กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
กรรมฐาน
จงกรม
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ลำดับญาณ,ทวนญาณ
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
วิธีการแห่งศรัทธา (ปรโตโฆสะที่ดี)
วิธีการแห่งปัญญา (โยนิโสมนสิการ)
ภาษาธรรมวันละคำ
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ข้อธัมม์ที่ถาม-เถียงกันบ่อย
บุญ
ผู้พิพากษาตั้งตุลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
รู้เขา รู้เรา
พุทธโอวาท ๓ เดือนก่อนปรินิพพาน,
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจน เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีลธรรมไม่กลับมาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
วัฒนธรรมประเพณี
จาริกบุญ จารึกธรรม
สมาธิ,ฌาน
ถ้าศาสนาพุทธมีหลักธรรมดีจริง คงไม่สูญสิ้นจากถิ่นเดิม
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์
สติปัฏฐาน
ศีลสำหรับประชาชน
ทางดำเนินชีวิตสายกลาง
คุณสมบัติบุคคลโสดาบัน
กาม
ความสุข
อริยสัจ ๔
ธรรมฉันทะ - ตัณหาฉันทะ
กรรม
ฅนไทย ใช่กบเฒ่า ?
พระไทย ใช่เขาใช่เรา?
สมถะ,วิปัสสนา,เจโตวิมุตติ,ปัญญาวิมุตติ
อนัตตา
สมมุติบัญญัติ
ศีล-สีลัพพตปรามาส
นรก สวรรค์ ในพระไตรปิฎก
วันสำคัญของชาวพุทธไทย
วิธีฝึกหูทิพย์ ตาทิพย์
ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ ศ.ประจำชาติ
ภาวะแห่งนิพพาน
ระดับของผู้บรรลุนิพพาน
ภาวะของผู้บรรลุนิพพาน
อิทธิบาท ๔
รู้ทุกอย่างแต่ปล่อยวางไม่ได้
สติ,สติปัฏฐาน
ตถตา
อ่าน แล้ว คิดว่าเป็นนั่นเป็นนี่
ทำยังไงจะให้เชื่อเรื่องกรรม
ตุลาคม 2564
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
24 ตุลาคม 2564
เน้นย้ำ บัญญัติธรรม อีกที
สภาวะ จริยะ บัญญัติ ซ่อนอยู่ใต้ ธรรมวินัย
ขังตัว ไม่ขังใจ
ธรรมะจากธรรมาสน์
แม่พระธรณีวัด
ยกเลิกเหอะ
โรคกาย และจิตใจ ไม่เหมาะสมเป็นตุลาการ
บัญญัติแก้ไขได้
แล้วแต่ฝ่ายไหนถือปากกา
วัฏฎะ
มรดกบาป
นิติ
ฆ่าเขาได้แล้วเราอยู่เป็นสุข
ตอบคำถามท้ายเรื่อง (จบ)
ตอบคำถามท้ายเรื่อง (ต่อ)
ตอบคำถามท้ายเรื่อง
Pictures
ตุลาการ ๔ ความหมาย
ธรรมะที่ทำให้เข้มแข็งและเป็นสุขในการทำหน้าที่
ข้างใน มีใจเที่ยงตรง ข้างนอก เป็นธรรมเสมอกันทุกคน
สมานัตตตา อีกแง่หนึ่ง
จริยธรรมในใจ ออกประสาน จริยธรรมทางสังคม
ถ้ารู้เข้าใจ อนิจจัง ผิด ก็ยุ่ง
ปัญญาที่แท้ก็ต้องชัด ถ้าไม่ชัดก็ยังไม่เป็นปัญญา
พรหมวิหาร หลักประกันสันติสุข
อุเบกขาดำรงรักษาธรรม
อำนาจ
มองพรหมวิหารคือคำนึงทุกสถานการณ์
พรหมวิหาร
ธรรมะอาศัยกันและกัน
มองพระพุทธศาสนาให้ครบ
ย้ำ เจตนา อีกที
เจตนาพามนุษย์ยุ่งนุงนังด้วยปัญหา
ไตรสิกขาระบบพัฒนาคนทั้งคน
ศีลธรรมค่อยๆหล่นหาย ตั้งแต่มีแผนพัฒนาฯ
ไปให้ถึงจริย(ธรรม)แท้ที่เป็นระบบ
เข้าใจ จริยธรรม ให้ชัด
ความไม่รู้บังความรู้
เน้นย้ำ บัญญัติธรรม อีกที
สภาวะ จริยะ บัญญัติ ซ่อนอยู่ใต้ ธรรมวินัย
พักเบรคความคิด
ปัญญา กับ เจตนา คุณสมบัติในตัวคน
บัญญัติจะดี ปัญญาต้องเต็ม เจตนาต้องตรง
ปัญญาต้องรู้ชัด เจตนาตั้งไว้ถูก
รู้ธรรมแล้วบัญญัติวินัย
ธรรม กับ วินัย แยกให้ชัด
ธรรม เป็นกฎธรรมชาติ มีอยู่ตามธรรมดาของมัน
ถ้าเป็นธรรม ก็ถูกต้องตามความจริง
จะนั่นนี่โน่นให้เป็นธรรม ต้องรู้จักธรรม
หลักเบื้องต้น คือ เจตนา กับ ปัญญา
ศัพท์ยาก ที่ต้องแปล
เจตนารมณ์หนังสือ ผู้พิพากษาตั้งตุลาให้สังคมสมดุล
เน้นย้ำ บัญญัติธรรม อีกที
ตัวอย่างนี้ คงทำให้เข้าใจบัญญัติ, บัญญัติธรรมชัดขึ้น ใบกระท่อม
ก่อนหน้าบัญญัติว่าผิดกฎหมาย (ก่อนหน้าอีกไม่ผิด) แต่ขณะนี้ว่าไม่ผิดแล้วขึ้นห้างไปแล้ว ตามตลาดสดก็มีวางขายกันเห็นๆ ออกใหม่ๆแพงสะด้วยนะ
บัญญัติ:
ตรากฎหมายห้ามลักขโมย ตรากฎหมายวางบทบัญญัติเกี่ยวกับการทำร้ายร่างกาย วางระเบียบการจัดอบรมผู้ต้องขัง อบรมเด็กมีปัญหา จัดตั้งค่ายคุณธรรมเพื่อพัฒนาเมตตาธรรม ให้ซื่อสัตย์ ให้กตัญญู จัดตั้งชมรมสุขภาพกาย สุขภาพใจ ฯลฯ
ตามตัวอย่างเหล่านี้ จะเห็นได้ไม่ยากว่า
สภาวะ
เป็นความจริงของธรรมชาติ และ
จริยะ
ก็เป็นความจริงเกี่ยวกับความต้องการของชีวิตของคน ไม่ว่าที่ไหน เมื่อใด ทุกกาลเทศะ ก็เป็นอย่างนั้น
ดังนั้น
สภาวธรรม และจริยธรรม ซึ่งสืบเนื่องต่อกันมา จึงอยู่ในระดับที่เป็นสัจธรรมด้วยกัน
ส่วน
บัญญัติ
นั้น กำหนดหรือจัดตั้งวางขึ้น เพื่อให้จริยะมีผลเป็นจริง หรือ
ให้ได้ผลตามจริยะ
เห็นได้ชัดว่าเป็นสมมติ หรือ
สมมติธรรม
คือไม่มีอยู่จริง แต่เป็นเรื่องของการตกลงหรือยอมรับร่วมกันของมนุษย์
ดังนั้น
บัญญัติธรรม
ซึ่งแต่ละสังคมก็พยายามจัดวางให้ได้ผลมากที่สุด แต่มีความรู้ความเห็นความต้องการความสามารถมากน้อยไม่เท่ากัน ไม่ตรงกัน เช่น ประเทศนี้ มีกฎหมายว่าด้วยการเก็บการ เคลื่อนย้าย การใช้ เชื่อเพลิงประเภทต่าง ๆ เช่น แก๊ส น้ำมัน ถ่านหิน ฯลฯ อย่างหนึ่ง
แต่อีกประเทศหนึ่ง
มีข้อกำหนดอีกแบบหนึ่ง และสำหรับเชื่อเพลิงแต่ละประเภทนั้นๆ ก็มีข้อ บัญญัติที่เป็นรายละเอียดแตกต่างกันไปมากมาย หรือแม้ในประเทศเดียวกัน แต่ต่างยุคสมัย ก็มีเหตุให้บัญญัติแผกกันไป
บางที
บัญญัติธรรม
ก็ต่างกันมาก จนอาจจะตรงข้ามกันเลย
คือ เรื่องที่ในสังคมนี้บัญญัติให้เป็นการถูกต้อง แต่อีกสังคมหนึ่ง บัญญัติให้เป็นการไม่ถูกต้อง หรือ
ใน
สังคมเดียว
กันต่างกาละ เรื่องที่เคยบัญญัติว่า ผิด ก็บัญญัติใหม่เป็นถูก เรื่องที่เคยว่า ถูก ก็เอาเป็นผิด
ข้อที่พึงทราบ
อีกอย่างหนึ่ง
คือ จะเห็นชัดเช่นกันว่า
สภาวะ
หรือสภาวธรรม เป็นเรื่องของ
ปัญญา
คือขึ้นต่อความรู้ ต้องใช้ความรู้ความเข้าใจ
ส่วนจริยะ
เป็นเรื่องของ
เจตนา
คือขึ้นต่อเจตจำนง ความตั้งใจ
ใน
การบัญญัติจัดตั้งบัญญัติธรรม
จะทำได้ผลดีก็ต้องมีปัญญาที่
รู้เข้าใจเข้าถึงสภาวะ
และมีเจตนาที่สะอาดประกอบด้วยเมตตาปรารถนาดีต่อเพื่อนมนุษย์ ต่อสังคม เป็นต้น อย่างจริงจังและจริงใจ
ท้ายสุด ในขั้นปฏิบัติตามบัญญัติธรรม การที่จะปฏิบัติตามหรือไม่ และปฏิบัติได้ผลมากน้อยเพียงไร ก็ขึ้นอยู่กับปัญญา และเจตนาเช่นเดียวกัน
ด้วยเหตุนี้
จึงต้องมีการพัฒนามนุษย์ ด้วยการศึกษาที่จะให้มนุษย์นั้นมีปัญญารู้เข้าใจสภาวธรรมเท่าที่จะเป็นไปได้ และให้เขาพัฒนาจิตใจ ให้มีเจตนาที่ประกอบด้วยคุณสมบัติดีงามทั้งหลาย เช่น
เมตตา กรุณา สติ สมาธิ
ฯลฯ เพื่อจะได้มี
จริยธรรม
ที่จะเอา
เจตนา
นั้นไปนำพฤติกรรมทาง
กาย วาจา
โดยอาศัย
บัญญัติธรรม
ช่วยเกื้อหนุนให้ประพฤติปฏิบัติในทางที่ดีงามเกื้อกูลเป็นคุณเป็น ประโยชน์ แก่ชีวิต แก่สังคม และแก่โลกที่แวดล้อมทั้งหมด ให้อยู่ดีมีสันติสุขแท้จริง.
ส่วน
กัญชา
ตอนนี้ยังว่าผิดบทบัญญัติทางกฎหมายอยู่ แต่ก็นะ ?
https://blogger.googleusercontent.com/img/a/AVvXsEgknq0f54DQg6FDJwGp0T99dg8xtZWQZVyxygLHEANWDR2dirGe8qOTkZhoyfsdvq8BMh72as8V
1hVNukZoUPcQOIvkfu2jyqZ9p6y9NxKXIm1rXEwhcIJdPG8fzZeEEO5IUvfskjt73lru1ioUUg9xYvI0rTbr8Xi-9XEi407mBwE83uQ_CUhOBrJ0JA=s320
ทั้งใบกระท่อม ทั้งกัญชา ก่อนโน่นก็ไม่ผิดบัญญัติ เคี้ยวกัน สูบกันเพลินไป พอมาๆก็บัญญัติว่าผิดกฎหมาย มาๆก็ไม่ผิด นี่ล่ะบัญญัติ
บางที
บัญญัติธรรม
ก็ต่างกันมาก จนอาจจะตรงข้ามกันเลย
คือ เรื่องที่ในสังคมนี้บัญญัติให้เป็นการถูกต้อง แต่อีกสังคมหนึ่ง บัญญัติให้เป็นการไม่ถูกต้อง
เอาเรื่องบัญญัติธรรม หรือ สังคมบัญญัติ
ประเด็น
นี้ให้ชัดให้แจ้งอีก โดยใช้ตัวอย่างนี้
ตาลิบัน ตัดศีรษะนักวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติชาวอัพกัน ก่อนจะโพสต์ภาพลงโซเชียล สาเหตุเพราะผู้หญิงไม่ควรเล่นกีฬา...
จริงๆ แล้วมาห์จาบิน ฮากิมี นักกีฬาวอลเลย์หญิงบอลทีมชาติของอัฟกานิสถานถูกกลุ่มตาลิบันฆ่าตัดศีรษะไปเมื่อช่วงต้นเดือนสิงหาคม แต่ทางครอบครัวปกปิดข่าวการเสียชีวิตของเธอเนื่องจากถูกข่มขู่ไม่ให้แพร่งพรายเรื่องนี้ให้ใครรู้
โดยโค้ช ซึ่งใช้นามแฝงว่า ซูลายา อัฟซาลี เพื่อความปลอดภัยได้ให้สัมภาษณ์กับหนังสือพิมพ์ หลังจากที่มีภาพการเสียชีวิตของมาห์จาบินเผยแพร่ออกไปว่า กลุ่มตาลิบันได้มีความพยายามตามเสาะหาตัวนักกีฬาหญิงทีมชาติเพื่อสังหารเนื่องจากพวกเขาคิดว่าผู้หญิงไม่ควรเล่นกีฬา ซึ่งมีนักกีฬาวอลเลย์บอลหญิงสามารถหลบหนีออกนอกประเทศได้เพียงสองคนเท่านั้น ที่เหลือต้องมีชีวิตอยู่อย่างหวาดระแวงและสิ้นหวัง ต้องเปลี่ยนชื่อ และอยู่อย่างหลบๆ ซ่อนๆ เพื่อไม่ให้ตามตัวเจอ
https://www.facebook.com/photo?fbid=619238525765493&set=pcb.1324458091309436
สังคมโลกส่วนมาก คัดกรองคนเพื่อฝึกกีฬากันตั้งแต่หัวเท่ากำปั้น นักกีฬาเองได้ทั้งเงินได้ทั้งกล่อง แต่ก็มีบางสังคมบัญญัติห้ามทำห้ามเล่น ฝ่าฝืนมีโทษถึงตาย
ตัวอย่างนี้ก็ได้
จะเปิดประเทศ สายพันธ์เก่ายังไม่หาย ที่อยุธยาสายพันธ์ใหม่คร่าชีวิตไปแล้วหนึ่งคน
Create Date : 24 ตุลาคม 2564
Last Update : 26 ตุลาคม 2564 15:00:05 น.
0 comments
Counter : 759 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com