" เรื่องราวต่างๆเป็นดั่งทองคำในเทพนิยาย เมื่อคุณแจกจ่ายไปมากขึ้น คุณก็ได้รับกลับมามากขึ้น " พอลลี แมคไกวร์
Group Blog
 
 
กันยายน 2552
 12345
6789101112
13141516171819
20212223242526
27282930 
 
25 กันยายน 2552
 
All Blogs
 
008. เข้าร่วมฟัง "สถานการณ์ และ แนวโน้มเศรษฐกิจภาคเหนือตอนบน"

"สถานการณ์ และ แนวโน้มเศรษฐกิจภาคเหนือตอนบน"

จัดโดย สำนักงานประชาสัมพันธ์เขต 3 กรมประชาสัมพันธ์
ณ. ห้องประชุมสำนักงานประชาสัมพันธ์เขต 3




1584."สถานการณ์ และ แนวโน้มเศรษฐกิจภาคเหนือตอนบน"



วิทยากรบรรยายพิเศษ คือ

1. คุณ สมศักดิ์ วงศ์ปัญญาถาวร
ผู้บริหารส่วน ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานภาคเหนือ

2. คุณ ณรงค์ คองประเสริฐ
ประธานกรรมการ หอการค้าจังหวัดเชียงใหม่





1.
คุณ สมศักดิ์ วงศ์ปัญญาถาวร
ผู้บริหารส่วน
ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานภาคเหนือ เป็นผู้เริ่มต้นบรรยาย



2.
ประเด็นนำเสนอ

: ทิศทางเศรษฐกิจไทย
: โครงสร้าง และ ภาวะเศรษฐกิจภาคเหนือ
: โอกาส และ ความท้าทายของภาคเหนือ


3.
ทิศทางเศรษฐกิจไทยจะเป็นอย่างไร

: ระยะสั้น - แนวโน้มเศรษฐกิจจะฟื้น หรือ ไม่
: ระยะยาว - จะฟื้นได้แข็งแรงแค่ไหน


4.
คำถามสำคัญที่ทุกคนต้องการคำตอบ

: เศรษฐกิจถึงจุดต่ำสุดหรือยัง
: เศรษฐกิจฟื้นหรือยัง
: เศรษฐกิจจะพื้นตัวเข้มแข็งหรือไม่





1582.

6.
วิกฤตเศรษฐกิจรอบนี้ เกิดขึ้นหลังวัฏจักรการขยายตัวที่ยาวนานมากของเศรษฐกิจโลก




1583.



7.
เมื่อเกิดวิกฤต ประเทศต่างๆเร่งผ่อนคลายนโยบายการเงินการคลัง เืพื่อช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจ

:ในช่วงที่ผ่านมา หลายประเทศปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงอย่างรวดเร็ว และ ในขนาดที่รุนแรงกว่าปกติ




1587.





1585.





1586.


8.
จากการที่ทุกประเทศรีบออกมาตรการรองรับ เศรษฐกิจโลกเริ่มมีเสถียรภาพ

- เศรษฐกิจของสหรัฐฯ เริ่มมีเสถียรภาพ แต่ยังคงมีความเปราะบาง ภาระหนี้ของภาคครัวเรือนจากการที่ราคาที่อยู่อาศัยตกไปมาก excess ในระบบเศรษฐกิจจากภาวะฟองสบู่ ความเสียงจากภาคการธนาคาร

- เศรษฐกิจยุโรป และ ญี่ปุ่นยังอ่อนแอ ฟื้นตัวช้ากว่าสหรัฐฯ โดยมีความเสี่ยงจากภาคการธนาคาร และ ยุโรปตะวันออกที่กู้ยืมจำนวนมากจากยุโรปตะวันตก

- เศรษฐกิจเอเชียมีแนวโน้มฟื้นตัวเร็วกว่าภูมิภาคอื่น เพราะไม่ได้มีปัญหาสถาบันการเงิน แต่พึ่งพาอุปสงค์จากต่างประเทศสูงต้องเร่งหา source of growth ใหม่


9.
การปรับตัวของเศรษฐกิจ





12.
ภาวะเศรษฐกิจโลกจะถดถอยนานและลึกเท่าใดนั้น ขึ้นอยู่กับการฟื้นตัวของเศรษฐกิจในกลุ่ม G3 โดยเฉพาะสหรัฐ





1590.


13.
IMF มองว่าเศรษฐกิจโลกจะตกต่ำลงมากในปี 2009 และ ฟื้นตัวในปี 2010 จากแรงกระตุ้นด้านการคลังเป็นสำคัญ





ภาพประกอบไม่เกี่ยวกับเนื้อเรื่องจาก: thaicycling.com


14.
ทางสามแพร่งของเศรษฐกิจโลก

:1. แก้ไขปัญหาได้ดีมาก V shape จบปีนี้
:2. แก้แบบขอไปที ไม่เบ็ดเสร็จ U ลากยาว หรือ W
:3. แก้แบบแย่มาก ปัญหาลุกลาม Great Depression


15.
=> วิกฤตเศรษฐกิจโลก ==>> เศรษฐกิจไทย


16.

ช่องทางสำคัญ 7 ด้าน
1. ตลาดหุ้น และ ตลาดการเงิน
2. Commodities Prices
3. การส่งออก และ การท่องเที่ยว
4. Layoff and Corporate Restructuring บ.แม่ ในต่างประเทศ
5. มูลค่าของเงินลงทุนในต่างประเทศ
6. ดอกเบี้ยเงินกู้ในต่างประเทศ และ สภาพคล่องในไทย
7. ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคและนักธุรกิจ

=> คลื่น 4 ลูก
1. ราคาหุ้น วัตถุดิบ
2. การส่งออก และ ภาคการผลิต
3. การใช้จ่ายในประเทศ
4. การเก็งกำไรรอบใหม่


17.
ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 เศรษฐกิจไทยใช้เวลา 4 ปี ฟื้นตัวมาอยู่ในระดับก่อนวิกฤต

18.
เศรษฐกิจส่วนกลางฟื้นตัวเร็วกว่าเพียง 1-3 ปี

19.
ขณะที่เศรษฐกิจภาคเหนือใช้เวลาฟื้นตัว 5 ปี

20.
ประเด็นสำคัญที่ต้องเข้าใจ

: เศรษฐกิจไทยยากจะฟื้นตัวอย่างเข้มแข็งได้ ถ้าโลกไม่ฟื้น
: แต่การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก จะใช้เวลา มีความเสี่ยงมาก

=> ข้อสรุป

: การฟื้นตัวไทยจะเกิดขึ้นช้าๆ
: แต่ ยังตายใจไม่ได้

ข่าวดี
:เมื่อเริ่มฟื้น ประเทศไทยและเอเชียจะดีกว่าประเทศอื่นๆ เพราะเราไม่ได้มีปัญหา Balance Sheet ที่จะต้องแก้ไข


21.
ประเทศไทยอยู่ในฐานะที่ดี ที่จะรับผลกระทบครั้งนี้

22.
ข้อสรุปจาก ข้อมูลล่าสุดของเศรษฐกิจไทย ผ่านฝันร้ายไปแล้ว

(ขึ้นอยู่กับนิยาม : เศรษฐกิจฟื้นตัว)


23.
เศรษฐกิจไทยเริ่มมีสัญญานบวก

(สคช.คาดว่าเศรษฐกิจไทยปี 2552 จะขยายตัวร้อยละ -3.5 ถึง -3 เทียบกับร้อยละ 2.6 ในปี 2551)

***หมายเหตุ***
Moonfleet การที่เศรษฐกิจขยายตัวติดลบน้อยลง คือ -3.5 ถึง -3 เมื่อเทียบกับร้อยละ 2.6 ในปี 2551 จะเรียกว่ามีสัญญานบวกไ้ด้อย่างไร ?
งง?


24.
ข้อมูลเศรษฐกิจของประเทศเดือนกรกฎาคม 2552

:ด้านอุทาน เครื่องชี้ทุกตัวของการผลิตทั้งในภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตร และ ภาคการท่องเที่ยว ปรับตัวดีขึ้นจากเดือนก่อน

25.
ข้อมูลเศรษฐกิจของประเทศเดือนกรกฏาคม 2552

:ด้านอุปสงค์ การอุปโภคบริโภค การลงทุนภาคเอกชน และ การส่งออก ก็ปรับตัวดีขึ้นจากเดือนก่อนหน้าเช่นเดียวกัน ยกเว้นการนำเข้าที่หดตัวในทุกหมวดสินค้า





1588.


26.
ภาวะเศรษฐฏิจในเดือนกรกฏาคม 2552 ปรับตัวดีขึ้นจากเดือนก่อน

27.
เสถียรภาพในประเทศอยู่ในเกณฑ์ดี อัตราเงินเฟ้อและการจ้างงานยังอยู่ในระดับต่ำต่อเนื่อง





1590.


28.
ธปท ปรับการประเมินภาพเศรษฐกิจเพราะว่า Q1 ออกมาต่ำกว่าที่คาด


***โประใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ***
:เพราะว่า Q1 ออกมาต่ำกว่าที่คาด


29.
ประเด็นนำเสนอ




30.
อัตราการเติบโตของเศรษฐกิจไทย และ ภูมิภาค

31.
ขนาดเศรษฐกิจจำแนกตามภูมิภาค

32.
โครงสร้างเศรษฐกิจภาคเหนือกระจายตัวดี

33.
ผลกระทบโดยตรงจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกต่อการส่งออกภาคเหนือไม่สูงนักเมื่อเทียบกับประเทศ

34.
ลำพูนได้รับผลกระทบโดยตรงจากการชะลอตัวของการส่งออกมากที่สุด

35.
ผลผลิตอุตสาหกรรมมีการปรับตัวขึ้นมากจากเดือนก่อน

36.
ผลผลิตอุตสาหกรรมมีการปรับตัวขึ้นมากจากเดือนก่อน


37.
การผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ และ การแปรรูปผัก/ผลไม้ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมการผลิตสำคัญของภาคเหนือ ปรับตัวดีขึ้นในช่วงไตรมาส 2/2552

38.
แนวโน้มการลงทุนในระยะต่อไปจากเงินลงทุนที่ได้รับการอนุมัติส่งเสริมจาก BOI

39.
การส่งออกปรับตัวดีขึ้นในช่วงไตรมาส 2/2552 เมื่อเทีียบกับไตรมาสแรก

40.
การส่งออกของภาคเหนือเริ่มมีสัญญาณที่ดีในตลาดเอเชีย

41.
การนำเข้าปรับตัวดีขึ้นโดยเฉพาะการนำเข้าวัตถุดิบที่ใช้ในอุตสาหกรรม

42.
ภาคเกษตร: ราคาพืชผลสำคัญยังคงลดลงมากเทียบกับฐานที่สูงในปีก่อน แต่เมื่อเทียบกับรายได้ในช่วงก่อนๆนับว่าอยู่ในเกณฑ์ดี

43.
การใช้จ่ายภาคเอกชนในภาคเหนือตอนล่าง ยังคงอยู่ในเกณฑ์ดี จากรายได้เกษตรกร

44.
การท่องเที่ยวในภาคเหนือเริ่มเห็นสัญญาณบวกเป็นเดือนแรก


45.
ภาคการค้าของภาคเหนือ

46.
Private Investment Index
: เส้นกราฟยังคงมี Slope ติดลบ (-)

47.
เครื่องชี้การลงทุนภาคเอกชน

48.
การใช้จ่ายภาครัฐของภาคเหนือ

49.
เสถียรภาพในประเทศของภาคเหนือ


50.
สรุปภาวะเศรษฐกิจภาคเหนือเดือนกรกฏาคม 2552

สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจของประเทศที่ปรับตัวดีขึ้นจากเดือนก่อนหน้า

* โครงสร้างและฐานเศรษฐกิจภาคเหนือไม่ไ้ด้พึ่งพาภาคการส่งออกมากเท่ากับประเทศ วิิกฤตเศรษฐกิจครั้งนี้ ไม่น่าจะได้รับผลกระทบเท่าประเทศ

* แต่วิกฤตส่งออกส่งผลกระทบต่อภาคเหนือทางอ้อม โดยเฉพาะการท่องเที่ยว อย่างไรก็ดี มีสัญญาณของการปรับตัวที่ดีขึ้นในตลาดระดับกลาง และ ตลาดการประชุมและสัมมนา

* รายได้เกษตรกรยังช่วยรักษาการใช้จ่ายภาคเอกชน โดยเฉพาะในภาคเหนือตอนล่างยังอยู่ในเกณฑ์ดี

* อัตราการว่างงานยังอยู่ในเกณฑ์ต่ำ เพราะมีภาคเกษตรรองรับการจ้างงานปรับตัวดีขึ้นจากคำสั่งซื้อที่เริ่มมีเพิ่มขึ้น


51.
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการ

* การพัฒนาคุณภาพสินค้า และ สร้างมูลค่าเพิ่ม

* การขยายตลาดใหม่ เพื่อกระจายความเสี่ยงจากการชะลอตัวของตลาดหลัก

* การบริหารค่าใช้จ่ายและต้นทุน เพื่อดูแลกระแสเงินสดของธุรกิจ

* การป้องกันความเสี่ยงจากอัตราการแลกเปลี่ยน

52.
ประเด็นการนำเสนอ

* ทิศทางเศรษฐกิจไทย

* โครงสร้างและภาวะเศรษฐกิจภาคเหนือ

* โอกาสและความท้าทายของภาคเหนือ

53.
การค้าต่างประเทศในภาคเหนือ

54.
การเติบโตของการค้าชายแดนในภาคเหนือ

55. สัดส่วนของการค้าชายแดนไทย-จีน /การค้ากับจีนทั้งประเทศ

56.
ปัจจัยที่ทำให้ภาวะแวดล้อมในภาคเหนือเปลี่ยนแปลง

57.
การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคมระหว่างภาคเหนือของไทยและประเทศเพื่อนบ้าน

58.
เส้นทางการขนส่งสินค้าผ่านแม่น้ำโขง

59.
ปริมาณการขนส่งผ่านท่าเรือเชียงแสน

62.-63.
เส้นทาง R3E ไทย-จีน (ผ่านสปป.ลาว)


64. เส้นทาง R3 ในประเทศจีน

65.
นโยบายมุ่งตะวันตก (Go West Policy)


66.
แนวคิดการพัฒนาของมณฑลยูนนาน 5 ปีข้างหน้า (2549-2553)

:เพื่อเปิดรับการเปิดระบบการค้าเสรีักับต่างประเทศ

1.นโยบาย 2 วงล้อขับเคลื่อน

1.1 นโยบาย "เชิญเข้ามา"
1.2 นโยบาย "้ก้าวออกไป"

2. นโยบาย 4 นอกตัวนำ

2.1 การค้าต่างประเทศ
2.2 การเปิดรับการลงทุนจากต่างประเทศ
2.3 การร่วมมือกับต่างประเทศในการพัฒนาเทคโนโลยี
2.4 การร่วมมือกับกลุ่มเศรษฐกิจทั้งในและต่างประเทศ

3. (อ่านไม่ออก)

4. นโยบาย 1 วง 5 โซน 3 สาย

4.1 วง: อนุภาคแม่น้ำโขง
4.2 5 โซน: 5 มณฑลในเขตตะวันตก
4.3 3 สาย : เส้นางโครงข่ายคมนาคมสู่เศรษฐกิจประเทศเพื่อนบ้าน

67.
เส้นทาง 3 สาย ตามแผนพัฒนามณฑลยูนนาน

1. เส้นทางสายตะวันออกจาก คุนหมิง-มัณฑะเลย์-ย่างกุ้ง
2. เส้นทางสายใต้ จากคุนหมิง- กรุงเทพฯ-สิงคโปร์
3. เส้นทางสายตะวันตกจาก คุนหมิง-ลาวฉาย-ฮานอย


68.
เส้นทางเชื่อมไทย-จีนตอนใต้

69.
โครงการก่อสร้างโรงแรม และ คาสิโนของจีน ใน สปป.ลาว

70.
โครงการก่อสร้างสะพานเชียงของ

71. นโยบายการอนุญาตให้ใช้เงินทุนท้องถิ่นชำระค่าสินค้าระหว่างจีนกับประเทศเพื่อนบ้านที่มีพรมแดนติดกัน

72.
China State Council ประกาศให้เริ่มทดลองชำระค่าสินค้าระหว่างประเทศเป็นครั้งแรก ระหว่างฮ่องกง และ 5 เมืองชายฝั่งตะวันออกของจีน

73.
จีนแถลงนโยบายส่งเสริมการใช้เงินสกุลหยวนสำหรับการค้าระหว่างประเทศ เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2551

เริ่มในเขตพื้นที่ทดลอง 2 กลุ่ม ประกอบด้วย

1. มณฑลยูนนาน / เขตปกครองกวางสี + ประเทศอาเซียน 10 ประเทศ
2. ฮ่องกง / มาเก๊า + เมืองกวางโจว มณฑลกวางตุ้ง และ พื้นที่สามเหลี่ยมปากแม่น้ำแยงซี


********************************************

คุณ ณรงค์ คองประเสริฐ
ประธานกรรมการ หอการค้าจังหวัดเชียงใหม่




1593. การแสวงหาโอกาส และ การเข้าสู่ตลาดอย่างเหมาะสม





1596. ยุทธศาสตร์ในการบ่มเพาะความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในภูมิภาคอาเซียน




1598. ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการค้าการลงทุนในประเทศเป้าหมาย





1600. ยุทธศาสตร์การเข้าถึงแหล่งทรัพยากร วัตถุดิบ และ การจ้างการผลิต





1603. ข้อเสนอแนะ

1. ควรเร่งให้ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนแก่ทุกภาคส่วน ทั้งภาคการผลิต ประชาชน และ ภาคสังคม เพื่อให้ประเทศสามารถปรับตัวได้ทัน

2. ผลักดันให้การอำนวยความสะดวกทางการค้าตามแนวชายแดนของไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน มีประสิทธิภาพมากขึ้น - กิ่วผาวอก


3. ควรมีการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงห่วงโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมไทย ซึ่งรวมถึงอุตสาหกรรมต้นน้ำ และปลายน้ำเพื่อประกอบการปรับตัวของภาคการผลิต

4.เร่งสร้างความสัมพันธ์อันดี ระหว่าง ASEM GMS BIMSTEC ในทุกระดับ รัฐ เอกชน การศึกษา วัฒนธรรม

5.เร่งพัฒนา Logistic ระบบรถระบบราง ภาษา นักธุรกิจ เพื่อตอบสนองกับการเปิดตลาดเสรี




1606. logistic





1611. ระบบราง




1613. มูลค่าการค้าชายแดนในภาคเหนือ





1614. การเติบโตของการค้าชายแดนในภาคเหนือ




1615. เส้นทางการค้าชายแดนไทย-พม่า





1616. การชำระเงินการค้าชายแดนไทย-พม่า





1617. ปัญหาการชำระเงินการค้าชายแดนไทย-พม่า





1618. การค้าชายแดนไทย-จีนตอนใต้





1619. การค้าชายแดนไทย-จีนตอนใต้ เติบโตเป็นลำดับ





1622. ปัญหาการชำระเงินไทย-จีนตอนใต้



***เพิ่มเติม (แถม)***




1625. การลงทุนของ Promenada





1626. Promenada





1629. Promenada เชียงใหม่




1630. รายละเอียดโครงการ Promenada




1632.





1633.





Moonfleet ได้มาเข้าร่วมฟังการบรรยายพิเศษ
เรื่อง "สถานการณ์ และ แนวโน้มเศรษฐกิจภาคเหนือตอนบน"
ณ. ห้องประชุมสำนักงานประชาสัมพันธ์เขต 3
วันจันทร์ ที่ 21 เดือนกันยายน พ.ศ.2552




นพบุรีศรีนครพิงค์เวียงเชียงใหม่ นครแห่งชีวิตและความมั่งคั่ง


Create Date : 25 กันยายน 2552
Last Update : 25 กันยายน 2552 22:50:01 น. 0 comments
Counter : 1464 Pageviews.

ชื่อ : * blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
  *ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
 

moonfleet
Location :
เชียงใหม่ Thailand

[ดู Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 25 คน [?]




ไม่มีสิ่งใดจะเกิดขึ้นมาได้ หากไม่เคยเป็นความฝันมาก่อน
New Comments
Friends' blogs
[Add moonfleet's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.