" เรื่องราวต่างๆเป็นดั่งทองคำในเทพนิยาย เมื่อคุณแจกจ่ายไปมากขึ้น คุณก็ได้รับกลับมามากขึ้น " พอลลี แมคไกวร์
Group Blog
 
<<
มกราคม 2553
 12
3456789
10111213141516
17181920212223
24252627282930
31 
 
10 มกราคม 2553
 
All Blogs
 
042. การประชุมระดมความคิดเห็น โครงการศึกษาวิเคราะห์สถานภาพ SMEs ประเทศไทย

การประชุมระดมความคิดเห็น
โครงการศึกษาวิเคราะห์สถานภาพ SMEs ประเทศไทย
: บทบาทเชิงเศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม (พื้นที่ภาคเหนือ)
วันที่ 7 เดือน มกราคม พ.ศ. 2553
ณ ห้องประชุมชั้น 4 อาคารปฏิบัติการ
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
จัดโดย คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ร่วมกับ สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม





1033. อาคาร 04107 อาคารปฏิบัติการ คณะสังคมศาสตร์

08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน

09.00 - 09.30 น. พิธีเปิด




0974. นายชุมพร แสงมณี รองผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ ประธานพิธีเปิด




0978. ดร.สิทธิณัฐ ประพุทธนิติสาร คณบดีคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กล่าวต้อนรับและกล่าวรายงาน





0979. ดร.สิทธิณัฐ ประพุทธนิติสาร คณบดีคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กำลังกล่าวต้อนรับ นายชุมพร แสงมณี รองผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่





0981.ดร.สิทธิณัฐ ประพุทธนิติสาร คณบดีคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กำลังกล่าวรายงาน นายชุมพร แสงมณี รองผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่





0973. ผู้เข้าร่วมการประชุมระดมความคิด ภาคเหนือตอนบน





0975. ผู้เข้าร่วมการประชุมระดมความคิด ภาคเหนือตอนบน
คุณณรงค์ คองประเสริฐ ประธานหอการค้าจังหวัดเชียงใหม่ และ คุณอ้อ นักวิชาการแห่งหอการค้าฯ มาเข้าร่วมประชุมในครั้งนี้ด้วยครับ





0977. ผู้เข้าร่วมการประชุมระดมความคิด ภาคเหนือตอนบน





0981.ผู้เข้าร่วมการประชุมระดมความคิด ภาคเหนือตอนบน





0982. ผู้เข้าร่วมการประชุมระดมความคิด ภาคเหนือตอนบน


09.30 -10. 00 น.

การบรรยายเรื่อง "ศักยภาพ ข้อจำกัด และ ยุทธศาสตร์การพัฒนาของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 8 จังหวัด"

โดย คุณวิลาวัลย์ ตันรัตนกุล์ ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคเหนือ




0984.คุณวิลาวัลย์ ตันรัตนกุล์
ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคเหนือ





0983. คุณวิลาวัลย์ ตันรัตนกุล์
ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคเหนือ





0984.คุณวิลาวัลย์ ตันรัตนกุล์
ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคเหนือ
:ยุทธศาสตร์ การพัฒนาภาคเหนือในช่วงแผนฯ 10.





0985. สถานภาพทางกายภาพ





0986. ภาพรวมเศรษฐกิจภาคเหนือ





0987. ภาคเกษตร





0988. ภาคอุตสาหกรรม





0989. ภาคอุตสาหกรรม (ต่อ)





0990. การค้า / การค้าชายแดน





0991. บริการ และ การท่องเที่ยว





0992. คุณวิลาวัลย์ ตันรัตนกุล์ ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคเหนือ กำลังบรรยายเรื่อง "ศักยภาพ ข้อจำกัด และ ยุทธศาสตร์การพัฒนาของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 8 จังหวัด"




0993. ท่านผู้เข้าร่วม การประชุมระดมความคิดเห็น โครงการศึกษาวิเคราะห์สถานภาพ SMEs ประเทศไทย





0997. คุณลักษมี ศรีสมเพชร รองประธานกรรมการ หอการค้าจังหวัดเชียงใหม่





0998. คุณลักษมี ศรีสมเพชร รองประธานกรรมการ หอการค้าจังหวัดเชียงใหม่ 1 ในผู้เข้าร่วม การประชุมระดมความคิดเห็น โครงการศึกษาวิเคราะห์สถานภาพ SMEs ประเทศไทย




0994. สถานะด้านสังคมของภาคเหนือ




0995. สถานะด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภาคเหนือ




0999. สถานะด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภาคเหนือ (ต่อ)





1000. ความร่วมมือตามกรอบ GMS





1001. แนวโน้มการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานในภูมิภาค GMS





1002. ประเด็นหลักเพื่อกำหนดยุทธศาสตร์




1003. ประเด็นการพัฒนาภาคเหนือ




1004. ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคเหนือ

1.สนับสนุนการเพิ่มมูลค่าเพิ่มของฐานการผลิตที่มีความหลากหลาย คำนึงถึงผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อคงความเป็นฐานเศรษฐกิจที่ยั่งยืน




1005. ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคเหนือ

2. ยกระดับการค้าและบริการ ให้ได้มาตรฐาน ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของกระแสตลาด เน้นการพัฒนาบุคลากร โครงสร้างพื้นฐาน และ สิ่งอำนวยความสะดวก




1006. การพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือ





1007. ...สู่แผน 11

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง => แผน 10
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง => วิสัยทัศน์ 2570 => แผน 11





1008. ประเด็นท้าทายการพัฒนาในช่วงแผนฯ 11

1. ด้านความท้าทาย และ โอกาสทางเศรษฐกิจของไทย
2. ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์
3. ด้านโอกาสบนวิกฤตภาวะโลกร้อน
4. ด้านสถาปัตยกรรมทางสังคม
5. ด้านสัญญาประชาคมใหม่




1009. เศรษฐกิจสร้างสรรค์....





1010. กรณีศึกษาสินค้าและบริการที่มีศักยภาพ ในการเพิ่มมูลค่าและสร้างสรรค์มูลค่า : ไหมไทย




1011. กรณีศึกษาสินค้าและบริการที่มีศักยภาพ ในการเพิ่มมูลค่าและสร้างสรรค์มูลค่า

: อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา เป็นมรดกโลกในปี พ.ศ.2534
: แหล่งมรดกโลก สุโขทัย ศรีสัชนาลัย กำแพงเพชร เป็นมรดกโลกในปี พ.ศ.2534
: เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่ - ห้วยขาแข้ง เป็นมรดกโลกในปี พ.ศ.2534
: แหล่งโบราณคดี บ้านเชียง จังหวัดอุดรธานี เป็นมรดกโลกในปี พ.ศ.2535
: ป่าดงพญาเย็น - เขาใหญ่ ได้รับการลงทะเบียน เป็นมรดกโลกในปี พ.ศ.2548.





1012. สำนักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคเหนือ
ศูนย์ราชการจังหวัดเชียงใหม่
โทรศัพท์ 053 - 112690 - 92
//www.nesdb.go.th


10.00 - 10.30 น.

การบรรยายเรื่อง "ข้อสรุปแนวทางการขับเคลื่อน SMEs ภาคเหนือตอนบน และ การผลักดัน SMEs เพื่อให้สอดรับศักยภาพและข้อจำกัดของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือ"

โดย ดร.สิทธิณัฐ ประพุทธนิติสาร คณบดีคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่




1014. "ข้อสรุปแนวทางการขับเคลื่อน SMEs ภาคเหนือตอนบน และ การผลักดัน SMEs เพื่อให้สอดรับศักยภาพและข้อจำกัดของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือ"

โดย ดร.สิทธิณัฐ ประพุทธนิติสาร คณบดีคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่





1013. "ข้อสรุปแนวทางการขับเคลื่อน SMEs ภาคเหนือตอนบน และ การผลักดัน SMEs เพื่อให้สอดรับศักยภาพและข้อจำกัดของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือ"





1015. ดร.สิทธิณัฐ ประพุทธนิติสาร
คณบดีคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่





1017. ศักยภาพและความสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ




1018. ภาคเหนือตอนบน 1.: จุดแข็ง





1021. ภาคเหนือตอนบน 1.: จุดอ่อน




1022. ภาคเหนือตอนบน 1.: ภัยคุมคาม





1023. ภาคเหนือตอนบน 2.: จุดแข็ง





1024. ภาคเหนือตอนบน 2.: จุดอ่อน





1025. ภาคเหนือตอนบน 2.: โอกาส





1026. ภาคเหนือตอนบน 2.: ภัยคุมคาม




1027. ข้อสรุปทิศทางการพัฒนาภาคเหนือตอนบน 1.





1028. ข้อสรุปทิศทางการพัฒนาภาคเหนือตอนบน 2.





1029. ลักษณะสำคัญและการกระจายตัวของ SMEs ตามศักยภาพของพื้นที่ภาคเหนือตอนบน 1. (949 ราย)





1031. พักรับประทานอาหารว่าง (ผู้ประกอบการกรอกแบบสอบถาม)


10.45 - 12.00 การดำเนินการแบ่งกลุ่มเพื่อระดมความคิดเห็น 3 กลุ่ม โดยหารือในประเด็น ดังต่อไปนี้

1. ลักษณะพิเศษ (Characteristic) และ อัตลักษณ์ (Identity) ของ SMEs
2. สถานะ / ตำแหน่งทางธุรกิจ และ การบริหารจัดการ (Internal Management) ของแต่ละ SMEs
3. ห่วงโซ่คุณค่า ความสัมพันธุ์ทางธุรกิจ เศรษฐกิจ นโยบาย สังคมและวัฒนธรรม

ทั้ง 3 ข้อนี้ ตามเอกสาร กำหนดการประชุมระดมความคิดเห็น ภาคเหนือตอนบน

แต่ที่มีการแบ่งกันจริง คือ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มสังคม 2.กลุ่มเศรษฐกิจ และ 3. คือ กลุ่มผสม




1032.


จาก ส่วนสรุปของบทความจาก
//www.udclick.com/home1/index.php?
option=com_content&task=view&id=67192&Itemid=39
เรื่อง สสว. เดินหน้าศึกษาอัตลักษณ์ SMEs ภาคเหนือ

ส่วนท้ายสุดของบทความ...

การดำเนินโครงการ “ศึกษาวิเคราะห์สถานภาพ SMEs ประเทศไทย : บทบาทเชิงเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม” นี้ สสว. ยังได้ร่วมกับสถาบันการศึกษาในภูมิภาคอื่นๆ

โดย
ภาคกลาง ร่วมกับ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร่วมกับ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ภาคใต้ ร่วมกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
และกรุงเทพมหานคร ร่วมกับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ซึ่งภายหลังสรุปผลการประชุมระดมความคิดเห็นและการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ประกอบการ SMEs แล้ว จะจัดให้มีการสัมมนาเผยแพร่ผลงานในแต่ละภูมิภาค ในช่วงปลายเดือนกุมภาพันธ์ – ต้นเดือนมีนาคม 2553 และจัดสัมมนาเผยแพร่สรุปผลการดำเนินงาน ที่กรุงเทพมหานคร ในช่วงปลายเดือนมีนาคม 2553

ดังนั้นบทสรุปของเรื่องนี้ คงจะต้องรอการ สรุปผลการดำเนินงาน ที่กรุงเทพมหานคร ในช่วงปลายเดือนมีนาคม 2553 นะครับ





Moonfleet ได้เข้ามาร่วมฟัง การประชุมระดมความคิดเห็น โครงการศึกษาวิเคราะห์สถานภาพ SMEs ประเทศไทย : บทบาทเชิงเศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม (พื้นที่ภาคเหนือ)

วันที่ 7 เดือน มกราคม พ.ศ. 2553
ณ ห้องประชุมชั้น 4 อาคารปฏิบัติการ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

จัดโดย คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับ สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม




นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ นครแห่งชีวิตและความมั่งคั่ง


Create Date : 10 มกราคม 2553
Last Update : 10 มกราคม 2553 11:57:52 น. 0 comments
Counter : 2432 Pageviews.

ชื่อ :
Comment :
  *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

moonfleet
Location :
เชียงใหม่ Thailand

[ดู Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 25 คน [?]




ไม่มีสิ่งใดจะเกิดขึ้นมาได้ หากไม่เคยเป็นความฝันมาก่อน
New Comments
Friends' blogs
[Add moonfleet's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.