ลักษณะอาการของจิต
    สังฆรักขิตเถรวัตถุ ธัมมปทัฏฐกถา ภาค ๒ พระสุตตันตะปิฎก ว่า "ทูรังคมัง เอกจรัง อสรีรัง คุหาสยัง"
    ทูรังคมัง แปลว่า ไปไกล บ่งบอกถึงกิริยาอาการของจิตสามารถคิดไปได้ไกล โดยไม่ต้องพึ่งพาหนะใดๆ
    เอกจรัง แปลว่า เที่ยวไปดวงเดียว จิตสามารถคิดได้ร้อยแปดพันเก้า แต่คิดได้ทีละอย่าง ไม่สามารถคิดได้หลายอย่างพร้อมกัน แต่บางครั้งเราสามารถคิดได้หลายอย่างพร้อมกันนั้น เพราะความเร็วและความละเอียดของจิตบุคคลนั้นจึงจะสามารถทำได้
    อสรีรัง แปลว่า จิตไม่มีสรีระ อย่างนี้ผิด ฉะนั้น ที่แปลถูกคือ จิตของเรามีรูปร่าง แต่เราจะยึดมั่นถือมั่น ยึดถือเป็นตัวเป็นตนไม่ได้
    คุหาสยัง แปลว่า มีถ้ำเป็นที่อาศัย ถ้ำในที่นี่หมายถึง นามเป็นร่าง ไม่ใช่ร่างกาย ตัวอย่างเช่น เวลาเราตาย ร่างกายของเราจะฝังหรือเผาก็สุดแล้วแต่ แต่ว่าร่างกายจะเน่าเปื่อยไป คนเราก็จะกลายเป็น "ผี" ตายแล้วก็ไม่ได้อาศัยร่างกาย มีแต่จิตวิญญาณ ฉะนั้น คนทั้งหลายที่แปลว่าจิตนี้ต้องอาศัยร่างกาย ควรจะพูดใหม่ว่า จิตนี้อาศัย นามเป็นที่อยู่ 
    นามในที่นี่ก็คือ จิตอาศัยมโนวิญญาณอยู่ ถ้าร่างกายเราอยู่ครบถ้วนก็อาศัยตัวรับรู้ทั้ง ๖ อยู่

 



Create Date : 21 พฤษภาคม 2562
Last Update : 21 พฤษภาคม 2562 17:30:38 น.
Counter : 1370 Pageviews.

0 comments
ชื่อ :
Comment :
 *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

พรหมสิทธิ์
Location :
เชียงราย  Thailand

[ดู Profile ทั้งหมด]
 ฝากข้อความหลังไมค์
 Rss Feed

 ผู้ติดตามบล็อก : 1 คน [?]



อ.พรหมสิทธิ์ ทิพย์ธาดาวงศ์
เอื้อ-เกื้อ-กัน เป็นกัลยาณมิตรทุกขณะจิต

ศึกษาเรียนรู้ธรรมะโดยธรรม นำมาปฏิบัติ และเผยแผ่ธรรมะนั้น ให้คนรู้จักบริหารกรรม แก้กรรม พัฒนากรรม ให้เกิดสันติสุข
New Comments
Group Blog
พฤษภาคม 2562

 
 
 
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
 
 
All Blog