กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ.เป็นเจ้าบทบาทเดิม จากนั้น การศึกษาอาศัยปรโตโฆสะ ซึ่งมีคติว่า "คนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมที่ปรุงปั้น" และโยนิโสมนสิการ ซึ่งมีคติย้อนกลับว่า "ถ้าเป็นคนรู้จักคิด แม้แต่ฟังคนบ้าคนเมาพูด ก็อาจสำเร็จเป็นพระอรหันต์"
ก่อนศึกษาพุทธธรรม
กรรมฐาน
จงกรม
หลักปฏิบัติ
สภาวธรรม
ลำดับญาณ,ทวนญาณ
ภาค ๑. มัชเฌนธรรมเทศนา
ภาค ๒. มัชฌิมาปฏิปทา
ภาค ๓. อารยธรรมวิถี
ภาษาธรรมวันละคำ
ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
ข้อธัมม์ที่ถาม-เถียงกันบ่อย
บุญ
ผู้พิพากษาตั้งตุลา ใ ห้ สั ง ค ม ส ม ดุ ล
คติธรรมสั้นๆ
รู้เขา รู้เรา
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน,
ความเป็นมาของการบวช
การทำวัตรสวดมนต์
ทำยังไงจึงจะมีอายุยืนและมีความสุข
พลังดันคน
ที่ทำงานของจิต
บรรลุธรรมอะไร?
พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก
ธัมมาธิบาย
สวดมนต์
ความจน เ ป็ น ทุ ก ข์ ใ น โ ล ก
เรียนบาลีเพื่อรักษาพุทธพจน์
ศีลธรรมไม่กลับมาโลกาจะพินาศ
หลักธรรมสำหรับผู้ยังไม่นับถือศาสนาใดๆ
วัฒนธรรมประเพณี
จาริกบุญ จารึกธรรม
สมาธิ,ฌาน
ถ้าศาสนาพุทธมีหลักธรรมดีจริง คงไม่สูญสิ้นจากถิ่นเดิม
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์
สติปัฏฐาน
ศีลสำหรับประชาชน
วิธีการแห่งศรัทธา (ปรโตโฆสะที่ดี)
วิธีการแห่งปัญญา (โยนิโสมนสิการ)
ทางดำเนินชีวิตสายกลาง
คุณสมบัติบุคคลโสดาบัน
กาม
ความสุข
อริยสัจ ๔
ธรรมฉันทะ - ตัณหาฉันทะ
กรรม
ฅนไทย ใช่กบเฒ่า ?
พระไทย ใช่เขาใช่เรา?
สมถะ,วิปัสสนา,เจโตวิมุตติ,ปัญญาวิมุตติ
อนัตตา
สมมุติบัญญัติ
ศีล-สีลัพพตปรามาส
นรก สวรรค์ ในพระไตรปิฎก
วันสำคัญของชาวพุทธไทย
วิธีฝึกหูทิพย์ ตาทิพย์
ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ ศ.ประจำชาติ
ภาวะแห่งนิพพาน
ระดับของผู้บรรลุนิพพาน
ภาวะของผู้บรรลุนิพพาน
อิทธิบาท ๔
รู้ทุกอย่างแต่ปล่อยวางไม่ได้
สติ,สติปัฏฐาน
ตถตา
อ่าน แล้ว คิดว่าเป็นนั่นเป็นนี่
ทำยังไงจะให้เชื่อเรื่องกรรม
ตุลาคม 2564
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
22 ตุลาคม 2564
บัญญัติจะดี ปัญญาต้องเต็ม เจตนาต้องตรง
ปัญญาต้องรู้ชัด เจตนาตั้งไว้ถูก
รู้ธรรมแล้วบัญญัติวินัย
ธรรม กับ วินัย แยกให้ชัด
ขังตัว ไม่ขังใจ
ธรรมะจากธรรมาสน์
แม่พระธรณีวัด
ยกเลิกเหอะ
โรคกาย และจิตใจ ไม่เหมาะสมเป็นตุลาการ
บัญญัติแก้ไขได้
แล้วแต่ฝ่ายไหนถือปากกา
วัฏฎะ
มรดกบาป
นิติ
ฆ่าเขาได้แล้วเราอยู่เป็นสุข
ตอบคำถามท้ายเรื่อง (จบ)
ตอบคำถามท้ายเรื่อง (ต่อ)
ตอบคำถามท้ายเรื่อง
Pictures
ตุลาการ ๔ ความหมาย
ธรรมะที่ทำให้เข้มแข็งและเป็นสุขในการทำหน้าที่
ข้างใน มีใจเที่ยงตรง ข้างนอก เป็นธรรมเสมอกันทุกคน
สมานัตตตา อีกแง่หนึ่ง
จริยธรรมในใจ ออกประสาน จริยธรรมทางสังคม
ถ้ารู้เข้าใจ อนิจจัง ผิด ก็ยุ่ง
ปัญญาที่แท้ก็ต้องชัด ถ้าไม่ชัดก็ยังไม่เป็นปัญญา
พรหมวิหาร หลักประกันสันติสุข
อุเบกขาดำรงรักษาธรรม
อำนาจ
มองพรหมวิหารคือคำนึงทุกสถานการณ์
พรหมวิหาร
ธรรมะอาศัยกันและกัน
มองพระพุทธศาสนาให้ครบ
ย้ำ เจตนา อีกที
เจตนาพามนุษย์ยุ่งนุงนังด้วยปัญหา
ไตรสิกขาระบบพัฒนาคนทั้งคน
ศีลธรรมค่อยๆหล่นหาย ตั้งแต่มีแผนพัฒนาฯ
ไปให้ถึงจริย(ธรรม)แท้ที่เป็นระบบ
เข้าใจ จริยธรรม ให้ชัด
ความไม่รู้บังความรู้
เน้นย้ำ บัญญัติธรรม อีกที
สภาวะ จริยะ บัญญัติ ซ่อนอยู่ใต้ ธรรมวินัย
พักเบรคความคิด
ปัญญา กับ เจตนา คุณสมบัติในตัวคน
บัญญัติจะดี ปัญญาต้องเต็ม เจตนาต้องตรง
ปัญญาต้องรู้ชัด เจตนาตั้งไว้ถูก
รู้ธรรมแล้วบัญญัติวินัย
ธรรม กับ วินัย แยกให้ชัด
ธรรม เป็นกฎธรรมชาติ มีอยู่ตามธรรมดาของมัน
ถ้าเป็นธรรม ก็ถูกต้องตามความจริง
จะนั่นนี่โน่นให้เป็นธรรม ต้องรู้จักธรรม
หลักเบื้องต้น คือ เจตนา กับ ปัญญา
ศัพท์ยาก ที่ต้องแปล
เจตนารมณ์หนังสือ ผู้พิพากษาตั้งตุลาให้สังคมสมดุล
บัญญัติจะดี ปัญญาต้องเต็ม เจตนาต้องตรง
บัญญัติจะดีได้
ปัญญาก็ต้องเต็ม
เจตนาก็ต้องตรง
ทีนี้ พอเราเข้ามาดูความเป็นไปในขั้นที่เป็นเรื่องราวเป็นกิจการของสังคมมนุษย์ ตั้งแต่งานนิติบัญญัติ เป็นต้นไป จะเห็นว่าถึงกับมีบุคคล ผู้ทำหน้าที่ในเรื่องนี้ทีเดียว คือ มีผู้เป็นเจ้าการใหญ่ ที่ต้องพิจารณาว่า ทำอย่างไรจะจัดตั้งวางตรา ระเบียบ แบบแผน บทบัญญัติ กฎหมาย ที่เป็นกติกาของสังคมขึ้นมา ให้เกิดผลดีแก่สังคมประเทศชาติได้
ถึงตอนนี้ เราต้องบอกว่า ผู้ที่จะเป็นนัก
นิติบัญญัติ
นั้น
หนึ่ง
จะต้องมีปัญญา ทั้งปัญญาที่รู้ความจริง และปัญญาที่จะสามารถมาจัดตั้งวางระเบียบแบบแผนให้แก่สังคม
แค่
ข้อหนึ่งนี้ก็เป็นเรื่องที่ใหญ่
มาก มันเป็นตัววัดเบื้องแรก เริ่มด้วยบอกว่า คนที่จะมาเป็นนักนิติบัญญัติ ที่ดี ทำงานได้สำเร็จนั้น ต้องมีปัญญารู้เข้าใจความจริงของธรรมชาติ ตั้งต้นแต่ความต้องการของชีวิตมนุษย์ ต้องรู้ว่าชีวิตมนุษย์ที่เป็นอยู่ดีคืออย่างไร ชีวิตมนุษย์ควรจะเป็นอย่างไร ชีวิตมีจุดหมายเพื่ออะไร สังคมที่ดีเป็นอย่างไร ตามที่เป็นจริง โดยสอดคล้องกับความเป็นจริงของธรรมชาติ อะไรต่างๆเหล่านี้
แค่ปัญญา ที่รู้ความจริงในขั้นตามที่มันเป็นของธรรมชาตินี้ บุคคลที่จะเป็นนักนิติบัญญัติได้จริง ก็จะต้องเป็นมนุษย์ที่ล้ำเลิศทีเดียว แต่ก็จำเป็นต้องเลิศอย่างนั้น มิฉะนั้น จะมาจัดตั้งวางระบบระเบียบแบบแผนให้เกิดผลดีที่พึงหมายให้แก่สังคมได้อย่างไร ในเมื่อตัวเอง ก็ไม่รู้จริงว่า อะไรเป็นของดี
แล้วไม่แค่นั้น ยังต้องรู้ต่อไปอีกว่า ทำอย่างไร จะให้เกิดผลดีที่ต้องการนั้น เหตุปัจจัยมันเป็นอย่างไร และจะทำเหตุปัจจัยนั้นๆให้เกิดผลได้อย่างไร ซึ่งก็เป็นเรื่องใหญ่มาก จึงพูดได้เลยว่า ถ้าปัญญาไม่ถึงขั้นอย่างพระพุทธเจ้า จะมาวางแบบแผนนิติบัญญัติให้สังคมดี ย่อมเป็นไปได้ยาก
จึงต้องตั้งอุคมคติไว้เลยว่า คนที่จะมาทำงานหรือดำเนินการให้เรื่องนิติบัญญัตินี้ได้ จะต้องมี ทั้งปัญญาที่เข้าถึงความจริงอย่างที่ว่าแล้ว และปัญญาที่จะมาจัดตั้งวางระบบ ต้องเก่งกาจด้วยทั้ง ๒ ขั้น
แต่มิใช่เท่านั้น
สอง
ยังมีอีกอย่างหนึ่ง ซึ่งอยู่ในตัวมนุษย์ที่จะต้องจัดการอย่างสำคัญ คือ
เจตนา
ที่เป็นตัวกำหนดในเรื่อง
จริยธรรม
พอมาถึงขั้นจัดทำดำเนินการของมนุษย์ ปัญญาก็มาประสาน กับ เจตนา หรือเจตจำนงนี้เพิ่มเข้ามาอีกตัวหนึ่ง
แน่ละ
เจตนา
ของมนุษย์ ผู้จะวางระเบียบแบบแผน หรือกติกา บุคคล และกติกาสังคม ก็ต้องมุ่งเพื่อจุดหมายที่ดีแน่นอนอยู่แล้ว คือ เพื่อให้ชีวิตดี ให้คนทั้งหลายอยู่กันด้วยดี มีความสัมพันธ์ที่ดีไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกัน ให้สังคมดี เจริญมั่นคง พัฒนาอย่างดี มีความสงบสุข อะไรต่างๆเหล่านี้
เจตนาที่ว่านี้ จะต้องมีอยู่อย่างแนบแน่วกับจุดหมาย เป็นความมุ่งมั่นที่แรงกล้าเด็ดเดี่ยว อยู่ในใจของผู้ที่จะทำหน้าที่
นิติบัญญัติ
ในการจัดตั้งวางระเบียบ ตรากฎหมาย กำหนดกติกาสังคม โดยมีใจที่ตั้งมั่นในเมตตาการุณยธรรม มีความปรารถนาดีต่อชีวิตและสังคม ใฝ่สร้างสรรค์อย่างจริงใจ
เจตนา
นี้ จึงเป็นเรื่องใหญ่อีกด้านหนึ่ง ซึ่งเข้ามาสู่แดนที่บอกแล้วว่าเราเรียกกันถือกันเป็น
จริยธรรม
ครอบคลุมมาถึง
บัญญัติธรรม
เป็นอันว่า ต่อจากข้อที่หนึ่ง คือปัญญา ที่ต้องมีเป็นหลักใหญ่ ก็มาถึงข้อสอง คือต้องมีเจตนาดี ที่ประกอบด้วยคุณธรรม มีเมตตา กรุณา เป็นต้น ที่บริสุทธิ์สะอาด ไม่มีความปรารถนาที่เห็นแก่ตน เช่น ไม่มีความ
โลภ
ที่จะมาหาผลประโยชน์ให้แก่ตน ไม่มี
โทสะ
ที่จะขัดเคืองคิดมุ่งร้ายจะหาทางทำลายหรือกลั่นแกล้งใคร ไม่มีเจตนาซ่อนเร้นแอบแฝงใดๆ
นี้คือองค์ประกอบจำเป็น อันขาดมิได้ ซึ่งนักนิติบัญญัติต้องมีอย่างแน่นอน
หนึ่ง
ปัญญาที่เข้าถึงความจริง ทั้งสองขั้น แล้วก็
สอง
เจตนาที่เที่ยงตรง บริสุทธิ์ สะอาด
ถ้าอย่างนี้ ก็จะได้ผลดีที่สุดในการ
บัญญัติจัดตั้งวางกำหนดระเบียบแบบแผนกฎกติกา
ให้แก่สังคม ก็แค่ ๒ ตัวเท่านั้นเอง
Create Date : 22 ตุลาคม 2564
Last Update : 22 ตุลาคม 2564 18:01:41 น.
0 comments
Counter : 704 Pageviews.
Share
Tweet
ผู้โหวตบล็อกนี้...
คุณRain_sk
,
คุณnewyorknurse
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
สมาชิกหมายเลข 6393385
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 9 คน [
?
]
Webmaster - BlogGang
[Add สมาชิกหมายเลข 6393385's blog to your web]
Bloggang.com