" เรื่องราวต่างๆเป็นดั่งทองคำในเทพนิยาย เมื่อคุณแจกจ่ายไปมากขึ้น คุณก็ได้รับกลับมามากขึ้น " พอลลี แมคไกวร์
Group Blog
 
<<
ตุลาคม 2552
 
29 ตุลาคม 2552
 
All Blogs
 
092.2 พระอุโบสถ แห่ง วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร ถ.สิงหราช ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่

วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร

ถ.สิงหราช ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่

ภาค 3. พระอุโบสถ แห่ง วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร




2354. วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร

ตำบล.พระสิงห์ เขต.1 อำเภอ.เมือง จังหวัด.เชียงใหม่

WAT PHRASINGH A.MUANG CHIANGMAI






2357. ประตู ทางเข้า+ทางออก วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร





2363. วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่


วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร

วัดพระสิงห์วรวิหาร วัดเก่าแก่กลางเมืองเชียงใหม่ที่สร้างมาตั้งแต่ พ.ศ.1888 โดยพญาผายู กษัตริย์องค์ที่ 5 ในราชวงศ์มังรายโปรดให้สร้างขึ้น

พร้อมทั้งสร้างพระเจดีย์สูง 24 ศอกองค์หนึ่ง เพื่อใช้เป็นที่บรรจุอัฐิของพญาคำฟู พระราชบิดา

วิหารลายคำเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธสิหิงค์ หรือพระสิงค์ พระพุทธรูปปางมารวิชัยขัดสมาธิเพชร ศิลปะล้านนาสกุลช่างเชียงแสน

เมื่อแรกสร้างวัดนี้ชื่อว่าวัดลีเชียง ครั้นเมื่อพระเจ้าแสนเมืองมาได้อัญเชิญพระพุทธสิหิงค์ประดิษฐาน ณ วัดลีเชียงแห่งนี้ ผู้คนชาวเชียงใหม่จึงเรียกวัดนี้ใหม่ว่า วัดพระพุทธสิหิงค์ หรือพระสิงห์ ตามนามของพระพุทธรูป

กระทั่ง พ.ศ. 2483 จึงได้รับการสถาปนานายกฐานะขึ้นเป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดวรมหาวิหาร และได้รับนามใหม่ว่าวัดพระสิงห์วรมหาวิหาร มาจนถึงปัจจุบัน

วัดพระสิงห์วรวิหาร ถือเป็นวัดคู่บ้านคู่เมืองเชียงใหม่มานาน เป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวเชียงใหม่ที่ให้ความเลื่อมใสศรัทธา และจะเดิน ทางมาเคารพสักการะกันเป็นประจำ เมื่อถึงช่วงเทศกาลสงกรานต์หรืองานประเพณีปี๋ใหม่เมือง ทางราชการได้อัญเชิญพระพุทธสิหิงค์ขึ้นประดิษฐานบนรถบุษบกแห่ไปรอบเมือง เพื่อให้ศรัทธาประชาชนได้พากันมาสรงน้ำในเทศกาลปีใหม่เป็นประจำทุกปี

ในบริเวณวัดยังมีโบราณสถานที่น่าสนใจทั้งในเชิงประวัติศาสตร์และด้านศิลปกรรมล้านนา เช่น

วิหารวัดพระสิงห์ ที่สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้ากาวิโรรส และครูบาศรีวิชัยได้มาบูรณะและสร้างใหม่หมดทั้งหลัง

วิหารลายคำในวัดพระสิงห์เป็นที่ประดิษฐาน "พระพุทธสิหิงค์" ที่ผนังวิหารมีภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องสุพรรณหงส์ และสังข์ทองซึ่งพบเพียงที่นี่แห่งเดียว

หอไตร ที่ตัวผนังตึกด้านนอกประดับด้วยทวยเทพปูนปั้น เป็นฝีมือช่างสมัยพระเมืองแก้ว

โบสถ์ ที่มีลักษณะอาคารและการตกแต่งเป็นแบบศิลปะล้านนาที่วิจิตรสวยงาม

พระธาตุเจดีย์วัดพระสิงห์ถือเป็นพระธาตุประจำปีเกิดของผู้ที่เกิดปีมะโรง (งูใหญ่) หากได้มานมัสการอย่างน้อยสักครั้งหนึ่งแล้ว จะเป็นมงคลสูงสุดทำให้อายุมั่นขวัญยืน มีความเจริญรุ่งเรืองตลอดไป





2364. วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่





2435. พระอุโบสถแห่งวัดพระสิงห์วรมหาวิหาร อ.เมือง จ.เชียงใหม่





2437.พระอุโบสถแห่งวัดพระสิงห์วรมหาวิหาร อ.เมือง จ.เชียงใหม่





2438. พระอุโบสถแห่งวัดพระสิงห์วรมหาวิหาร อ.เมือง จ.เชียงใหม่





2439.พระอุโบสถแห่งวัดพระสิงห์วรมหาวิหาร อ.เมือง จ.เชียงใหม่





2440.พระอุโบสถแห่งวัดพระสิงห์วรมหาวิหาร อ.เมือง จ.เชียงใหม่




2442.พระอุโบสถแห่งวัดพระสิงห์วรมหาวิหาร อ.เมือง จ.เชียงใหม่




2444. สิงห์เบื้องขวา แห่ง พระอุโบสถ และ ใบเสมา


พัทธสีมา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

สีมา หมายถึงเขตหรือแดนที่กำหนดไว้สำหรับทำสังฆกรรมของสงฆ์ เป็นเขตชุมนุมสงฆ์โดยเฉพาะ ซึ่งพระสงฆ์กำหนดว่าผู้อยู่ในเขตนั้นจะต้องร่วมกันทำสังฆกรรมโดยความพร้อมเพรียงกัน

พัทธสีมา หมายถึงสีมาหรือเขตอดนที่พระสงฆ์ผูกไว้แล้ว คือพระสงฆ์ร่วมกันกำหนดให้เป็นเขตทำสังฆกรรมตามพระวินัย เรียกพิธีกรรมที่กำหนดอย่างนั้นว่า ผูกสีมา โดยทั่วไปเรียกพัทธสีมาว่า โบสถ์ หรืออุโบสถ

เขตหรือแดนที่จะผูกเป็นพัทธสีมานั้นจะต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการก่อน เพราะต้องเป็นเขตแยกต่างหากจากเขตแดนบ้าน ซึ่งเรียกว่า วิสุงคามสีมา





2445. สิงห์เบื้องซ้าย แห่ง พระอุโบสถ และ ใบเสมา





2446.บันได ทางขึ้น+ทางลงพระอุโบสถ วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร ทิศเหนือ






2447. แผ่นทองเหลืองจารึก เรื่อง พระอุโบสถ แห่ง วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร

อุโบสถ ( Ubosoth )

อุโบสถวัดพระสิงห์วรมหาวิหาร เป็นอาคารตามแบบอย่างศิลปกรรมล้านนา โครงสร้างไม้ฐานล่างก่ออิฐถือปูน

ด้านหน้าทิศใต้ ทำเป็นบันไดมกรคายนาค สองข้างตั้งสิงห์ปูนปั้นนั่งด้านละตัว หันหน้ามองกัน

ส่วนด้านทิศเหนือทำเป็นตัวเหงา ขนาบข้างด้วยสิงห์ปูนปั้นนั่งด้านละตัว หันหน้ามองตรงออกไป

ปัจจุบันยังมีใบเสมาคู่ปักอยู่ 15 จุดรอบอุโบสถแห่งนี้


ภายในพื้นที่ตรงกลางอุโบสถ ประดิษฐานพระพุทธรูปในซุ้มปราสาท เชื่อกันว่าเพื่อแบ่งเขตการทำสังฆกรรม ด้านเหนือสำหรับพระภิกษุ และ ด้านใต้สำหรับพระภิกษุณี ต่อมา บางครั้งจึงเรียกว่า "อุโบสถสองสงฆ์"

อุโบสถหลังนี้หันหน้าไปทางทิศใต้ กล่าวกันว่า สร้างในสมัยพระเมืองแก้ว
( พ.ศ.2038 -2068)

และ ได้รับการทำนุบำรุง ดูแลรักษา นับแต่สมัยรัตนโกสินทร์ช่วงฟื้นฟูเมืองเชียงใหม่ ( พ.ศ.2325 - 2356) มาจนถึงปัจจุบัน





2448. นาคคู่หางเกี่ยวพันกัน เหนือ ประตูโขง พระอุโบสถ ด้านทิศเหนือ






2449. ประตูโขง แห่ง พระอุโบสถ ด้านทิศเหนือ





2450. พระพุทธรูปในซุ้มปราสาทประดิษฐานอยู่พื้นที่ตรงกลางพระอุโบสถ





2451. พระอริยสงฆ์ ด้านทิศเหนือ ซุ้มปราสาทพื้นที่ตรงกลางพระอุโบสถ





2452. พระหยกเขียว แห่ง ซุ้มปราสาทตรงกลางพระอุโบสถ ด้านทิศเหนือ





2453. พระพุทธปฏิมา แห่ง ซุ้มปราสาทตรงกลางพระอุโบสถ





2454. การกราบบูชา พระพุทธปฏิมา แห่ง ซุ้มปราสาทตรงกลางพระอุโบสถ





2455. พระพุทธรูปนาคปรก แห่ง ซุ้มปราสาทตรงกลางพระอุโบสถ





2456. พระพุทธรูป แห่ง ซุ้มปราสาทตรงกลางพระอุโบสถ





2457. เทพพนม แห่ง ซุ้มปราสาท บริเวณกลาง พระอุโบสถ





2458. พระพุทธปฏิมากร แห่ง ซุ้มปราสาท บริเวณกลาง พระอุโบสถ





2459. พระอริยสงฆ์ แห่ง พระอุโบสถ วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร






2460. พระอริยสงฆ์ แห่ง พระอุโบสถ วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร





2461. เทพพนม แห่ง ซุ้มปราสาท บริเวณกลาง พระอุโบสถ วัดพระสิงห์ฯ





2462. พระอริยสงฆ์ แห่ง พระอุโบสถ วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร





2463. พระอริยสงฆ์ แห่ง พระอุโบสถ วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร





2464. นักท่องเที่ยวสาวสวย มาเยือนพระอุโบสถแห่งวัดพระสิงห์





2465. พระพุทธปฏิมา แห่ง พระอุโบสถ วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร





2482. ประตูพระอุโบสถ แห่ง วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร ด้าน ทิศใต้





2483.บริเวณเหนือประตูทางเข้าพระอุโบสถด้านทิศเหนือ ภายในพระอุโบสถ





2484. ด้านทิศตะวันตกของพระอุโบสถ คือ พระธาตุเจดีย์




2485. ด้านทิศตะวันตกของพระอุโบสถ คือ พระธาตุเจดีย์





2486. ด้านทิศตะวันออกของพระอุโบสถ คือ พระวิหาร แห่ง วัดพระสิงห์ฯ





2490. ด้านหน้า ทิศเหนือ พระอุโบสถ แห่ง วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร





2491. พระอุโบสถ แห่ง วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร อ.เมือง จ.เชียงใหม่





2493. พระอุโบสถ แห่ง วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร ด้านทิศตะวันตก






2494. พระอุโบสถ แห่ง วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร ด้านทิศตะวันตก





2509. พระอุโบสถ แห่ง วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร ด้านทิศตะวันตก





2511. ด้านหน้า พระอุโบสถ ด้านทิศใต้ วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร





2513 ด้านหน้าพระอุโบสถ ด้านทิศใต้




2515. พระอุโบสถ แห่ง วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร ด้านทิศใต้





2516. พระอุโบสถ แห่ง วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร ด้านทิศใต้





2563. พระอุโบสถ แห่ง วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร ด้านทิศใต้





2564. บันได ทางขึ้น-ทางลง พระอุโบสถ ด้านทิศใต้





2603. พระธาตุเจดีย์ พระอุโบสถ พระวิหาร แห่ง วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร





2605. พระอุโบสถ แห่ง วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร





2606. พระอุโบสถ แห่ง วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร ด้านทิศใต้





2612.





Moonfleet ได้มาเยือน วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร : พระอุโบสถ แห่ง วัดพระสิงห์ฯ ถ.สิงหราช ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่

วันอังคาร ที่ 27 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2552




นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ นครแห่งชีวิตและความมั่งคั่ง





Create Date : 29 ตุลาคม 2552
Last Update : 2 พฤศจิกายน 2552 9:05:48 น. 0 comments
Counter : 7565 Pageviews.

ชื่อ :
Comment :
  *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

moonfleet
Location :
เชียงใหม่ Thailand

[ดู Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 25 คน [?]




ไม่มีสิ่งใดจะเกิดขึ้นมาได้ หากไม่เคยเป็นความฝันมาก่อน
New Comments
Friends' blogs
[Add moonfleet's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.