มิถุนายน 2562

 
 
 
 
 
 
1
2
3
4
6
7
8
9
11
12
13
14
16
17
18
19
20
22
23
24
25
26
28
30
 
 
All Blog
แรง/ความโน้มถ่วง กับ สภาวะกึ่งเป็นกึ่งตาย
อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ เสนอว่าวัตถุที่อยู่ในสนามความโน้มถ่วงเดียวกัน จะตกอย่างอิสระด้วยอัตราเร่งเท่ากัน ไม่ว่าจะมีมวลเท่าใดก็ตาม ซึ่งหลักการนี้เคยมีการทดสอบมาแล้วในช่วงปลายศตวรรษที่ 15 โดยกาลิเลโอปล่อยวัตถุที่มีน้ำหนักต่างกันจากบนหอเอนเมืองปิซา และพบว่าวัตถุทั้งสองตกถึงพื้นพร้อมกัน ข้อเสนอของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์มีความใช่และไม่ใช่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน ใช่คือใช่ ไม่ใช่คือไม่ใช่ ใช่คือไม่ใช่และไม่ใช่คือใช่ เนื่องจากวัตถุตกอย่างอิสระและไม่ได้ตกอย่างอิสระในสนามความโน้มถ่วงเดียวกันในเวลาเดียวกัน สนามความโน้มถ่วงเดียวกันใช่และไม่ใช่ในสนามความโน้มถ่วงเดียวกันในเวลาเดียวกัน ความหมายของคำว่า "วัตถุตกอย่างอิสระและไม่ได้ตกอย่างอิสระ" มีความหมายแยกออกเป็น4สถานะที่มีทั้งการซ้อนทับกันภายในของตัวสถานะเองและมีทั้งการพัวพันกันระหว่างตัวของภายในสถานะเองในเวลาเดียวกันดังนี้คือ อิสระคืออิสระ ไม่อิสระคือไม่อิสระ อิสระคือไม่อิสระและไม่อิสระคืออิสระ หรือในอีกความหมายหนึ่งคือคำว่า "อิสระ" มีความหมายที่ซ่อนหรือซ้อนทับอยู่ภายในตัวเองคืออิสระคืออิสระ ไม่อิสระคือไม่อิสระ และมีความหมายที่พัวพันอยู่ภายในตัวเองคือ อิสระคือไม่อิสระและไม่อิสระคืออิสระ และคำว่า "ไม่อิสระ" มีความหมายที่ซ่อนหรือซ้อนทับอยู่ภายในตัวเองคือไม่อิสระคือไม่อิสระ อิสระคืออิสระ และมีความหมายที่พัวพันอยู่ภายในตัวเองคือ ไม่อิสระคืออิสระและอิสระคือไม่อิสระ ซึ่งใน4สถานะที่มีความซ้อนทับและมีความพัวพันกันอยู่สามารถทำให้ลดลงโดยการแยกออกเป็นสองสถานะ และในขณะเดียวกันและหรือในทางกลับกันในสองสถานะที่ลดลงก็สามารถทำให้เพิ่มขึ้นเป็น4สถานะและหรือ8,16,32 ตามลำดับขึ้นไปเรื่อยๆได้ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกันเมื่อสิ่งนั้นยังไม่ได้รับการแก้ไข และในขณะเดียวกันและหรือในทางกลับกันในสองสถานะที่ลดลงก็สามารถทำให้ลดลงเหลือ1สถานะได้อีก ซึ่งการลดลงเหลือ1สถานะจะหมายถึง 1สถานะและไม่ได้หมายถึง1สถานะในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน ซึ่งเป็นไปตามสภาวะกึ่งเป็นกึ่งตายที่เรียกว่า Quantum Superposition

ความหมายเพิ่มเติมคือ วัตถุตกอย่างอิสระด้วยตัวของวัตถุเองและวัตถุไม่ได้ตกอย่างอิสระด้วยตัวของวัตถุเองในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน สิ่งเดียวกันใช่และไม่ใช่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกันและในเวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่ในเวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน=การยืดและหดตัวระหว่างช่องว่างและเวลา (space and time) สิ่งที่เราเห็นเป็นและไม่เป็น มีและไม่มี อยู่และไม่อยู่ จริงและไม่จริง ใช่และไม่ใช่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกันเช่นเดียวกันกับความคิดความรู้สึกและการกระทำของเราที่เกิดจากความคิดความรู้สึกและการกระทำของเราเองและไม่ได้เกิดจากความคิดความรู้สึกและการกระทำของเราเองในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน สิ่งเดียวกันใช่และไม่ใช่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกันและในเวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่ในเวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน คำว่า "เกิดจากและไม่ได้เกิดจาก" = สภาวะกึ่งเป็นกึ่งตายที่เรียกว่า Quantum Superposition เกิดจากและไม่ได้เกิดจากภายในตัวเองและภายในกันและกันที่อยู่ภายใต้สภาวะกึ่งเป็นกึ่งตาย

โลกและมนุษย์จะมีความมี/เป็น/อยู่และความไม่มี/ไม่เป็น/ไม่อยู่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน สิ่งเดียวกันใช่และไม่ใช่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกันและในเวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่ในเวลาเดียวกันในเวลาเดียวกันร่วมกันและไม่ร่วมกัน ซึ่งความหมายของการมีร่วมกันและไม่ร่วมกันหมายถึง โลกเป็นเช่นไรมนุษย์ก็เป็นเช่นนั้นและไม่ได้เป็นเช่นนั้นในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน และในขณะเดียวกันและหรือในทางกลับกันมนุษย์เป็นเช่นไรโลกก็เป็นเช่นนั้นและไม่ได้เป็นเช่นนั้นในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน ความมี/เป็น/อยู่และความไม่มี/ไม่เป็น/ไม่อยู่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกันระหว่างโลกและมนุษย์คือ ส่วน/สิ่งที่ให้อำนาจและไม่ให้อำนาจให้กับโลกและมนุษย์ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกันความหมายคือ โลกสามารถสร้างและทำลายมนุษย์ได้ และในขณะเดียวกันและหรือในทางกลับกันมนุษย์ก็สามารถสร้างและทำลายโลกได้ ซึ่งการสร้างและทำลายของโลกใช่และไม่ใช่การสร้างและทำลายของโลกในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน และในขณะเดียวกันและหรือในทางกลับกันการสร้างและทำลายของมนุษย์ใช่และไม่ใช่การสร้างและทำลายของมนุษย์ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน โลกเกิดและไม่เกิด ตายและไม่ตายในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกันมนุษย์ก็เช่นเดียวกัน

แรง/ความโน้มถ่วงมีแรงเดียวและไม่ได้มีแรงเดียวในเวลาเดียวกัน คำว่า "มีแรงเดียว" กับคำว่า "ไม่ได้มีแรงเดียว" มีความหมายแยกเป็น4สถานะภายในตัวเองและภายในกันและกันดังที่กล่าวไปแล้วข้างต้น ดังนั้นวัตถุจึงอยู่ในสนามความโน้มถ่วงเดียวกันและไม่ได้อยู่ในสนามความโน้มถ่วงเดียวกันในเวลาเดียวกัน คำว่า อยู่ มีความหมายในสองสถานะคือ อยู่และไม่อยู่ และภายในสองสถานะมีความหมายที่ซ้อนทับและพัวพันซ่อนอยู่ภายในตัวเองอีกสี่สถานะคือ อยู่คืออยู่ ไม่อยู่คือไม่อยู่ อยู่คือไม่อยู่และไม่อยู่คืออยู่ และในขณะเดียวกันและหรือในทางกลับกันคำว่า ไม่อยู่ ก็มีความหมายในสองสถานะคือ ไม่อยู่และอยู่ และภายในสองสถานะมีความหมายที่ซ้อนทับและพัวพันซ่อนอยู่ภายในตัวเองอีกสี่สถานะคือ ไม่อยู่คือไม่อยู่ อยู่คืออยู่ ไม่อยู่คืออยู่และอยู่คือไม่อยู่

จะเห็นได้ว่าภายใต้หลักการซ้อนทับ (superposition principle) และความพัวพัน (entanglement) จะมีทั้งการซ้อนทับและไม่ซ้อนทับ ความพัวพันและไม่พัวพันอยู่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน ซึ่งเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นภายในตัวเองและภายในกันและกันที่อยู่ภายในตัวเองดังตัวอย่างที่เราทราบกันคือ ความแน่นอนคือความแน่นอน ความไม่แน่นอนคือความไม่แน่นอน ความไม่แน่นอนคือความแน่นอนและความแน่นอนคือความไม่แน่นอน ทฤษฏีของความแน่นอนและไม่แน่นอนนี้คือ ส่วน/สิ่งที่มีอยู่ในทุกเหตุการณ์ของชีวิตและหรือของโลกที่เริ่มต้นจากการซ้อนทับของเหตุการณ์และนำไปสู่การพัวพันกันของเหตุการณ์ ซึ่งหลักการซ้อนทับ (superposition principle) และความพัวพัน (entanglement) นี้จะดำรงและหรือคงอยู่ตลอดไป แต่การดำรงอยู่และหรือคงอยู่ของหลักการนี้สามารถทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโดยไม่เปลี่ยนแปลงได้ ซึ่งความหมายของการเปลี่ยนแปลงโดยไม่เปลี่ยนแปลงหมายถึง เปลี่ยนแปลงโดยการนำเอาความคิดความรู้สึกและการกระทำของเราเข้าไปทำการรับรู้และทำความเข้าใจในหลักการ โดยไม่นำเอาความคิดความรู้สึกและการกระทำของเราเข้าไปทำการเปลี่ยนแปลงหลักการ แต่นำเอาความคิดความรู้สึกและการกระทำของเราเข้าไปทำการเปลี่ยนแปลงสิ่งที่อยู่ภายใต้หลักการและหรือสิ่งที่อยู่ภายใต้สภาวะกึ่งเป็นกึ่งตาย ยกตัวอย่างง่ายๆคือ ความพยายามในการยึดติดอยู่กับความมี/เป็น/อยู่ทางความคิดความรู้สึกและการกระทำของตัวเองโดยความรู้ความเข้าใจที่ตัวเรามีอยู่โดยไม่รู้ว่าการยึดติดอยู่กับความมี/เป็น/อยู่ทางความคิดความรู้สึกและการกระทำของตัวเอง=การยึดติดอยู่กับความไม่มี/ไม่เป็น/ไม่อยู่ทางความคิดความรู้สึกและการกระทำของตัวเอง ซึ่งความพยายามในการยึดติดนี้สามารถเกิดขึ้นได้ภายใต้สภาวะกึ่งเป็นและภายใต้สภาวะกึ่งตาย แต่จะมีแรงยึดเหนี่ยว/แรงเหนี่ยวนำ+แรงต้านที่ไม่เท่ากันซึ่งเป็นผลสืบเนื่องโดยทางตรงและโดยทางอ้อมจากการกระทำของแรง/ความโน้มถ่วง ความหมายคือ เมื่อเราไม่เดินออกจากจุดเริ่มต้นเราก็ไม่สามารถเดินไปถึงจุดหมายปลายทางได้ เนื่องจากความมี/เป็น/อยู่และความไม่มี/ไม่เป็น/ไม่อยู่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน=สภาวะกึ่งเป็นกึ่งตายที่เรียกว่า Quantum Superposition

*แรง/ความโน้มถ่วงก็มีสถานะอยู่ในสภาวะกึ่งเป็นกึ่งตายที่เรียกว่า Quantum Superposition ซึ่งภายใต้สภาวะกึ่งเป็นกึ่งตายจะมีทั้งการซ้อนทับและการไม่ซ้อนทับ ความพัวพันและความไม่พัวพันในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกันเช่นเดียวกันกับโลกและมนุษย์
*แรง/ความโน้มถ่วงเป็นแรงที่กระทำต่อการเกิด การตาย ความคิดอารมณ์ความรู้สึกและการกระทำ ความรัก การทำมาหาเลี้ยงชีพ การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยี่โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาหุ่นยนต์AI หรือปัญญาประดิษฐ์



Create Date : 21 มิถุนายน 2562
Last Update : 21 มิถุนายน 2562 10:18:58 น.
Counter : 395 Pageviews.

0 comments
ชื่อ :
Comment :
 *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

สมาชิกหมายเลข 3784113
Location :
  

[ดู Profile ทั้งหมด]
 ฝากข้อความหลังไมค์
 Rss Feed
 Smember
 ผู้ติดตามบล็อก : 5 คน [?]



จุกมุ่งหมายคือ การรู้แจ้งเห็นจริงในฐานะมนุษย์ปุถุชนคนธรรมดาคนหนึ่ง

There is no way to happiness, happiness is the way.

การปิดทองหลังพระ ถ้าเราไม่หยุดปิด วันหนึ่งทองก็จะล้นมาด้านหน้าพระเอง

คำพูดที่ปราศจากการกระทำนั้นได้ตายไปแล้ว