต้น
ไม่ว่าจะอย่างไรก็ตาม แก่นแท้หรือสาระสุดท้ายของงานนี้ก็คือ การดำรงรักษาพระพุทธพจน์ที่สืบทอดมาถึงเราในรูปของพระไตรปิฎกภาษาบาลีไว้ให้บริสุทธิ์บริบูรณ์ที่สุด คงเดิมตามที่มีการรวบรวมพุทธพจน์ครั้งแรกในการสังคายนาครั้งที่ ๑ ให้ผู้อ่านเข้าถึงคำสอนเดิมของพระพุทธเจ้าโดยตรงโดยไม่มีมติของบุคคลอื่นใดมากีดกัน แม้แต่ความคิดเห็นของพระธรรมสังคาหกาจารย์ ซึ่งหากจะมีท่านก็ได้บอกแจ้งหมายแยกไว้ เป็นการเปิดโล่งต่อการใช้ปัญญาของผู้ศึกษาอย่างเต็มที่
Create Date : 25 กันยายน 2567
Last Update : 25 กันยายน 2567 5:02:34 น.
0 comments
Counter : 142 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com