17.3 พระสูตรหลักถัดไป คือมหาตัณหาสังขยสูตร
การสนทนาธรรมนี้ต่อเนื่องมาจาก
17.2 พระสูตรหลักถัดไป คือมหาตัณหาสังขยสูตร
//www.bloggang.com/mainblog.php?id=gravity-of-love&month=25-06-2013&group=1&gblog=47
ความคิดเห็นที่ 3-18
ฐานาฐานะ, 15 พฤษภาคม เวลา 09:29 น.
GravityOfLove, 46 วินาทีที่แล้ว
Gravity ตอบไม่ครอบคลุมใช่ไหมคะ
9:18 AM 5/15/2013
คำว่า
มโนสัญเจตนาหาร เจตนาเป็นปัจจัยให้เกิดการกระทำคือ สังขาร
มโนสัญเจตนาหาร หรือเจตนา หรือกรรม หรือสังขาร
หากอนุโลมว่า เป็นคำเดียวกัน ก็ควรไปอีกหนึ่งขั้น
คือ สังขารเป็นปัจจัยให้เกิดวิญญาณ
เหมือนคำว่า วิญญาณเป็นปัจจัยให้เกิดนามรูป.
ค้นคำว่า ปฏิจจสมุปบาท
//84000.org/tipitaka/dic/d_seek.php?text=ปฏิจจสมุปบาท&detail=on
ความคิดเห็นที่ 3-19
GravityOfLove, 15 พฤษภาคม เวลา 09:33 น.
เข้าใจแล้วค่ะ ขอบพระคุณค่ะ
ความคิดเห็นที่ 3-20
ฐานาฐานะ, 15 พฤษภาคม เวลา 22:09 น.
เป็นอันว่า พระสูตรชื่อว่า มหาตัณหาสังขยสูตร จบบริบูรณ์.
//84000.org/tipitaka/read/v.php?B=12&A=8041&Z=8506
พระสูตรหลักถัดไป คือมหาอัสสปุรสูตร [พระสูตรที่ 39].
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔
มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์
มหาอัสสปุรสูตร
//84000.org/tipitaka/read/v.php?B=12&A=8507&Z=8743
ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :-
//84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=12&i=459
จูฬอัสสปุรสูตร
//84000.org/tipitaka/read/v.php?B=12&A=8744&Z=8866
ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :-
//84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=12&i=479
ความคิดเห็นที่ 3-21
GravityOfLove, 14 พฤษภาคม เวลา 01:09 น.
คำถามทบทวนพระสูตรที่ผ่านมา
//topicstock.pantip.com/religious/topicstock/2012/01/Y11540192/Y11540192.html#135
ฌาน ๔ มีปฐมฌานเป็นต้น เป็นพื้นฐานของปัญญา จัดเข้าส่วน
ของการได้มาซึ่งปัญญา อันมีอาสวักขยญาณเป็นที่สุด
โสณทัณฑสูตร
//84000.org/tipitaka/read/v.php?B=9&A=2833&Z=3477
ถ้าไม่ได้ดูในพระสูตรนี้ ไม่เพียงฌาน ๔ เท่านั้น อรูปฌาน ๔
ก็เป็นพื้นฐานของการได้มาซึ่งปัญญาเช่นกัน ใช่ไหมคะ
ความคิดเห็นที่ 3-22
ฐานาฐานะ, 14 พฤษภาคม เวลา 01:24 น.
ก็เป็นพื้นฐานของการได้มาซึ่งปัญญาเช่นกันครับ
เช่น พระอนาคามี ก็ใช้อรูปฌาน ๔ เป็นฐานในการเข้านิโรธสมาบัติ.
ความคิดเห็นที่ 3-23
GravityOfLove, 14 พฤษภาคม เวลา 01:31 น.
โสณทัณฑสูตร
ปัญญา
ได้แก่ วิชชา 8 คือ วิปัสสนาญาน มโนมยิทธิญาณ อิทธิวิญญาณ ทิพโสตญาณ
เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ จุตูปปาตญาณ อาสวักขยญาณ
------------------------
วิชชาที่ ๑-๗ เป็นโลกียะ
วิชชาที่ ๙ เป็นโลกุตตระ
อภิญญาที่ ๑ - ๕ เป็นโลกียะ
อภิญญาที่ ๖ เป็นโลกุตตระ
สมาบัติที่ ๑ - ๘ เป็นโลกียะ
สมาบัติที่ ๙ เป็นโลกุตตระ
ใช่ไหมคะ
ความคิดเห็นที่ 3-24
ฐานาฐานะ, 14 พฤษภาคม เวลา 01:39 น.
อภิญญาที่ ๖ เป็นโลกุตตระ
วิชชาที่ ๘ เป็นโลกุตตระ
แต่สมาบัติที่ ๙ เป็นโลกุตตระหรือโลกียะ
ข้อนี้ น่าจะมีการอธิบายว่า ตรงไหนเป็นโลกุตตระ
ในเมื่อจิตก็ดับ ไม่มีอารมณ์อันจิตจะเสพ แล้วส่วนไหนเป็นโลกุตตระ.
หากจะกล่าวว่า สมาบัติที่ ๙ เป็นสมาบัติเฉพาะพระอริยบุคคล
คำนี้แน่นอน แต่สมาบัติที่ ๙ เป็นโลกุตตระหรือโลกียะ ขอติดค้างไว้ก่อน.
ความคิดเห็นที่ 3-25
ฐานาฐานะ, 14 พฤษภาคม เวลา 01:51 น.
สัญญาเวทยิตกถา
//84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=37&A=16737&Z=16749
ความคิดเห็นที่ 3-26
GravityOfLove, 14 พฤษภาคม เวลา 01:54 น.
โอย อ่านไม่รู้เรื่อง กรุณาแปลค่ะ
ความคิดเห็นที่ 3-27
ฐานาฐานะ, 14 พฤษภาคม เวลา 01:58 น.
ขอติดค้างไว้ก่อนครับ เพราะต้องศึกษาพร้อมอรรถกถาด้วย.
ความคิดเห็นที่ 3-28
GravityOfLove, 14 พฤษภาคม เวลา 02:00 น.
ขอบพระคุณค่ะ
ความคิดเห็นที่ 3-29
GravityOfLove, 16 พฤษภาคม เวลา 05:15 น.
คำถามมหาอัสสปุรสูตร
//84000.org/tipitaka/read/v.php?B=12&A=8507&Z=8743
การนอน ๔ คือ กามโภคิไสยา เปตไสยา สีหไสยา ตถาคตไสยา
ท่านอนสีหไสยา เหมือนท่านอนตถาคตไสยา ใช่ไหมคะ ต่างกันที่จุดประสงค์
คือสีหไสยา คือนอนหลับ ตถาคตไสยา คือ เข้าฌานด้วยท่าสีหไสยา
ขอบพระคุณค่ะ
ความคิดเห็นที่ 3-30
ฐานาฐานะ, 16 พฤษภาคม เวลา 11:09 น.
ตอบว่า สันนิษฐานว่า
กามโภคิไสยา เปตไสยา สีหไสยา เป็นการนอนด้วยท่าทาง
คือ กามโภคิไสยา << นอนตะแคงซ้าย
เปตไสยา << นอนหงาย
สีหไสยา << นอนตะแคงขวา
ตถาคตไสยา คือการเข้าฌานที่ 1 ถึง 4
หากมีคำถามว่า ทำไมจึงจัดการเข้าฌานอยู่ในหมวดการนอน
สันนิษฐานว่า การนอนหลับมีลักษณะสำคัญคือ
1. ร่างกายนิ่งนาน 2. ไม่พูด
[๒๔๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ไสยา (การนอน) ๔ อย่างนี้
//84000.org/tipitaka/read/?21/246
ความคิดเห็นที่ 3-31
GravityOfLove, 16 พฤษภาคม เวลา 11:12 น.
ตถาคตไสยา นอนตะแคงขวาไหมคะ
ความคิดเห็นที่ 3-32
ฐานาฐานะ, 16 พฤษภาคม เวลา 11:40 น.
ไม่น่าจะกำหนดท่าทางครับ
หากนั่งเข้าฌาน ก็จะน่าเป็นตถาคตไสยา
ความคิดเห็นที่ 3-33, 3-34
GravityOfLove, 16 พฤษภาคม เวลา 13:45 น.
เข้าใจแล้วค่ะ ขอบพระคุณค่ะ
เห็นมีคำว่า ไสยา ทำให้นึกว่า ต้องเป็นท่านอนเสมอ
นึกว่า ไสยา แปลว่า นอน
ย้ายไปที่
//www.bloggang.com/mainblog.php?id=gravity-of-love&month=26-06-2013&group=1&gblog=49
Create Date : 26 มิถุนายน 2556
Last Update : 23 มกราคม 2557 19:24:28 น.
Counter : 1193 Pageviews.
0 comments
Share
Tweet
Deh! Tu di un'umile preghiera from Maria Stuarda by Gaetano Donizetti
ปรศุราม
(20 เม.ย. 2568 10:57:03 น.)
กาย ไม่ควรลังเลในสิ่งที่ถูกที่ดี ไม่ควรกระทำผิดจากเป้าหมาย การหาเรียงทำสร้าง อธรรม กิเลส
ปัญญา Dh
(20 เม.ย. 2568 19:23:47 น.)
จับ จอง บริหาร จัดการ
ปัญญา Dh
(25 เม.ย. 2568 02:59:41 น.)
ให้ รับ การฝึกตน เนื้อคู่แท้ ระยะนามขันธ์ของเนื้อคู่แท้ ไม่ผูกกรรม
ปัญญา Dh
(25 เม.ย. 2568 05:10:58 น.)
Gravity-of-love.BlogGang.com
แก้วมณีโชติรส
Location :
[ดู Profile ทั้งหมด]
ผู้ติดตามบล็อก : 6 คน [
?
]
บทความทั้งหมด
19.2 พระสูตรหลักถัดไป คือกันทรกสูตร [พระสูตรที่ 1]
19.1 พระสูตรหลักถัดไป คือกันทรกสูตร [พระสูตรที่ 1]
18.10 พระสูตรหลักถัดไป คือจูฬธรรมสมาทานสูตร [พระสูตรที่ 45]
18.9 พระสูตรหลักถัดไป คือจูฬธรรมสมาทานสูตร [พระสูตรที่ 45]
18.8 พระสูตรหลักถัดไป คือจูฬธรรมสมาทานสูตร [พระสูตรที่ 45]
18.7 พระสูตรหลักถัดไป คือจูฬธรรมสมาทานสูตร [พระสูตรที่ 45]
18.6 พระสูตรหลักถัดไป คือจูฬธรรมสมาทานสูตร [พระสูตรที่ 45]
18.5 พระสูตรหลักถัดไป คือจูฬธรรมสมาทานสูตร [พระสูตรที่ 45]
18.4 พระสูตรหลักถัดไป คือจูฬธรรมสมาทานสูตร [พระสูตรที่ 45]
18.3 พระสูตรหลักถัดไป คือจูฬธรรมสมาทานสูตร [พระสูตรที่ 45]
18.2 พระสูตรหลักถัดไป คือจูฬธรรมสมาทานสูตร [พระสูตรที่ 45]
สารบัญย่อย ๓
18.1 พระสูตรหลักถัดไป คือจูฬธรรมสมาทานสูตร [พระสูตรที่ 45]
17.12 พระสูตรหลักถัดไป คือมหาตัณหาสังขยสูตร
17.11 พระสูตรหลักถัดไป คือมหาตัณหาสังขยสูตร
17.10 พระสูตรหลักถัดไป คือมหาตัณหาสังขยสูตร
17.9 พระสูตรหลักถัดไป คือมหาตัณหาสังขยสูตร
17.8 พระสูตรหลักถัดไป คือมหาตัณหาสังขยสูตร
17.7 พระสูตรหลักถัดไป คือมหาตัณหาสังขยสูตร
17.6 พระสูตรหลักถัดไป คือมหาตัณหาสังขยสูตร
17.5 พระสูตรหลักถัดไป คือมหาตัณหาสังขยสูตร
17.4 พระสูตรหลักถัดไป คือมหาตัณหาสังขยสูตร
17.3 พระสูตรหลักถัดไป คือมหาตัณหาสังขยสูตร
17.2 พระสูตรหลักถัดไป คือมหาตัณหาสังขยสูตร
17.1 พระสูตรหลักถัดไป คือมหาตัณหาสังขยสูตร [พระสูตรที่ 38]
16.9 พระสูตรหลักถัดไป คือจูฬโคสิงคสาลสูตร
16.8 พระสูตรหลักถัดไป คือจูฬโคสิงคสาลสูตร
16.7 พระสูตรหลักถัดไป คือจูฬโคสิงคสาลสูตร
16.6 พระสูตรหลักถัดไป คือจูฬโคสิงคสาลสูตร
16.5 พระสูตรหลักถัดไป คือจูฬโคสิงคสาลสูตร
16.4 พระสูตรหลักถัดไป คือจูฬโคสิงคสาลสูตร
16.3 พระสูตรหลักถัดไป คือจูฬโคสิงคสาลสูตร
16.2 พระสูตรหลักถัดไป คือจูฬโคสิงคสาลสูตร
16.1 พระสูตรหลักถัดไป คือจูฬโคสิงคสาลสูตร [พระสูตรที่ 31].
15.8 พระสูตรหลักถัดไป คือจูฬหัตถิปโทปมสูตรและมหาหัตถิปโทปมสูตร.
15.7 พระสูตรหลักถัดไป คือจูฬหัตถิปโทปมสูตรและมหาหัตถิปโทปมสูตร.
15.6 พระสูตรหลักถัดไป คือจูฬหัตถิปโทปมสูตรและมหาหัตถิปโทปมสูตร.
15.5 พระสูตรหลักถัดไป คือจูฬหัตถิปโทปมสูตรและมหาหัตถิปโทปมสูตร.
15.4 พระสูตรหลักถัดไป คือจูฬหัตถิปโทปมสูตรและมหาหัตถิปโทปมสูตร.
15.3 พระสูตรหลักถัดไป คือจูฬหัตถิปโทปมสูตรและมหาหัตถิปโทปมสูตร.
15.2 พระสูตรหลักถัดไป คือจูฬหัตถิปโทปมสูตรและมหาหัตถิปโทปมสูตร.
15.1 พระสูตรหลักถัดไป คือจูฬหัตถิปโทปมสูตรและมหาหัตถิปโทปมสูตร.
14.12 พระสูตรหลักถัดไป คือกกจูปมสูตรและอลคัททูปมสูตร.
14.11 พระสูตรหลักถัดไป คือกกจูปมสูตรและอลคัททูปมสูตร.
14.10 พระสูตรหลักถัดไป คือกกจูปมสูตรและอลคัททูปมสูตร.
14.9 พระสูตรหลักถัดไป คือกกจูปมสูตรและอลคัททูปมสูตร.
14.8 พระสูตรหลักถัดไป คือกกจูปมสูตรและอลคัททูปมสูตร.
14.7 พระสูตรหลักถัดไป คือกกจูปมสูตรและอลคัททูปมสูตร.
14.6 พระสูตรหลักถัดไป คือกกจูปมสูตรและอลคัททูปมสูตร.
14.5 พระสูตรหลักถัดไป คือกกจูปมสูตรและอลคัททูปมสูตร.
14.4 พระสูตรหลักถัดไป คือกกจูปมสูตรและอลคัททูปมสูตร.
14.3 พระสูตรหลักถัดไป คือกกจูปมสูตรและอลคัททูปมสูตร.
14.2 พระสูตรหลักถัดไป คือกกจูปมสูตรและอลคัททูปมสูตร.
สารบัญย่อย ๒
14.1 พระสูตรหลักถัดไป คือกกจูปมสูตรและอลคัททูปมสูตร.
13.13 พระสูตรหลักถัดไป คือมหาสีหนาทสูตรและมหาทุกขักขันธสูตร.
13.12 พระสูตรหลักถัดไป คือมหาสีหนาทสูตรและมหาทุกขักขันธสูตร.
13.11 พระสูตรหลักถัดไป คือมหาสีหนาทสูตรและมหาทุกขักขันธสูตร.
13.10 พระสูตรหลักถัดไป คือมหาสีหนาทสูตรและมหาทุกขักขันธสูตร.
13.9 พระสูตรหลักถัดไป คือมหาสีหนาทสูตรและมหาทุกขักขันธสูตร.
13.8 พระสูตรหลักถัดไป คือมหาสีหนาทสูตรและมหาทุกขักขันธสูตร.
13.7 พระสูตรหลักถัดไป คือมหาสีหนาทสูตรและมหาทุกขักขันธสูตร.
13.6 พระสูตรหลักถัดไป คือมหาสีหนาทสูตรและมหาทุกขักขันธสูตร.
13.5 พระสูตรหลักถัดไป คือมหาสีหนาทสูตรและมหาทุกขักขันธสูตร.
13.4 พระสูตรหลักถัดไป คือมหาสีหนาทสูตรและมหาทุกขักขันธสูตร.
13.3 พระสูตรหลักถัดไป คือมหาสีหนาทสูตรและมหาทุกขักขันธสูตร.
13.2 พระสูตรหลักถัดไป คือมหาสีหนาทสูตรและมหาทุกขักขันธสูตร.
13.1 พระสูตรหลักถัดไป คือมหาสีหนาทสูตรและมหาทุกขักขันธสูตร.
สารบัญย่อย ๑
สารบัญสนทนาธรรม
Pantip.com
|
PantipMarket.com
|
Pantown.com
| © 2004
BlogGang.com
allrights reserved.
GravityOfLove, 46 วินาทีที่แล้ว
Gravity ตอบไม่ครอบคลุมใช่ไหมคะ
9:18 AM 5/15/2013
คำว่า
มโนสัญเจตนาหาร เจตนาเป็นปัจจัยให้เกิดการกระทำคือ สังขาร
มโนสัญเจตนาหาร หรือเจตนา หรือกรรม หรือสังขาร
หากอนุโลมว่า เป็นคำเดียวกัน ก็ควรไปอีกหนึ่งขั้น
คือ สังขารเป็นปัจจัยให้เกิดวิญญาณ
เหมือนคำว่า วิญญาณเป็นปัจจัยให้เกิดนามรูป.
ค้นคำว่า ปฏิจจสมุปบาท
//84000.org/tipitaka/dic/d_seek.php?text=ปฏิจจสมุปบาท&detail=on