กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
บุญ
ข้อธัมม์ที่ถาม-เถียงกันบ่อย
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้พิพากษาตั้งตุลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
รู้เขา รู้เรา
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน,
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจน เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีลธรรมไม่กลับมาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วัฒนธรรมประเพณี
จารึกธรรม
สมาธิ,ฌาน
เขาว่า ถ้าพุทธมีหลักธรรมดีจริง คงไม่ 0 สิ้นจากถิ่นเกิด
ภาวะแห่งนิพพาน
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์
จงกรม ไม่ใช่ จงกลม
กรรมฐาน
สติปัฏฐาน
ศีลสำหรับประชาชน
วิธีการแห่งศรัทธา (ปรโตโฆสะที่ดี)
วิธีการแห่งปัญญา (โยนิโสมนสิการ)
ทางดำเนินชีวิตสายกลาง
คุณสมบัติบุคคลโสดาบัน
กาม
ความสุข
อริยสัจ ๔
ธรรมฉันทะ - ตัณหาฉันทะ
กรรม
เถรวาท VS ลัทธิอาจารย์
นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท
ภาวนา ๔ ภาวิต ๔
สมถะ,วิปัสสนา,เจโตวิมุตติ,ปัญญาวิมุตติ
อนัตตา
สมมุติ
ศีล-สีลัพพตปรามาส
นรก สวรรค์ ในพระไตรปิฎก
วันสำคัญของชาวพุทธไทย
วิธีฝึกหูทิพย์ ตาทิพย์
ลำดับญาณ,ทวนญาณ
ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ ศ.ประจำชาติ
ระดับของผู้บรรลุนิพพาน
<<
กันยายน 2567
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
24 กันยายน 2567
พระไตรปิฎกที่เป็นลายลักษณ์อักษรเล่า ?
พระไตรปิฎกที่มีการท่องจำมีความแม่นยำเพียงไร
พระไตรปิฎกมีการรักษาสืบทอดมาถึงเราได้อย่างไร
พระไตรปิฎกเกิดขึ้นได้อย่างไร
พูดถึงพระไตรปิฎกแบบกว้างๆ ทำนองพูดตามสภาพ
โย โว อานนฺท มยา ธมฺโม จ วินโย จ เทสิโต ปญฺญตฺโต
บทสรุป
อรรถกถาและคัมภีร์รุ่นต่อมา
หัวใจพระไตรปิฎก
การจัดหมวดหมู่คัมภีร์ในพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกเข้ากันได้กับสถานการณ์ของโลกปัจจุบัน
การสังคายนาครั้งที่หกและภายหลังจากนั้น
พระไตรปิฎกที่เป็นลายลักษณ์อักษรเล่า ?
พระไตรปิฎกที่มีการท่องจำมีความแม่นยำเพียงไร
พระไตรปิฎกมีการรักษาสืบทอดมาถึงเราได้อย่างไร
พระไตรปิฎกเกิดขึ้นได้อย่างไร
กำเนิดพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท
การสังคายนาครั้งที่ ๑
การสังคายนาคืออะไร
พระไตรปิฎกกับพุทธบริษัท ๔
พระไตรปิฎกกับพระรัตนตรัย
พระไตรปิฎก: ข้อควรรู้เบื้องต้น
พุทธพจน์: แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา
ควรเชื่อพระไตรปิฎกเล่มไหน ๑๐๐ %
พระไตรปิฎกกับไตรสิกขา
พระไตรปิฎกกับสัทธรรม ๓
พระพุทธศาสนา ไม่ใช่ปรัชญา
ทรงห่วงสังคมไทย มีผู้กล่าวตู่พุทธพจน์ คิดพูดเอง
ตั้งเปรียญธรรม 3 ประโยค
ถาม-ตอบ สำนวนแปลบาลี
หลักแปลบาลี
ตรีปิฎกอาจารย์
ต่อจบ
รู้จักอรรถกถากันหน่อย
???
ภาษาธรรมไม่ใช่ภาษาไทย
ตย.ผู้เรียนบาลี กับ ผู้ไม่เรียน
หลักการอ่านคำภาษาบาลี(๒)
สมาส,สนธิ
แทรกเสริม
วิธีอ่านคำภาษาบาลี(๑)
ไม่แน่ใจตอบคำถาม
บาลี
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
พระไตรปิฎกมีการรักษาสืบทอดมาถึงเราได้อย่างไร
พระไตรปิฎกมีการรักษาสืบทอดมาถึงเราได้อย่างไร
การ
สังคายนา
หรือ
สังคีติ
ครั้งที่ ๑ นี้ย่อมเป็นสังคายนาครั้งสำคัญที่สุด เพราะพุทธพจน์ที่รวบรวมประมวลมาทรงจำเป็นแบบแผน หรือเป็นมาตรฐานไว้ครั้งนี้มีเท่าใด ก็คือได้เท่านั้น ต่อจากนั้น ก็มีแต่จะต้องทรงจำรักษาพุทธพจน์ที่รวมได้ในสังคายนาครั้งที่ ๑ นี้ไว้ให้ถูกต้องแม่นยำ บริสุทธิ์หมดจด และครบถ้วนที่สุด พูดสั่นๆ ว่าบริสุทธิ์บริบูรณ์ ด้วยเหตุนี้ ในเวลาหลังจากนี้ พระเถระผู้รักษาพุทธพจน์จึงเน้นวิธีการรักษาด้วยการสาธยาย และการมอบหมายหน้าที่ในการทรงจำแต่ละหมวดหมู่ เป็นต้น
โดยนัยดังกล่าว การสังคายนาที่มีความหมายเป็นการรวบรวมพุทธพจน์แท้จริง ก็มีแต่ครั้งที่ ๑ นี้
การสังคายนาครั้งต่อ ๆ มา
ก็คือการที่พระเถระผู้ทรงจำรักษาพุทธพจน์ทั้งหลายมาประชุมกัน ซักซ้อม ทบทวนทานพุทธพจน์ที่รักษาต่อกันมาตั้งแต่สังคายนาครั้งที่ ๑ นั้น ให้คงอยู่บริสุทธิ์บริบูรณ์ที่สุด คือ ครบถ้วนแม่นยำและไม่มีแปลกปลอม
เนื่องจาก
ต่อมามีภาระเพิ่มขึ้นในด้านป้องกันคำสอนและการประพฤติปฏิบัติแปลกปลอม
การทรงจำรักษาพุทธพจน์จึงเน้นเพิ่มขึ้นในแง่การนำพุทธพจน์ที่ทรงจำรักษาไว้นั้นมาเป็นมาตรฐานตรวจสอบคำสอนและการปฏิบัติทั้งหลายที่อ้างว่าเป็นของพระพุทธศาสนา เป็นเหตุให้คำว่า
สังคายนา
ในภาษาไทยมีนัยขยายหรืองอกออกไป คือ ความหมายว่าเป็นการชำระสะสางคำสอนและวิธีปฏิบัติที่แปลกปลอม
ยิ่งกว่านั้น ในกาลนานต่อมา คนบางส่วน
ยึดเอาความหมายงอกนี้เป็นความหมายหลักของการสังคายนา จนถึงกับลืมความหมายที่แท้ของการสังคายนาไปเลยก็มี จนกระทั่ง
ถึงสมัยปัจจุบัน
นี้ บางทีบางคนไปไกลมากถึงกับ
เข้าใจผิด
ว่าผู้ประชุมสังคายนามาช่วยกันตรวจสอบคำสอนในพระไตรปิฎก ว่า มีทัศนะหรือความคิดเห็นที่ผิดหรือถูก ซึ่งเท่ากับมาวินิจฉัยว่าพระพุทธเจ้า สอนไว้ผิดหรือถูก ที่นั่นที่นี่แล้วจะมาปรับแก้กัน ฉะนั้น จึงจำเป็นว่าจะต้องเข้าใจความหมายของ สังคายนาให้ถูกต้อง ให้แยกได้ว่าความหมายใดเป็นความหมายที่แท้ ความหมายใดเป็นนัยที่งอกออกมา
การสังคายนา
หรือ
สังคีติ
ในความหมายแท้ ที่เป็นการประชุมกัน ซักซ้อมทบทวนรักษาพุทธพจน์เท่าที่มีมาถึงเราไว้ ให้ครบถ้วนแม่นยำบริสุทธิ์ บริบูรณ์ที่สุดนี้
มีความเป็นมาแยกได้เป็น ๒ ช่วง
คือ
ช่วงแรก ท่องทวนด้วย ปากเปล่า
เรียกว่า
มุขปาฐะ
และ
ช่วงหลัง จารึกเป็นลายลักษณ์อักษร
เรียกว่า
โปตถกาโรปนะ
ช่วงต้น หรือ
ยุคแรก
นับแต่พุทธกาลตลอดมาประมาณ ๔๖๐ ปี
พระเถระผู้รักษาพระศาสนาทรงจำพุทธพจน์กันมาด้วยปากเปล่า เรียกว่า
มุขปาฐะ
แปลง่ายๆ ว่า “ปากบอก” คือ เรียน – ท่อง – บอกต่อด้วยปาก ซึ่งเป็นการ
รักษาไว้กับตัวคน
ในยุคนี้มีข้อดีคือ เนื่องจากพระสงฆ์รู้ตระหนักถึง ความสำคัญสูงสุดของการรักษาพุทธพจน์ จึงทำให้มีความไม่ประมาท โดย ระมัดระวังอย่างยิ่งที่จะให้มีการจำพุทธพจน์ไว้อย่างบริสุทธิ์บริบูรณ์ ถือว่าการรักษาพุทธพจน์นี้เป็นกิจสำคัญสูงสุดของการรักษาพระพุทธศาสนา
การรักษาโดยมุขปาฐะ หรือมุขบาฐ นี้ ใช้วิธีสาธยาย ซึ่งแยกได้เป็น ๔ ระดับ คือ
(ก) เป็นความรับผิดชอบของสงฆ์หมู่ใหญ่สืบกันมาตามสายอาจารย์ที่ เรียกว่า
อาจริยปรัมปรา
(เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เถรวงส์) โดยพระเถระที่เป็นต้นสายตั้งแต่สังคายนาครั้งแรกนั้น เช่น
พระอุบาลีเถระ
ผู้เชี่ยวชาญด้าน
พระวินัย
ก็มีศิษย์สืบสายและมอบความรับผิดชอบในการรักษาสั่งสอน อธิบายสืบทอดกันมา
(ข) เป็นกิจกรรมหลักในวิถีชีวิตของพระสงฆ์ ซึ่งจะต้อง
เล่าเรียนปริยัติ
เพี่อเป็น
ฐานของการปฏิบัติที่ถูกต้อง
อันจะนำไป
สู่ปฏิเวธ
และการเล่าเรียนนั้นจะให้ชำนาญส่วนใด ก็เป็นไปตามอัธยาศัย ดังนั้น จึงเกิดมีคณะพระสงฆ์ที่คล่องแคล่วเชี่ยวชาญพุทธพจน์ในพระไตรปิฎกต่างหมวดต่างส่วนกันออกไป เช่น มีพระสงฆ์กลุ่มที่คล่องแคล่วเชี่ยวชาญในทีฆนิกาย พร้อมทั้งคำอธิบาย คือ อรรถกถาของทีฆนิกายนั้น เรียกว่า ทีฆภาณกะ แม้มัชฌิมภาณกะ สังยุตตภาณกะ อังคุตตรภาณกะ และขุททกภาณกะ เป็นต้น ก็เช่นเดียวกัน
(ค) เป็นกิจวัตร ของพระภิกษุทั้งหลายแต่ละวัดแต่ละหมู่ ที่จะมาประชุมกัน และกระทำคณสาธยาย คือ
สวดพุทธพจน์พร้อม ๆ กัน
(การปฏิบัติ อย่างนี้อาจจะเป็นที่มาของกิจวัตรในการทำวัตรสวดมนต์เช้า – เย็น หรือเช้า – ค่ำ อย่างที่รู้จักกันในปัจจุบัน)
(ง) เป็นกิจวัตร หรือ ข้อปฏิบัติในชีวิตประจำวันของพระภิกษุแต่ละรูป ดังปรากฏในอรรถกถาเป็นต้นว่า พระภิกษุเมื่อว่างจากกิจอื่น เช่น เมื่ออยู่ผู้เดียว ก็นั่งสาธยายพุทธพจน์ เท่ากับว่าการสาธยายพุทธพจน์นี้เป็นส่วนหนึ่ง แห่งการปฏิบัติธรรมของท่าน
เนื่องจากพระภิกษุทั้งหลายมีวินัยสงฆ์กำกับให้ดำเนินชีวิตในวิถีแห่ง
ไตรสิกขา
อีกทั้งอยู่ในบรรยากาศแห่งการเล่าเรียนถ่ายทอดและหาความรู้เพื่อนำไปสู่
สัมมาปฏิบัติ
จึงเป็นธรรมดาอยู่เองที่ทำให้เกิดมีการรักษาคำสอน ด้วยการสาธยายทบทวนตรวจสอบกันอยู่เป็นประจำอย่างเป็นปกติตลอดเวลา
Create Date : 24 กันยายน 2567
Last Update : 24 กันยายน 2567 10:05:21 น.
0 comments
Counter : 62 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com