พฤศจิกายน 2562

 
 
 
 
 
2
3
4
5
6
7
8
10
11
12
14
15
16
17
18
19
20
22
25
26
28
30
 
All Blog
กระบวนการสปาเกตตี้ กับ การวนไม่มีที่สิ้นสุด

ทุกสรรพสิ่งในโลกนี้ล้วนมีสองด้านและหรือสองสิ่งที่ดึงดูดและผลักกันและกันเข้าหากันเพื่อมีและหรือทำปฏิกิริยาต่อกันสองทิศทางในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน (ดึงดูดและผลักกัน) —-> สิ่งเดียวกันที่ใช่และไม่ใช่สิ่งเดียวกัน (เหรียญหนึ่งอันมีสองด้านคือ หัวและก้อย) —->เวลาเดียวกันที่ใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน (ในเวลาที่เราสังเกตเหรียญจะแสดงคุณสมบัติหัวหรือก้อยอย่างใดอย่างหนึ่ง และในขณะเดียวกันและหรือในทางกลับกันถ้าเราไม่สังเกตเหรียญจะอยู่ในสภาวะกึ่งมีอยู่กึ่งไม่มีอยู่ และจะอยู่ในสถานะมีอยู่และไม่มีอยู่ ซึ่งสถานะของการมีอยู่และไม่มีอยู่นี้จะมีส่วนที่แยกออกไปอีกในแต่ละส่วนของตัวเองและของกันและกันทั้งภายในและภายนอกพร้อมกันและไม่พร้อมกันในเวลาเดียวกันจากสองเป็นสี่เป็นแปดเป็นสิบหกจนถึงหกสิบสี่แล้ววนกลับมาเริ่มต้นกระบวนการใหม่และทำให้เกิดการวนมีที่สิ้นสุดและการวนไม่มีที่สิ้นสุดในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน —-> สิ่งเดียวกันที่ใช่และไม่ใช่สิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน—->เวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน ขอกล่าวย้อนกลับไปที่สถานะของการมีอยู่และไม่มีอยู่ที่จะแยกออกไปในส่วของตัวเองทั้งภายในและภายนอกคือ การมีอยู่จะแยกออกเป็นมีอยู่และไม่มีอยู่ และในขณะเดียวกันการไม่มีอยู่ก็จะแยกออกเป็นไม่มีอยู่และมีอยู่เหมือนกัน และในความเหมือนก็จะแยกออกเป็นความเหมือนและความต่าง และในขณะเดียวกันในความต่างก็จะแยกออกเป็นความต่างและความเหมือนอยู่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน —-> สิ่งเดียวกันใช่และไม่ใช่สิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน—->เวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน ซึ่งความหมายของการมีอยู่และไม่มีอยู่หมายถึง การแสดงคุณสมบัติสองด้านพร้อมกันและไม่พร้อมกันในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน —-> สิ่งเดียวกันใช่และไม่ใช่สิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน—->เวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน=การเคลื่อนของสรรพสิ่งและเวลาจากการหมุนรอบตัวเองและหมุนรอบกันและกันทั้งภายในและภายนอกในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน และเป็นไปตามกฏทางอุณหพลศาสตร์ทั้งสี่ข้อ) โดยระบบควอนตัมที่นักฟิสิกส์ค้นพบกล่าวว่า ควอนตัมจะไม่แสดงคุณสมบัติทั้งสองด้านพร้อมๆกัน ระบบจะแสดงสมบัติด้านใด ก็ขึ้นกับว่า นักทดลองจะทดสอบสมบัติด้านใด เช่น ถ้านักทดลองจัดรูปแบบการทดลองให้ระบบแสดงสมบัติคลื่น ก็จะได้คลื่น และถ้าจัดการทดลองให้ระบบแสดงสมบัติด้านอนุภาค ก็จะได้อนุภาค แต่จริงๆแล้วระบบควอนตัมจะแยกออกตัวเองออกเป็นสองสถานะและสองสภาวะทันที่ที่มีมิติของสรรพสิ่ง (สถานะและสภาวะ) และเวลาเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยคือ ระบบจะแสดงและไม่แสดงคุณสมบัติทั้งสองด้านพร้อมๆกันในเวลาเดียวกัน—-> เวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกันความหมายคือ ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน (หนึ่งเหรียญจะมีสองด้าน) เหรียญจะแสดงคุณสมบัติทั้งสองด้านพร้อมๆกันในเวลาเดียวกันคือ ด้านบนและด้านล่าง และเหรียญจะไม่แสดงคุณสมบัติทั้งสองด้านพร้อมๆกันในเวลาเดียวกันคือ เมื่อเรามองจากด้านบนเราจะเห็นเฉพาะด้านบนเท่านั้น ถ้าเราต้องการเห็นด้านล่างเราจะต้องทำการกลับด้านของเหรียญ และเมื่อเรากลับด้านของเหรียญจากบนลงล่างเพื่อทำให้เราได้เห็นเหรียญด้านล่างทั้งสถานะและสภาวะ+เวลาของเหรียญเปลี่ยนไปทันที่คือ สถานะและสภาวะของตัวเหรียญเองจากบนเป็นล่าง และสถานะและสภาวะของเหรียญจากเวลาที่เปลี่ยนไปในเวลาที่เราได้เห็นเหรียญด้านล่างเวลาก็จะเคลื่อนที่ออกจากเวลาแรกที่เราได้เห็นเหรียญด้านบน แต่ในขณะเดียวกันถ้าเราไม่มองเหรียญว่าเป็นด้านบนหรือด้านล่างเหรียญก็จะอยู่ในสภาวะกึ่งหัวกึ่งก้อย หรือ กึ่งมีอยู่กึ่งไม่มีอยู่ และอยู่ในสถานะมีอยู่และไม่มีอยู่ หรือสถานะหัวและก้อย สิ่งที่ทำให้ Einstein และ Bohr มีความเห็นไม่ตรงกันในเรื่องธรรมชาติของระบบควอนตัม และออกมาโต้แย้งคัดค้านเหตุผลของกันและกัน โดยในที่สุด Einstein เป็นฝ่ายยอมแพ้ให้กับหลักความไม่แน่นอนของ Bohr นั้นมาจากสองสิ่งด้วยกันคือ 1. เป็นการโต้แย้งคัดค้านระหว่างสถานะและสภาวะที่ตัวของ Einstein เองยืนอยู่บนฝั่งของสถานะและสภาวะที่ตัวของ Einstein เดินจากมา ซึ่งจะมีสองด้านคือ มีสถานะของความใช่และไม่ใช่/แน่นอนและไม่แน่นอน และมีสภาวะกึ่งใช่กึ่งไม่ใช่และ กึ่งแน่นอนกึ่งไม่แน่นอน ส่วน Bohr จะยืนอยู่บนฝั่งของสถานะและสภาวะที่ Bohr ยืนอยู่ ซึ่งจะมีสองด้านเช่นกันคือ มีสถานะของความใช่และไม่ใช่/แน่นอนและไม่แน่นอน และมีสภาวะกึ่งใช่กึ่งไม่ใช่ และกึ่งแน่นอนกึ่งไม่แน่นอน ดังนั้นหลักความไม่แน่นอนของ Bohr จึงมาจากการตัดสินใจเลือกข้างความน่าจะเป็นระหว่างสถานะแน่นอนและไม่แน่นอน และมาจากการตัดสินใจเลือกข้างความน่าจะเป็นระหว่างสภาวะกึ่งแน่นอนกึ่งไม่แน่นอน การที่ Bohr ได้ทำการตัดสินใจเลือกว่าจะยืนอยู่ด้านไหนของสถานะและสภาวะก็เป็นเลือกสองระดับสองทางคือ เป็นการเลือกโดยเลือกและเป็นการเลือกโดยไม่ได้เลือกความหมายคือ ทุกสรรพสิ่งจะมีทางแยกอยู่สองทางคือ ทางที่เป็นของตัวเองและทางที่เป็นของกันและกัน ซึ่ง่ทางที่ทุกสรรพสิ่งเลือกเป็นอันดับแรกเสมอคือ เลือกทางที่เป็นของตัวเอง ซึ่งการเลือกดังกล่าวจะเท่ากับเป็นการเลือกโดยไม่ได้เลือก หรือในอีกความหมายหนึ่งคือ การเลือกของ Bohr จะมาจากความน่าจะเป็นสองทางคือ 1. เลือกมาจากจุดที่ Bohr ยืนอยู่ 2. เลือกมาจากจุดที่ Bohr เดินจากมา ซึ่งความน่าจะเป็นระหว่างสองข้อจะยุบลงเหลือหนึ่งข้อทันทีที่มีการเลือก และถ้าเรามองย้อนกลับไปที่มาก่อนหน้าคือ ทุกสรรพสิ่งจะเลือกทำมาจากจุดที่เรายืนอยู่ก่อนเสมอ และถ้าเรามองย้อนกลับไปก่อนหน้าของก่อนหน้าเราจะเห็นว่า Bohr มีทางเลือกอยู่สองทางสองระดับคือ ทางที่เป็นของตัวเองและทางที่เป็นของกันและกัน และระดับของการเลือกโดยเลือกและเลือกโดยไม่ได้เลือก ซึ่งเมื่อ Bohr เลือกทางที่เป็นของตัวเองจะเท่ากับ Bohr เลือกระดับของการเลือกโดยไม่ได้เลือกทันทีโดยอัตโนมัติ และในทางกลับกันถ้า Bohr เลือกทางที่เป็นของกันและกันจะเท่ากับ Bohr เลือกระดับของการเลือกโดยการเลือกทันทีโดยอัตโนมัติ ซึ่งเป็นไปตามอุณหพลศาสตร์ของกฏข้อที่หนึ่งที่ว่าด้วยสถานะ/กฏการอนุรักษ์พลังงาน และกฏข้อที่ศูนย์ที่ว่าด้วยสภาวะสมดุลย์ทางอุณหพลศาสตร์ และเป็นไปตามหลักการทำงานตามธรรมชาติของแรงโน้มถ่วงและแรงไทดัลที่ทุกสรรพสิ่งจะต้องปฏิบัติ/ทำตามทางเลือกข้อหนึ่งก่อนเสมอ และหลังจากที่เราปฏิบัติ/ทำตามทางเลือกข้อที่หนึ่งไปแล้วเราสามารถที่จะเลือกที่จะปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติ/ทำหรือไม่ทำตามทางเลือกข้อหนึ่งได้ ซึ่งนี่คือส่วนหนึ่งของความหมายของคำว่า ใช่หรือไม่ใช่ ได้หรือไม่ได้ ทำหรือไม่ทำ สามารถหรือไม่สามารถ แน่นอนหรือไม่แน่นอน รุ้หรือไม่รู้เป็นต้นเท่านั้น ซึ่งในระดับควอนตัมความหมายของคำเหล่านี้ยังมีส่วนที่แยกออกไปอีกมากมาย

ขอย้อนกลับมาทางที่ Einstein เลือกที่จะเป็นฝ่ายยอมแพ้ให้กับหลักความไม่แน่นอนของ Bohr การที่ Einstein เลือกที่จะเป็นฝ่ายยอมแพ้ให้กับหลักความไม่แน่นอนของ Bohr ก็เนื่องจากสถานะและสภาวะที่ตัวของ Einstein เองยืนอยู่บนฝั่งของสถานะและสภาวะที่ตัวของ Einstein เดินจากมา (การนำเอาอนาคตมาทำให้เป็นปัจจุบัน) ความหมายในระดับควอนตัมการเดินจากมาจะแยกออกเป็นสองส่วนคือ มีส่วนหนึ่งเดินจากมา (การนำเอาอนาคตมาทำให้เป็นปัจจุบัน) และมีส่วนหนึ่งไม่ได้เดินจากมา (ยังอยู่ที่เดิม/อยู่กับอดีต) ซึ่งเป็นไปตามหลักการทำงานของอนุภาคและคลื่น ส่วนที่เดินจากมา หรืออีกความหมายหนึ่งคือ ส่วนของความคิด-ความรู้สึก และ ส่วนที่ไม่ได้เดินจากมา (ยังอยู่ที่เดิม) คือส่วนของความรู้สึก-ความคิด หรือที่ Einstein เรียกว่า ส่วนของสามัญสำนึก/จิตสำนึก และเมื่อ Einstein นำเอาส่วนที่ไม่ได้เดินจากมา (ยังอยู่ที่เดิม/อยู่กับอดีต) หรืออีกความหมายหนึ่งคือ ส่วนของความรู้สึก-ความคิด หรือที่ Einstein เรียกว่า ส่วนของสามัญสำนึก/จิตสำนึก ขึ้นมาแสดงความคิดเห็นโต้แย้งคัดค้านลักความไม่แน่นอนของ Bohr ทำให้ความน่าจะเป็นที่จะเป็นผู้ชนะหรือผู้แพ้ของ Einstein ยุบหายไปหนึ่งทางและคงเหลือไว้ซึ่งทางแห่งความเป็นผู้พ่ายแพ้ทันทีเท่านั้น แต่ถ้าหาก Einstein สามารถเปลี่ยนสถานะและสภาวะของส่วนที่ไม่ได้เดินจากมา (ยังอยู่ที่เดิม/อยู่กับอดีต) หรืออีกความหมายหนึ่งคือ ส่วนของความรู้สึก-ความคิด หรือที่ Einstein เรียกว่า ส่วนของสามัญสำนึก/จิตสำนึก ให้ไปอยู่ในส่วนที่เดินจากมา (การนำเอาอนาคตมาทำให้เป็นปัจจุบัน) หรืออีกความหมายหนึ่งคือ ส่วนของความคิด-ความรู้สึก เหมือนกับที่ Einstein ได้สร้างสมการที่ทำให้ Einstein โด่งดังมีชื่อเสียงก่อนหน้า Einstein ก็จะสามารถเปลี่ยนสถานะและสภาวะจากผู้แพ้มาเป็นผู้ชนะได้ แต่การจะเปลี่ยนสถานะและสภาวะจากผู้แพ้มาเป็นผู้ชนะได้นั้นสิ่งที่ Einstein (ทุกสรรพสิ่ง) จะต้องทำมีสองทางสองระดับคือ ทำให้ตัวของ Einstein เองตายจากความรู้สึก และไปเกิดใหม่ทางความคิด และนำความคิดที่เกิดใหม่นั้นไปยกระดับและขยายกรอบ (การนำเอาอนาคตมาทำให้เป็นปัจจุบัน) If you want to escape from your cage, you must die while you are alive ซึ่งกระบวนการเกิดและตายนี้จะแยกออกเป็นสองทางคือ ทางกายภาพและทางชีวภาพ (ความคิด-ความรู้สึก และหรือความรู้สึก-ความคิด) ซึ่งทั้งสองทางก็จะมีส่วนที่แยกออกไปภายในและภายนอกตัวเองและภายในและภายนอกกันและกัน ไปเรื่อยๆ หรือที่เรียกว่า กระบวนการสปาเกตตี้

ทุกสถานะทุกสภาวะและทุกการกระทำของคนเราไม่ว่าจะเป็นสถานะสภาวะและการกระทำของผู้เขียน ผู้อ่าน และผู้แสดงและไม่แสดงความคิดเห็นจะมีทางแยกออกเป็นสองทางสองระดับภายในและภายนอกตัวเองและภายในและภายนอกกันและกันคือ ความมีค่ามีความหมายและไม่มีค่าไม่มีความหมาย และระดับของความมีค่ามีความหมายและระดับของความไม่มีค่าไม่มีความหมาย หรือนัยอีกความหมายหนึ่งที่ง่ายกว่าคือ อดีต-อนาคต ทุกเหตุการณ์ทุกสถานการณ์ทั้งตัวเราและผู้อื่นจะมีทั้งอดีตและอนาคตของตัวเราเองและมีทั้งอดีตและอนาคตของผู้อื่น/กันและกัน ซึ่งตามหลักการเติมเต็ม (complementarity principle) เราจะมองเห็นในสิ่งที่เรามีอยู่/เป็นอยู่ก่อนเสมอ และถ้าเรายังไม่เปลี่ยนจุดยืนของการมองเห็นเราก็จะมองเห็แต่สิ่งที่เรามีอยู่/เป็นอยู่ ซึ่งเป็นไปตามหลักการทางควอนตัมที่กล่าวว่า ถ้าเราสังเกตคลื่นเราก็จะมองเห็นคลื่น ถ้าเราสังเกตอนุภาคเราก็จะเห็นอนุภาค ดังนั้นเราจำเป็นต้องทำการสังเกตทั้งสองทางคือ ทั้งของตัวเราเองและของผู้อื่น ซึ่งจะทำให้เราได้เห็นทางเชื่อมที่ซ่อนอยู่ระหว่างตัวเราและผู้อื่น/กันและกัน หรือจงอยู่และอย่าอยู่ในสิ่งที่ตัวเรามีอยู่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน ซึ่งทางเชื่อมที่ซ่อนอยู่จะแยกออกเป็นสองทางคือ อดีต-อนาคต สองระดับคือ ระดับของความกว้าง ยาว สูง(ลึก) และเวลาของการเดินเข้า-เดินออก



Create Date : 24 พฤศจิกายน 2562
Last Update : 24 พฤศจิกายน 2562 13:15:06 น.
Counter : 474 Pageviews.

0 comments
ชื่อ :
Comment :
 *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

สมาชิกหมายเลข 3784113
Location :
  

[ดู Profile ทั้งหมด]
 ฝากข้อความหลังไมค์
 Rss Feed
 Smember
 ผู้ติดตามบล็อก : 5 คน [?]



จุกมุ่งหมายคือ การรู้แจ้งเห็นจริงในฐานะมนุษย์ปุถุชนคนธรรมดาคนหนึ่ง

There is no way to happiness, happiness is the way.

การปิดทองหลังพระ ถ้าเราไม่หยุดปิด วันหนึ่งทองก็จะล้นมาด้านหน้าพระเอง

คำพูดที่ปราศจากการกระทำนั้นได้ตายไปแล้ว