" เรื่องราวต่างๆเป็นดั่งทองคำในเทพนิยาย เมื่อคุณแจกจ่ายไปมากขึ้น คุณก็ได้รับกลับมามากขึ้น " พอลลี แมคไกวร์
Group Blog
 
<<
ธันวาคม 2552
 
 12345
6789101112
13141516171819
20212223242526
2728293031 
 
14 ธันวาคม 2552
 
All Blogs
 
106. วัดกู่เต้า ( เวฬุวนาราม ) ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่




วัดกู่เต้า ( เวฬุวนาราม ) ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่





8395. ประตู วัดกู่เต้า ( เวฬุวนาราม ) ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่





8394. วัดกู่เต้า ( เวฬุวนาราม )




8393. วัดกู่เต้า : WAT KU TAO




8392. วัดกู่เต้า : WAT KU TAO




8391. วัดกู่เต้า :




8396. ถนน.วัดกู่เต้า ด้านทิศตะวันตก วัดกู่เต้า




8397. ถนน.วัดกู่เต้า ด้านทิศตะวันตก วัดกู่เต้า





8398. สีหราช เบื้องขวา แห่ง ประตูวัดกู่เต้า ด้านทิศตะวันตก





8399. สีหราช เบื้องซ้าย แห่ง ประตูวัดกู่เต้า ด้านทิศตะวันตก






8400. ด้านทิศตะวันตก ของ วัดกู่เต้า





8401.พระอุโบสถ วัดกู่เต้า ( เวฬุวนาราม ) ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่






8404.พระอุโบสถ วัดกู่เต้า ( เวฬุวนาราม ) ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่






8405. พระอุโบสถ วัดกู่เต้า ( เวฬุวนาราม ) ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่





8406.พระอุโบสถ วัดกู่เต้า ( เวฬุวนาราม ) ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่





8407. พระอุโบสถ วัดกู่เต้า ( เวฬุวนาราม ) ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่





8408. พระพุทธรูป หน้า พระอุโบสถ วัดกู่เต้า ( เวฬุวนาราม )




8409. พระอุโบสถ วัดกู่เต้า ( เวฬุวนาราม ) ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่





8410. พระอุโบสถ วัดกู่เต้า ( เวฬุวนาราม ) ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่





8418. พระอุโบสถ วัดกู่เต้า ( เวฬุวนาราม ) ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่




7412.





8414.





8411.ศาลาปล่ายเหลี้ยม จันทรรังษี ศรัทธาสามัคคี วัดกู่เต้า
(ศาลายอดแหลม)




8415. ศาลา ปล๋ายเหลี้ยม จันทรรังษี ศรัทธาสามัคคี วัดกู่เต้า





8416. บริเวณชั้นล่าง ศาลา ปล๋ายเหลี้ยม จันทรรังษี ศรัทธาสามัคคี วัดกู่เต้า






8417. ศาลา ปล๋ายเหลี้ยม จันทรรังษี ศรัทธาสามัคคี วัดกู่เต้า




8419. ศาลา ปล๋ายเหลี้ยม จันทรรังษี ศรัทธาสามัคคี วัดกู่เต้า




8420. ศาลา ปล๋ายเหลี้ยม จันทรรังษี ศรัทธาสามัคคี วัดกู่เต้า

พระภิกษุ ท่านหนึ่ง กำลังสร้างสรรค์งานศิลปะกรรม ลงบนผนังด้านนอก ศาลา ปล๋ายเหลี้ยม จันทรรังษี ศรัทธาสามัคคี วัดกู่เต้า





8423. พระวิหาร วัดกู่เต้า ( เวฬุวนาราม ) ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่




8424.พระวิหาร วัดกู่เต้า ( เวฬุวนาราม ) ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่





8425. พระวิหาร วัดกู่เต้า ( เวฬุวนาราม ) ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่




8426. พระวิหาร วัดกู่เต้า ( เวฬุวนาราม ) ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่




8427. พระวิหาร วัดกู่เต้า ( เวฬุวนาราม ) ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่




8428. พระวิหาร วัดกู่เต้า ( เวฬุวนาราม ) ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่




8429. มกรคายนาค แห่ง บันไดพระวิหาร วัดกู่เต้า ( เวฬุวนาราม )




8430. มกรคายนาค แห่ง บันไดพระวิหาร วัดกู่เต้า ( เวฬุวนาราม )




8437. มกรคายนาค แห่ง บันไดพระวิหาร วัดกู่เต้า ( เวฬุวนาราม )




8438. มกรคายนาค แห่ง บันไดพระวิหาร วัดกู่เต้า ( เวฬุวนาราม )




8439. พระวิหาร วัดกู่เต้า ( เวฬุวนาราม ) ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่




8441. มกรคายนาค แห่ง บันไดพระวิหาร วัดกู่เต้า ( เวฬุวนาราม )






8442. พระวิหาร วัดกู่เต้า ( เวฬุวนาราม ) ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่




8446. พระวิหาร วัดกู่เต้า ( เวฬุวนาราม ) ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่




8449. พระเจดีย์ วัดกู่เต้า กำลังอยู่ในระหว่างการบูรณะซ่อมแซม

ประวัติ พระเจดีย์วัดกู่เต้า จาก //www.photoontour.com/Gall_SlideShow_HTML/WatKutao/WatKutao24.htm

เจดีย์กู่เต้าสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นที่บรรจุอัฐิของราชวงค์พม่า พระเจ้าเม็งชานรธามังดุย ซึ่งเคยยกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยา แต่ถูกพระนเรศวรตีแตกพ่าย และยอมสวามิภักดิ์ในเวลาต่อมา ทำให้ตัดขาดจากพม่า และไม่อาจกลับคืนปิตุภูมิได้ จนสิ้นพระชนม์ที่เมืองเชียงใหม่ในปี พ.ศ. 2156 พระมหามังชวยเทา ซึ่งเป็นพระอนุชาได้จัดถวายเพลิงพระศพ และโปรดให้สร้างสถูปเจดีย์กู่เต้าเพื่อบรรจุอัฐิและพระอังคารธาตุ และโปรดให้สร้างวัดขึ้นมาในบริเวณดงก่อใผ่ จึงได้ชื่อว่าวัดเวฬุวันกู่เต้า ซึ่งชาวบ้านจะเรียกสั้นๆว่า วัดกู่เต้า ปัจจุบันมีชื่อเป็นทางการว่า วัดเวฬุวันวนาราม




8444.พระเจดีย์ วัดกู่เต้า กำลังอยู่ในระหว่างการบูรณะซ่อมแซม
:ภาพนี้ถ่ายในวันจันทร์ ที่ 14 เดือน ธันวาคม พ.ศ.2552


เจดีย์กู่เต้า

เป็นเจดีย์ลักษณะคล้ายผลแตงโม หรือ บาตรคว่ำซ้อนลดหลั่นขึ้นไปถึง 5 ชั้น อันเป็นสัญลักษณ์แทนพระพุทธเจ้า 5 พระองค์ในกัปนี้ ซึ่งประกอบด้วย พระกกุสันโธ พระโกนาคมโน พระกัสสโป พระโคตโม และ พระอริยเมตไตยโย

ฐานเจดีย์เป็นฐานเขียงสี่เหลี่ยมย่อมุม ถัดขึ้นไปเป็นฐานหน้ากระดานและฐานบัวรับส่วนที่เป็นบาตรคว่ำ ซึ่งมีซุ้มจระนำทั้ง 4 ด้าน ภายในประดิษฐานพระพุธรูปปางต่างๆ ภายนอกประดับกระจกสีรูปดอกไม้ดูงดงามประณีต โดยมียอดฉัตรแบบพม่า.






8450. พระเจดีย์ วัดกู่เต้า กำลังอยู่ในระหว่างการบูรณะซ่อมแซม




8452. พระเจดีย์ วัดกู่เต้า กำลังอยู่ในระหว่างการบูรณะซ่อมแซม




8453. พระเจดีย์ วัดกู่เต้า กำลังอยู่ในระหว่างการบูรณะซ่อมแซม





8454. พระเจดีย์ วัดกู่เต้า กำลังอยู่ในระหว่างการบูรณะซ่อมแซม






8403. หลังคาหลังเปียง แห่ง วัดกู่เต้า




8413.





8421. กุฏิ เจ้าอาวาส วัดกู่เต้า





8422.





8431. ถนน.หลังวัด ระหว่าง วัดกู่เต้า กับ สนามกีฬาเทศบาลฯ




8433. บ้านหลังวัด ระหว่าง วัดกู่เต้า กับ สนามกีฬาเทศบาลฯ




8434. ประตูเล็ก เข้าสู่สนามกีฬาเทศบาลฯ





8440.





8443. สวนใผ่ : สอดคล้องกับชื่อ เวฬุวนาราม





8447. โครงการเจาะบ่อบาดาลวัดกู่เต้า




8448.





8451.




8455. ศาลา กลองยาว





456. ศาลาเสื้อวัด




8457. กู่





Moonfleet ได้มาเยือน วัดกู่เต้า ( เวฬุวนาราม )
ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่

วัน จันทร์ ที่ 14 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2552




นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ นครแห่งชีวิตและความมั่งคั่ง


Create Date : 14 ธันวาคม 2552
Last Update : 31 ตุลาคม 2556 12:06:14 น. 3 comments
Counter : 5585 Pageviews.

 
วัดกู่เต้า

ตั้งอยู่ในเขตตำบลศรีภูมิ อำเภอเมืองฯ

วัดนี้ปรากฏชื่อครั้งแรกในสมัยพระยอดเชียงราย เมื่อปี พ.ศ. ๒๐๓๕ มีปรากฏชื่อวัดเวฬุวันกู่เต้า ในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ครั้งพม่ายกมาล้อมเมืองเชียงใหม่ เมื่อปี พ.ศ. ๒๓๐๕ พม่าได้มาตั้งทัพ ณ วัดแห่งนี้

เจดีย์ เดิมคงมีรูปแบบคล้ายเจดีย์ปล่อง แต่คงได้มีการบูรณะอย่างต่อเนื่อง จนกลายเป็นมีรูปร่างคล้ายบาตรพระหรือผลน้ำเต้าซ้อนลดหลั่นขึ้นไป ๕ ชั้น ประดับด้วยเครื่องดินเผาเคลือบประดับกระจกจีนสีเงิน และทอง สันนิษฐานว่า คงจะบูรณะเมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๔

พระพุทธรูปปูนปั้นปางมารวิชัย ศิลปแบบมัณทเล เป็นพระประธานในวิหาร

วัดกู่เต้าได้ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๘ และได้ประกาศกำหนดขอบเขตวัด เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๒

จาก //wikimapia.org/1744972/Goo-Tao-Temple



โดย: วัดกู่เต้า (moonfleet ) วันที่: 14 ธันวาคม 2552 เวลา:22:30:27 น.  

 
วัดกู่เต้า เดิมชื่อ วัดเวฬุวนาราม ตั้งอยู่ในตำบลศรีภูมิ ติดกับสนามกีฬาเทศบาลนครเชียงใหม่

มีเจดีย์ที่มี ลักษณะแปลกไปกว่าเจดีย์อื่น ๆ ในเมืองไทย

แต่มีตำนานเล่าว่า เจดีย์กู่เต้านี้เป็นที่บรรจุอัฐิของ เจ้าฟ้าสารวดี ซึ่งเป็นราชโอรสของพระเจ้าบุเรงนอง ซึ่งมาครองเมืองเชียงใหม่ในระหว่างปี พ.ศ. 2122-2150

ลักษณะของเจดีย์องค์นี้คล้ายกับนำผลแตงโมมาวางซ้อนกันไว้หลาย ๆ ลูก ชาวบ้าน จึงเรียกว่า "เจดีย์กู่เต้า"

Source:http
://travel.sanook.com/north/chiangmai/chiangmai_02590.php


โดย: วัดกู่เต้า (moonfleet ) วันที่: 14 ธันวาคม 2552 เวลา:22:31:55 น.  

 
ได้ไปวัดนี้มาแล้ว ศักดิ์สิทธิ์มาก และก็สวยมากด้วย
โชคดีมากเลย ที่เพื่อนแนะ นำ ให้ไปวัดแห่งนี้ เพราะตัวเองอยู่ไกลมาก อยากบอกเพื่อน ๆ ว่า ให้มาเถอะ
เที่ยวหน้า กลับเมืองไทยแล้วจะไปศักการะบูชาอีก

จากคนไกล เยอร์มัน
จิรารักษ์ อินทนพิชิต


โดย: จิรารักษ์ อินทนพิชิต IP: 84.168.50.112 วันที่: 4 มกราคม 2553 เวลา:13:16:21 น.  

ชื่อ :
Comment :
  *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

moonfleet
Location :
เชียงใหม่ Thailand

[ดู Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 25 คน [?]




ไม่มีสิ่งใดจะเกิดขึ้นมาได้ หากไม่เคยเป็นความฝันมาก่อน
New Comments
Friends' blogs
[Add moonfleet's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.