กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ(สํ.สฬ.18/217/166) เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า"ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
หลักปฏิบัติ: แยกจากหัวข้อใหญ่
สภาวธรรม
เบญจขันธ์
อายตนะ
ไตรลักษณ์
ปฏิจจสมุปบาท
กรรม
วิชชา วิมุตติ วิสุทธิ สันติ นิพพาน
ผู้บรรลุนิพพาน
หลักบรรลุนิพพาน
มัชฌิมาปฏิปทา
ปรโตโฆสะ
โยนิโสมนสิการ
ปัญญา
ศีล
สมาธิ
อริยสัจ ๔
อารยธรรมวิถี
แรงจูงใจคน
ความสุข ๑
ความสุข ๒
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ผู้พิพากษาตั้งตุลาให้สังคม ฯ
คติธรรมสั้นๆ
ภาษาธรรมวันละคำ
เรื่องเหนือสามัญวิสัย
รู้เขา รู้เรา
คำพูดของคนใกล้สิ้นลม
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท
มาฆบูชา กับ วาเลนไทน์
แรงผลักดันมนุษย์
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
ธันวาคม 2564
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
12 ธันวาคม 2564
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๒๒)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๒๑)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๒๐)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๑๙)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๑๘)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๑๗)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๑๖)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๑๕)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๑๔)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๑๓)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๑๒)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๑๑)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๑๐)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๙)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๘)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๗)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๖)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๕)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๔)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๓)
มะเร็ง ต้องรักษาให้ตรงจุด ไม่ขาดกำลังใจ
โพสต์สั่งลาขออโหสิกรรม
เตรียมตัวก่อนตาย
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน จบ
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๓๑)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๓๐)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๒๙)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๒๘)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๒๗)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๒๖)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๒๕)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๒๔)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๒๓)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๒๒)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๒๑)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๒๐)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๑๙)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๑๘)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๑๗)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๑๖)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๑๕)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๑๔)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๑๓)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๑๒)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๑๑)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๑๐)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๙)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๘)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๗)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๖)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๕)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๔)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๓)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๒)
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน
คำพูดวาระสุดท้ายแห่งชีวิต
พุทโธวาทก่อนปรินิพพาน (๑๐)
"ดูกรภิกษุทั้งหลาย สังสารวัฏฎ์นี้ เต็มไปด้วยเพลิงทุกข์นานาประการ โหมให้ร้อนอยู่โดยทั่ว สัตว์ทั้งหลายยังวิ่งอยู่ในกองทุกข์แห่งสังสารวัฏฏ์ ใครเล่าจะเป็นผู้ดับ ถ้าทุกคนไม่ช่วยกันดับทุกข์แห่งตน อุปมาเหมือนบุรุษสตรี ผู้รวมกันอยู่ในบริเวณกว้างแห่งหนึ่ง และต่างคนต่างถือดุ้นไฟใหญ่อันไฟลุกโพลงอยู่ทั่วแล้ว ต่างคนต่างก็วิ่งวนกันอยู่ในบริเวณนั้น และร้องกันว่า
ร้อน ร้อน
ภิกษุทั้งหลาย มีบุรุษผู้หนึ่ง เป็นคนฉลาด ร้องบอกให้ทุกๆคนทิ้งดุ้นไฟในมือของตนเสีย ผู้ที่ยอมเชื่อ ทิ้งดุ้นไฟก็ได้ประสบความเย็น ส่วนผู้ไม่เชื่อ ก็ยังคงวิ่งถือดุ้นไฟพร้อมด้วยร้องตะโกนว่า ร้อน ร้อน อยู่นั่นเอง ภิกษุทั้งหลาย เราตถาคตได้ทิ้งดุ้นไฟแล้ว แล้วร้องบอกให้เธอทั้งหลายทิ้งเสียด้วย ดุ้นไฟที่กล่าวถึงนี้ คือ
กิเลส
ทั้งมวล อันเป็นสิ่งที่เผาลนสัตว์ให้เร่าร้อนกระวนกระวาย"
"ดูกรภิกษุทั้งหลาย
อายตนะภายใน
๖ คือ
จักขุ โสตะ ฆานะ ชิวหา กาย
และ
มโน
อายตนะภายนอก
๖ คือ
รูปะ สัททะ คันธะ รสะ โผฏฐัพพะ
และ
ธัมมารมณ์
เป็นของร้อน ร้อนเพราะไฟ คือ ราคะบ้าง โทสะบ้าง โมหะบ้าง ภิกษุทั้งหลาย เราตถาคต
ไม่
พิจารณาเห็น รูปะ สัททะ คันธะ รสะ โผฏฐัพพะ ใดๆ ที่จะครอบงำรัดตรึงใจของ
บุรุษ
ได้มากเท่า
รูปะ สัททะ คันธะ รสะ
และ
โผฏฐัพพะ แห่งสตรี
ภิกษุทั้งหลาย เราไม่พิจารณาเห็น
รูปะ สัททะ คันธะ รสะ โผฏฐัพพะ
ใดๆ ที่สามารถครอบงำรัดตรึงใจของ
สตรี
ได้มากเท่า
รูปะ สัททะ คันธะ รสะ
และ
โผฏฐัพพะ
แห่ง
บุรุษ
"
"ดูกรภิกษุทั้งหลาย
กามคุณ
นี้ เรากล่าวว่าเป็นเหยื่อแห่งมาร เป็นพวงดอกไม้แห่งมาร เป็นกำลังแห่งมาร ภิกษุทั้งหลาย ผู้ปรารถนาจะประหารมาร พึงสลัดเหยื่อแห่งมาร ขยี้พวงดอกไม้แห่งมาร และทำลายกำลังพลแห่งมารเสีย ภิกษุทั้งหลาย เราเคย
เยาะเย้ยกามคุณ
ณ โพธิมณฑล
ในวันที่เราตรัสรู้
นั้นเองว่า
ดูก่อนกาม
เราได้เห็นต้นเค้าของเจ้าแล้ว
เจ้าเกิดจากความ
ดำริ
คำนึ่งถึงนั่นเอง เราจัก
ไม่ดำริ
ถึงเจ้าอีก ด้วยประการฉะนี้
กาม
เอย เจ้าจะเกิดขึ้นอีกไม่ได้"
นั่นคือความยากยิ่งของพุทธธรรม ซึ่งพระองค์สอนให้พุทธสาวกทวนกระแสโลกียธรรม ซึ่งไม่ใช่เรื่องง่ายเลย
Create Date : 12 ธันวาคม 2564
Last Update : 12 ธันวาคม 2564 13:32:14 น.
0 comments
Counter : 112 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ให้ทิปเจ้าของ Blog
[
?
]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 6 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com