.....ภาษาตระกูลไท เป็นวัฒนธรรมของคนไท สมควรจะเผยแพร่ให้โลกรู้จักอย่างทั่วถึง มากกว่าจะเก็บไว้สอนกันอย่างเร้นลับ ในมหาวิทยาลัย แล้วก็ปล่อยให้หายสาบสูญไปตามกาลเวลา.....
Group Blog
 
All Blogs
 
อ่านไทใหญ่ 3 ตัวอยู่ดี ใจเป็นสุข













Create Date : 06 กรกฎาคม 2550
Last Update : 8 มกราคม 2552 21:19:33 น. 7 comments
Counter : 3000 Pageviews.

 
คนลุกหล้า..หมายถึง..คนที่ลุกจากที่นอนคนสุดท้ายของครอบครัวภายในเช้านั้น...ก็คือ ลุกช้าตื่นสายนั่นเอง...

กิ๋นอ๋าหาระ...ในลิกไตที่แสดง ไม่มีวรรณยุกต์หรือครับ..
(ระหว่าง กิ๋น กับ อ๋า)

เหมือนกับ..หนึ้งเต๋เฮ็ดก๋านสัง...คำว่า ก๋านในรูปของภาษาไทย มีวรรณยุกต์ตรี..แต่รูปของลิกไต ไม่มี..หรือว่าเขียนอย่างนี้ แต่ออกเสียงวรรณยุกต์เป็นคำเฉพาะครับ)

จะเป็นลักษณะของสระ อี..หรือเปล่าครับ..ที่ออกเสียงว่า
...อี๋...โดยไม่มีรูปวรรณยุกต์ตรี..!?


โดย: หนานปั๋น...ลัวะ...!! (Jangpan ) วันที่: 23 กันยายน 2550 เวลา:13:08:48 น.  

 
"ไป๊ต๊างก๋าง หนา-อือ เจ๊า..ไก๊อาปน่ำกู้วั้น..."

สงสัยจะทำไม่ได้ละครับ...เคอไต..อิอิ....ขนาดบ้านผม
อยู่เชิงดอยอินทนนท์...อากาศเย็น..ขึ้นอาบน้ำตอนเช้า
ทุกวัน..มีหวังปอดบวมตายแน่ ๆ ฮ่า55555...ยิ่งเป็นอากาศ
ที่รัฐฉานละก็....หนีเส้นศูนย์สูตรขึ้นไปอีก อุณหภูมิคงจะ
ต่ำลงกว่าเป็นแน่แท้...อิอิ..(คลายเครียดครับ..)



โดย: หนานปั๋น...ลัวะ...!! (Jangpan ) วันที่: 23 กันยายน 2550 เวลา:13:16:51 น.  

 
ไก๊..ต้งหนึ่ง โต๋คิ้ง...

คำว่า...โต๋คิ้ง...แปลว่า..ตัวคุณ/ ตัวแก/ ตัวมึง ใช่ไหมครับ


คำสั่งสอนของไทใหญ่นี่ก็อบอุ่น จริงใจ แฝงด้วยความเมตตา..บริสุทธิ์ใจ ซื่อ ๆ ดีมากน๊ะครับ.. เหมือนกับทางภาคเหนือเหมือนกัน...

คำถามที่สอบถามมา..ขอกราบขอบพระคุณล่วงหน้าครับผม...

อยู่หลีกั๊ตเหยนข้า....


โดย: จางปั๋น..!? (Jangpan ) วันที่: 23 กันยายน 2550 เวลา:13:24:07 น.  

 
คำไทใหญ่ทุกคำ มีพื้นเสียงจัตวา
ฉะนั้น ถ้าไม่มีรูปวรรณยุกต์กำกับอยู่ ก็ออกเสียง จัตวา
เห็นว่าเขียน กิน กาน ลี ต้องออกเสียง กิ๋น ก๋าน หลี

+ เป็นวรรณยุกต์ จัตวา ไม่ใช่ ตรี

ก่ - ก้ - ก๊ - ก๋
เอก - โท - ตรี - จัตวา
(ต้องเอาพยัญชนะมารองรับ จึงจะพิมพ์ได้)


โดย: นายช่างปลูกเรือน วันที่: 24 กันยายน 2550 เวลา:18:45:05 น.  

 

คิง มี ๒ ความหมายเหมือนล้านนา ในที่นี้ แปลว่า ตัวตน,ร่างกาย

โต๋ ก็แปลว่า ร่างกาย

ฉะนั้น โต๋คิง จึงแปลว่า ร่างกาย เป็น คำซ้อน ที่มักพบเห็นทั่วไปในภาษาตระกูล ไท-ไต

ต้งหนึงโต๋คิง คือ เคลื่อนไหวร่างกาย ผมจึงแปลเอาความเป็น ออกกำลัง


โดย: นายช่างปลูกเรือน วันที่: 24 กันยายน 2550 เวลา:20:21:19 น.  

 
กระจ่างครับ...เป็นอย่างนี้นี่เอง..บางทีเห็นในคาราโอเกะ..แต่ละอัลบั้มต่าง ๆ กัน..ก็เกิดอาการงง...ต้องอาศัยประมวลประโยคแล้วก็สุ่ม(เดามากกว่า) แปลเอา....
ก็พอได้ใจความ...

อย่างเช่น โมง...กับ...ม้อง...ตอนแรกเห็นก็งง...
กี่โม้ง...ใช้สระโอ๋ย.. แต่พอเจออีกที..ใช้สระอ๋อย..ออกเสียงว่า...ม้อง..กี่ม้อง..ก็คือกี่โมงนั่นเอง...

อีกคำหนึ่งที่ผมทึ่งในการเลียนเสียงฝรั่ง...บ้านเราเรียก..
"ภาษาอังกฤษ" แต่ไตใหญ่ว่า..เองกะริ๊ต...เพราะมากเลย..


โดย: หนานปั๋นขี้เหล้าฯ (Jangpan ) วันที่: 25 กันยายน 2550 เวลา:18:44:06 น.  

 

โม้ง กับ ม้อง ใช้ได้ทั้ง ๒ คำ แล้วแต่จะเลือกใช้

การทับศัพท์ภาษาอังกฤษ เป็นภาษาไทใหญ่ มีหลายสำนักที่ทับศัพท์ไม่เหมือนกัน เช่น ชื่อเดือน ชื่อประเทศ ชื่อคน ชื่อสถานที่ ฯลฯ ก็ต้องถือว่า ถูก ทุกสำนัก

เวลาอ่าน จึงต้องมีพื้นฐานว่า ศัพท์เดิมในภาษาอังกฤษ เขียนว่าอย่างไร


โดย: นายช่างปลูกเรือน วันที่: 26 กันยายน 2550 เวลา:16:53:09 น.  

ชื่อ :
Comment :
  *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

นายช่างปลูกเรือน
Location :
กาญจนบุรี Thailand

[Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 62 คน [?]




ไม่สงวนลิขสิทธิ์

เพื่อเปิดกว้างการศึกษาและเผยแพร่ภาษาตระกูลไท

ข้อมูล "ในส่วนที่ไม่ใช่ลิขสิทธิ์ของผู้อื่น"
ยินดีให้ ลอกเลียน, ทำซ้ำ, เพิ่มเติม, แก้ไขเปลี่ยนแปลง
หรือนำไปใช้

โดยไม่ต้องขออนุญาต หรืออ้างถึงใด ๆ ทั้งสิ้น


Copyleft
Friends' blogs
[Add นายช่างปลูกเรือน's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.