18.10 พระสูตรหลักถัดไป คือจูฬธรรมสมาทานสูตร [พระสูตรที่ 45] การสนทนาธรรมนี้ต่อเนื่องมาจาก 18.9 พระสูตรหลักถัดไป คือจูฬธรรมสมาทานสูตร [พระสูตรที่ 45] ความคิดเห็นที่ 4-103 ความคิดเห็นที่ 4-104 ฐานาฐานะ, 24 มิถุนายน เวลา 04:05 น. GravityOfLove, 45 นาทีที่แล้ว อ่านลิงค์ที่แนะนำจบแล้วค่ะ ไม่เข้าใจความเป็นเลิศด้านนี้ค่ะ กรุณาอธิบาย คือ ท่านเป็นเลิศ ดังนั้นท่านจึงได้สิทธิ์ในการจับสลากก่อนพระรูปอื่นหรือคะ (๓ ครั้ง) ตอบว่า น่าจะเป็นว่า จะสลากครั้งใด (๓ ครั้ง) ก็เป็นอันท่านจะได้จับสลากก่อนพระรูปอื่น จึงเป็นเลิศในด้านนี้. ความคิดเห็นที่ 4-105 GravityOfLove, 24 มิถุนายน เวลา 06:16 น. สลากภัตในยุคปัจจุบัน เหมือนกับการจับฉลากของขวัญหรือไม่คะ คือ เขียนหมายเลขบนแผ่นกระดาษแผ่นเล็กๆ แผ่นละเลขหมาย แล้วม้วนปิดไม่ให้เห็นหมายเลขที่เขียน เสร็จแล้วให้หยิบคนละอัน ใครได้แผ่นหมายเลขใด ก็ได้ของขวัญที่ตรงกับหมายเลขนั้น ท่านเป็นเลิศด้านผู้รับสลากก่อน คือได้จับสลากก่อนพระรูปอื่น แต่จะได้หมายเลขใดหรือของที่ประณีตที่สุดหรือเปล่า ไม่เกี่ยวใช่ไหมคะ ความคิดเห็นที่ 4-106 ฐานาฐานะ, 24 มิถุนายน เวลา 06:51 น. ในยุคปัจจุบัน เหมือนกับการจับฉลากของขวัญหรือไม่คะ ตอบว่า น่าจะเหมือนครับ ทายกทายิกานำไทยธรรมต่างๆ มา แล้วติดหมายเลขไว้ พระภิกษุก็ทำสลาก รูปใดจับได้หมายเลขใด ทายกทายิกาเจ้าของหมายเลขนั้น ก็ยกไปถวายแก่รูปที่ได้หมายเลขนั้น. ท่านเป็นเลิศด้านผู้รับสลากก่อน คือได้จับสลากก่อนพระรูปอื่น แต่จะได้หมายเลขใดหรือของที่ประณีตที่สุดหรือเปล่า ไม่เกี่ยวใช่ไหมคะ ตอบว่า น่าจะไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับของประณีตที่สุด. ความคิดเห็นที่ 4-107 GravityOfLove, 24 มิถุนายน เวลา 09:13 น. เข้าใจแล้วค่ะ ขอบพระคุณค่ะ ความคิดเห็นที่ 4-108 GravityOfLove, 24 มิถุนายน เวลา 19:14 น. ๒. ทำไมตรัสถึงการเข้าไปอาศัยกัลยาณมิตรคะ (อธิบายพระสูตรที่ใดคะ) อธิบายว่า คำๆ นี้น่าจะมีอนุสนธิมาจากคำว่า เพื่อรู้แจ้ง ด้วยประการฉะนี้ บทว่า "เพื่อรู้แจ้ง ด้วยประการฉะนี้" ความว่า เพื่อประโยชน์รู้แจ้งอย่างนี้. จากการสอบทานย้อนกลับ ได้ความว่า บทว่า "เพื่อรู้แจ้ง ด้วยประการฉะนี้" ความว่า เพื่อประโยชน์รู้แจ้งอย่างนี้. มาจากอรรถกถาบาลีว่า อิมสฺมึ ปน สุตฺเต สตฺถุวีมํสโก อธิปฺเปโต เจโตปริยายนฺติ จิตฺตวารํ จิตฺตปริจฺเฉทํ สมนฺเนสนาติ เอสนา ปริเยสนา อุปปริกฺขา อิติ วิญฺญาณายาติ เอวํ วิชานนตฺถาย ฯ ![]() จากการสอบทานอรรถกถาย้อนกลับไปพระไตรปิฎกบาลี ได้ความว่า [๕๓๖] ภควา เอตทโวจ วีมํสเกน ภิกฺขเว ภิกฺขุนา ปรสฺส เจโตปริยายํ อชานนฺเตน ตถาคเต สมนฺเนสนา กาตพฺพา สมฺมาสมฺพุทฺโธ วา โน วา อิติ วิญฺญาณายาติ ฯ ![]() //budsir.mahidol.ac.th/cgi-bin/Budsir.cgi/SearchItem?mode=1&valume=12&item=536&Roman=0 จากการสอบทานพระไตรปิฎกบาลีย้อนกลับไปพระไตรปิฎกภาษาไทย ได้ความว่า [๕๓๖] พระผู้มีพระภาคตรัสพระพุทธพจน์นี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้พิจารณา เมื่อไม่รู้วาระจิตของผู้อื่น พึงทำการตรวจดูในตถาคต เพื่อทราบว่า พระผู้มีพระภาคเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าหรือไม่. กล่าวคือ เพื่อทราบว่า พระผู้มีพระภาคเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าหรือไม่. นั่นคือ พิจารณาจากความเป็นกัลยาณมิตรแก่สรรพสัตว์นั่นเอง. ---------------------- ขอให้คุณ GravityOfLove อธิบายการค้นหาคำตอบของผม และ capture ภาพตามที่ได้ค้นหามาแสดงด้วย. ---------------------- ๑. ดูว่าคำว่า กัลยาณมิตร มีอธิบายในที่ใดในอรรถกถาภาษาไทย บทว่า "เพื่อรู้แจ้ง ด้วยประการฉะนี้" ความว่า เพื่อประโยชน์รู้แจ้งอย่างนี้. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงการเข้าไปอาศัยกัลยาณมิตรในคำนี้ว่า ... ๒. หาอรรถกถาพระสูตรนี้ใน //thammapedia.com/dhamma/attha_pali.php - คลิกอ่านมัชฌิมนิกาย ลองคลิกที่เล่มที่ ๑ ของมิชฌิมนิกาย ใช้คำค้นคือ วีมงฺส หรือ วีมํส หรือ มงฺส หรือ มํส << ไม่เจอ แต่เจอ มํส ๗๗ แห่ง (เยอะเกินไป) - ลองคลิกเล่มที่ ๒ ใช้คำค้น วีมสก เจอที่หน้า ๖๒๗ แคปภาพได้รูปที่ ๑ (แคปตามที่คุณฐานาฐานะก๊อปมาวางค่ะ อ่านเองไม่ออก ไม่รู้ว่า "เพื่อรู้แจ้ง ด้วยประการฉะนี้" เริ่มจากที่นี่ อิมสฺมึ ปน สุตฺเต สตฺถุวีมํสโก อธิปฺเปโต เจโตปริยายนฺติ) ๓. เปิดพระไตรปิฎกบาลี //budsir.mahidol.ac.th/cgi-bin/Budsir.cgi/SearchItem?mode=1&valume=12&item=536&Roman=0 แคปภาพได้รูปที่ ๒ (เปิดตามคุณฐานาฐานะค่ะ เพราะไม่ทราบจะใช้คำค้นใด) ถ้าหาเองทั้งหมด คงหาไม่เจอค่ะ หาว่าอรรถกถาบาลีพระสูตรนี้อยู่หน้าใด หาเองได้ค่ะ แต่ว่า หลังจากนั้น ไปเองไม่ถูกแล้วค่ะ ความคิดเห็นที่ 4-109 ฐานาฐานะ, 24 มิถุนายน เวลา 20:35 น. ในช่วงที่ค้นจากอรรถกถาบาลี ก็ค้นหาเล่มของอรรถกถาก่อน โดยดูจากคำว่า มัชฌิมนิกาย ๗ พระสุตตันตปิฎก มชฺฌิมนิกายฏรกถา (ปปญจสูทนี ๑) คลิกอ่าน ๘ พระสุตตันตปิฎก มชฺฌิมนิกายฏรกถา (ปปญจสูทนี ๒) คลิกอ่าน ๙ พระสุตตันตปิฎก มชฺฌิมนิกายฏรกถา (ปปญจสูทนี ๓) คลิกอ่าน เปิดเล่มที่ 7 แล้วดูบรรทัดสุดท้าย จะเห็นว่า อธิบายจบถึงสติปัฏฐานสูตร ด้วยคำว่า สติปฏฺฐานสุตฺตวณฺณนานิฏฺฐิตาฯ เปิดเล่มที่ 8 จะเห็นว่า อธิบายจบถึง มารตชฺชนียสุตฺตวณฺณนา นิฏฺฐิตา หรือมารตัชชนียสูตร จึงเป็นเล่มที่ 8. จากนั้นก็ค้นพระสูตรที่ต้องการ. คำว่า บทว่า "เพื่อรู้แจ้ง ด้วยประการฉะนี้" ความว่า เพื่อประโยชน์รู้แจ้งอย่างนี้. คำว่า บทว่า "เพื่อรู้แจ้ง ด้วยประการฉะนี้" เป็นคำในพระไตรปิฎก ที่อรรถกถากำลังจะอธิบาย ปกติจะเป็นภาษาบาลี แต่ก็อาจเป็นภาษาไทย ในกรณีเป็นภาษาไทย. จากนั้นก็พิจารณาที่เริ่มพระสูตรก็ได้ เพื่อให้คุ้นเคยไว้ก่อน. เมื่อเทียบได้ระหว่างอรรถกถาภาษาไทยและบาลีแล้ว นำคำบาลีไปค้นที่พระไตรปิฎกภาษาบาลี ซึ่งค่อนข้างง่าย เพราะมีการกำหนดเล่มและเลขข้อชัดเจน. ในกรณีคือเล่มที่ 12 ข้อ [๕๓๕]-[๕๓๘] คำว่า (เปิดตามคุณฐานาฐานะค่ะ เพราะไม่ทราบจะใช้คำค้นใด) ตอบว่า บทว่า "เพื่อรู้แจ้ง ด้วยประการฉะนี้" มาจากพระไตรปิฎกดังกล่าวแล้ว เมื่อค้นเป็นอรรถกถาบาลี ก็ค้นในพระไตรปิฎกด้วยคำที่สันนิษฐานไว้ คือ วิญฺญาณายาติ เอวํ วิชานนตฺถาย ซึ่งไล่ค้นแล้วจะเห็นว่า อยู่ในข้อ 536 นั่นเอง. //budsir.mahidol.ac.th/cgi-bin/Budsir.cgi/SearchItem?mode=1&valume=12&item=536&Roman=0 จากนั้นก็นำมาพิจารณาที่พระไตรปิฎกในพระสูตรนั้น ในข้อนั้น. //84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=12&A=9904&Z=9991#536 พอเข้าใจวิธีค้นหรือไม่? ความคิดเห็นที่ 4-110 GravityOfLove, 24 มิถุนายน เวลา 20:48 น. ขอบพระคุณค่ะ วิธีค้นพอจะเข้าใจแล้วค่ะ แต่ยังสันนิษฐานภาษาบาลีไม่ค่อยได้ค่ะ ความคิดเห็นที่ 4-111 ฐานาฐานะ, 24 มิถุนายน เวลา 21:19 น. เป็นอันว่า พระสูตรชื่อว่า มารตัชชนียสูตร จบบริบูรณ์. //84000.org/tipitaka/read/v.php?B=12&A=10287&Z=10458 เป็นอันว่า มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ จบบริบูรณ์. //84000.org/tipitaka/read/?index_12 เนื่องจากพระไตรปิฎกเล่มที่ 12 นี้มีทั้งหมด 50 พระสูตร ใช้เวลา ศึกษานานมากกว่าจะจบบริบูรณ์. ดังนั้น ผมจะฉลองด้วยการใส่บาตรเผื่อคุณ GravityOfLove 2 ครั้ง ขอให้คุณ GravityOfLove นึกรายการอาหารที่ชอบไว้หลายอย่างหน่อย เผื่อว่า ร้านค้าแถวบ้านไม่มีรายการนั้นๆ. ขอถามหน่อยว่า ฉลองครั้งที่แล้วเมื่อใด นานเท่าใด? พระสูตรหลักถัดไป คือกันทรกสูตร [พระสูตรที่ 1]. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๓ พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๕ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ กันทรกสูตร //84000.org/tipitaka/read/v.php?B=13&A=1&Z=302 ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :- //84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=1 อัฏฐกนาครสูตร //84000.org/tipitaka/read/v.php?B=13&A=303&Z=479 ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :- //84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=18 เสขปฏิปทาสูตร //84000.org/tipitaka/read/v.php?B=13&A=480&Z=659 ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :- //84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=24 โปตลิยสูตร //84000.org/tipitaka/read/v.php?B=13&A=660&Z=949 ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :- //84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=36 ชีวกสูตร //84000.org/tipitaka/read/v.php?B=13&A=950&Z=1043 ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :- //84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=56 ความคิดเห็นที่ 10-1 ฐานาฐานะ, 24 มิถุนายน เวลา 21:21 น. เป็นอันว่า พระสูตรชื่อว่า มารตัชชนียสูตร จบบริบูรณ์. //84000.org/tipitaka/read/v.php?B=12&A=10287&Z=10458 เป็นอันว่า มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ จบบริบูรณ์. //84000.org/tipitaka/read/?index_12 เนื่องจากพระไตรปิฎกเล่มที่ 12 นี้มีทั้งหมด 50 พระสูตร ใช้เวลา ศึกษานานมากกว่าจะจบบริบูรณ์. ดังนั้น ผมจะฉลองด้วยการใส่บาตรเผื่อคุณ GravityOfLove 2 ครั้ง ขอให้คุณ GravityOfLove นึกรายการอาหารที่ชอบไว้หลายอย่างหน่อย เผื่อว่า ร้านค้าแถวบ้านไม่มีรายการนั้นๆ. ขอถามหน่อยว่า ฉลองครั้งที่แล้วเมื่อใด นานเท่าใด? พระสูตรหลักถัดไป คือกันทรกสูตร [พระสูตรที่ 1]. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๓ พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๕ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ กันทรกสูตร //84000.org/tipitaka/read/v.php?B=13&A=1&Z=302 ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :- //84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=1 อัฏฐกนาครสูตร //84000.org/tipitaka/read/v.php?B=13&A=303&Z=479 ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :- //84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=18 เสขปฏิปทาสูตร //84000.org/tipitaka/read/v.php?B=13&A=480&Z=659 ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :- //84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=24 โปตลิยสูตร //84000.org/tipitaka/read/v.php?B=13&A=660&Z=949 ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :- //84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=36 ชีวกสูตร //84000.org/tipitaka/read/v.php?B=13&A=950&Z=1043 ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :- //84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=56 ความคิดเห็นที่ 10-2 GravityOfLove, 24 มิถุนายน เวลา 21:37 น. ขอบพระคุณค่ะ เผื่อ ๒ ครั้งเลย ตอนฉลองครั้งแรกด้วยการใส่บาตร คือเมื่อจบทีฆนิกายค่ะ เมื่อประมาณ ๗ เดือนก่อนค่ะ - - - - ความคิดเห็นที่ 63 ระหว่างนึกคำถามชุดต่อไป ขอให้คุณ GravityOfLove นึกรายการอาหารที่ชอบ ผมจะทำการฉลองการจบการอ่านพระไตรปิฎกเล่มที่ 11 และ ทีฆนิกาย ด้วยการใส่บาตรเผื่อคุณ GravityOfLove 2 ครั้ง. รายการอาหารและขนมหวานที่ชอบหลายๆ อย่างหน่อย เผื่อว่า ร้านค้าแถวบ้านจะไม่ได้ทำในวันใส่บาตร. สารบัญพระสุตตันตปิฎก //84000.org/tipitaka/read/?สารบัญพระสุตตันตปิฎก จากคุณ : ฐานาฐานะ เขียนเมื่อ : 1 ต.ค. 55 17:15:24 //topicstock.pantip.com/religious/topicstock/2012/07/Y12425121/Y12425121.html#63 - - - - รายการอาหาร แล้วแต่คุณฐานาฐานะสะดวกจัดหานะคะ ถ้ามีให้เลือกก็ ประเภทของทอดค่ะ เช่น ปลาสลิด ของหวานก็ขนมครกแบบคลาสสิกค่ะ นอกนั้นช่วยเลือกให้ด้วยค่ะ ---------------------------- แล้ว Gravity ฉลองอย่างไรคะ ลืมแล้ว และคุณฐานาฐานะอยากให้ Gravity ฉลองครั้งไหนนะคะ --------------------------- พระสูตรหลักถัดไป ยังไม่ได้อ่านตุนนะคะ เพราะมีความรู้สึกว่า อ่านสดๆ ใหม่ๆ แ้ล้วถามตอบเลยดีกว่า คืนนี้ถ้าไม่มีอะไร ก็จะเริ่มอ่านเลยค่ะ ความคิดเห็นที่ 10-3 ฐานาฐานะ, 24 มิถุนายน เวลา 21:48 น. เมื่อประมาณ ๗ เดือนก่อนค่ะ ประมาณ 8 เดือนกว่าครับ เป็นอันว่า ข้าว คือข้าวสวย กับข้าว คือปลาสลิดทอด ปลาดุกทอด ปลาดุกผัดเผ็ด ขนม คือขนมครกแบบคลาสสิก + น้ำเต้าหู้ร้อนๆ ทรงเครื่อง. แล้ว Gravity ฉลองอย่างไรคะ ลืมแล้ว ความคิดเห็นที่ 94 สาธุค่ะ คุณฐานาฐานะชอบปลาดุกผัดเผ็ดนะคะ Gravity ทำไมไม่นึกจะฉลองใส่บาตรเลยนะ สงสัยจะรอจบ ๔๕ เล่ม เชิญล้างหน้าล้างตาแล้วนอนต่อค่ะ .. .. . จากคุณ : GravityOfLove เขียนเมื่อ : 6 ต.ค. 55 07:30:11 และคุณฐานาฐานะอยากให้ Gravity ฉลองครั้งไหนนะคะ อยากให้ใส่บาตรทุกครั้งที่จบ 1 เล่ม. พระสูตรหลักถัดไป ยังไม่ได้อ่านตุนนะคะ เพราะมีความรู้สึกว่า อ่านสดๆ ใหม่ๆ แล้วถามตอบเลยดีกว่า คืนนี้ถ้าไม่มีอะไร ก็จะเริ่มอ่านเลยค่ะ 9:37 PM 6/24/2013 รับทราบครับ. ความคิดเห็นที่ 10-4 GravityOfLove, 24 มิถุนายน เวลา 21:57 น. คุ้นๆ ว่า คุณฐานาฐานะเคยบอกว่า อยากให้ Gravity ฉลองถ้าจบมัชฌิมนิกายแล้ว แต่ว่า ฉลองใส่บาตรทุกครั้งที่จบแต่ละเล่มก็ได้ค่ะ สำหรับเดือนนี้ รอบการใส่บาตรปกติคือวันอังคารและวันศุกร์ ถ้าจะเพิ่มอีก ๑ ครั้งสำหรับการจบเล่มที่ ๑๒ น่าจะถี่เกินไป ดังนั้น ขอยกยอดไปเดือนหน้านะคะ ความคิดเห็นที่ 10-5 ฐานาฐานะ, 24 มิถุนายน เวลา 22:07 น. รับทราบครับ คำว่า น่าจะถี่เกินไป << ไม่ถี่เกินไปหรอกครับ. ย้ายไปที่ สารบัญ ๑ |
บทความทั้งหมด
|
อ่านลิงค์ที่แนะนำจบแล้วค่ะ
ไม่เข้าใจความเป็นเลิศด้านนี้ค่ะ กรุณาอธิบาย
คือ ท่านเป็นเลิศ ดังนั้นท่านจึงได้สิทธิ์ในการจับสลากก่อนพระรูปอื่นหรือคะ (๓ ครั้ง)
----------------------------
พระกุณฑธานะ เลิศกว่าพวกภิกษุสาวกของเราผู้รับสลากก่อน ฯ
----------------------------
วันรุ่งขึ้นเมื่ออรุณขึ้น จึงตรัสสั่งพระอานนท์ว่า อานนท์ วันนี้เราจะไปภิกษาจาร ณ ที่ไกล จงอย่าให้สลากแก่พระปุถุชน จงให้แก่พระอริยะเท่านั้น.
พระเถระบอกแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ผู้มีอายุ วันนี้พระศาสดาจักเสด็จภิกษาจาร ณ ที่ไกล พระภิกษุปุถุชนจงอย่าจับสลาก พระอริยะเท่านั้นจงจับ.
...
พระศาสดาทรงทำเรื่องนั้นให้เป็นอรรถอุบัติเหตุเกิดเรื่อง จึงทรงสถาปนาพระเถระไว้ในตำแหน่งเป็นยอดของเหล่าภิกษุผู้จับสลากได้ที่ ๑ ในศาสนาแล
//84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=20&&i=148&p=3
----------------------------
แม้พระโกณฑธานเถระตั้งอยู่ในพระโอวาทที่พระศาสดาประทานแล้ว ก็ได้บรรลุพระอรหัตผล, ต่อกาลไม่นานนัก ท่านได้เหาะขึ้นไปในอากาศ จับสลากเป็นครั้งแรก๑- ดังนี้แล.
____________________________
๑- ได้ยินว่า ท่านได้จับสลากได้ที่ ๑ สามครั้ง คือ
เมื่อพระศาสดาจะเสด็จไปสู่อุคคนคร ในกิจนิมนต์ของนางมหาสุภัททา ๑
เมื่อเสด็จไปสู่เมืองสาเกต ในกิจนิมนต์ของนางจุลสุภัททา ๑
เมื่อเสด็จไปสู่สุนาปรันตชนบท ๑
ในกิจนิมนต์เหล่านั้น ต้องการแต่พระขีณาสพล้วนๆ ๕๐๐ องค์.
//84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25&i=20&p=4