Group Blog
 
All Blogs
 

blog KU-ABCแนวคิดการเกษตรเชิงพหุภารกิจ และมาตรการการเกษตรเชิงอนุรักษ์

  blog KU-ABCแนวคิดการเกษตรเชิงพหุภารกิจและมาตรการการเกษตรเชิงอนุรักษ์
                                                                          ดร.ชพิกา สังขพิทักษ์



บทความนี้นาเสนอแนวคิดการเกษตรเชิงพหุภารกิจ
(multifunctional agriculture) ซึ่งกาลังได้รับความสนใจ
จากการกาหนดนโยบายเกษตรของประเทศในกลุ่มที่พัฒนาแล้วโดยเฉพาะ
ในกลุ่ม OECD (Organization for Economic Cooperation and Development)
โดยเห็นว่าภาคการเกษตรนอกเหนือจากทาหน้าที่หลักในการเป็นแหล่งผลิตอาหาร
และเส้นใยรวมถึงการสร้างความมั่นคงและความปลอดภัยในอาหารแล้ว
ยังทาหน้าที่ที่เอื้อประโยชน์ต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติที่สาคัญ คือทรัพยากรดินและน้า
การคงไว้ซึ่งความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่เกษตร
และยังมีภารกิจเชื่อมโยงที่ส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมชนบทเกษตร
อาทิเช่น โอกาสการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรจากการเพิ่มคุณค่า
ต่อภูมิทัศน์เกษตร การรักษาไว้ซึ่งมรดกทางวัฒนธรรมในท้องถิ่น เป็นต้น
............................................................................................................................

ซึ่งแนวคิดการเกษตรเชิงพหุภารกิจสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม
คือกลุ่มที่มีมุมมองจากด้านอุปสงค์หรือเป็นการพิจารณาจากภารกิจหรือหน้าที่
(function) function) function) function) และกลุ่มที่มีมุมมองจากด้านอุปทาน
ที่พิจารณาจากผลได้ (output) output) output) output)
ซึ่งในบทความนี้จะอธิบายถึงแนวคิดทั้งสองแนวคิดดังกล่าว
รวมถึงการนาเสนอมาตรการเชิงอนุรักษ์เพื่อส่งเสริมการเกษตรเชิงพหุภารกิจ
ในมุมมองจากด้านอุปสงค์ การเกษตรเชิงพหุภารกิจจะมุ่งเน้นที่ภาระกิจ
หรือหน้าที่ของภาคการเกษตรในการให้บริการแก่สังคม ซึ่งประกอบไปด้วย
หน้าที่ทางการผลิต หน้าที่ต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
และหน้าที่ต่อเศรษฐกิจและสังคม โดยหน้าที่เหล่านี้จะต้องได้รับการระบุที่ชัดเจน
เพื่อที่จะเป็นพื้นฐานในการประเมินคุณค่าทางเศรษฐศาสตร์ที่สังคม
ได้รับจากการเกษตรเชิงพหุภารกิจ (Van Huylenbroeck et al.,  2007 )
............................................................................................................................

ภารกิจหรือหน้าที่ (function)
1. ภารกิจด้านการผลิต
ภารกิจหลักที่สาคัญของภาคการเกษตรในด้านการผลิต
ได้แก่การเป็นแหล่งผลิตอาหารและเส้นใยเพื่อตอบสนอ
งต่อความต้องการของผู้บริโภค ในปัจจุบันระบบการผลิตการเกษตร
เป็นการผลิตแบบเข้มข้น โดยผ่านนวัตกรรมทางเทคโนโลยีภายใต้
การปฏิวัติเขียวทั้งในรูปของพันธุ์พืชที่ให้ผลผลิตสูง การใช้เครื่องจักรกล
การใช้สารเคมีทางการเกษตร และระบบการปลูกพืชเชิงเดี่ยว
ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีพันธุวิศวกรรม ส่งผลต่อการเพิ่มปริมาณของผลผลิต
และคุณภาพของผลผลิตในแง่รูปลักษณ์ที่สวยงาม ปลอดจากการรบกวนของโรค
และแมลงศัตรูพืช ซึ่งมีบทบาทสาคัญต่อความมั่นคงของอุปทานด้านอาหารโดยรวม
รวมถึงเป็นการเพิ่มความสามารถในการจัดหาอาหารและการลดราคาอาหาร
ผ่านทางกลไกของตลาดภายในประเทศและระหว่างประเทศได้
............................................................................................................................

แต่ข้อปัญหาในประเด็นด้านความไม่มั่นคงของอาหาร
โดยเฉพาะประเด็นด้านความสามารถในการเข้าถึงอาหารยังถูกพบเห็นในทุกระดับ
ทั้งในระดับภูมิภาคและท้องถิ่นหรือในระดับประเทศบางพื้นที่โลก
และในขณะเดียวกันในประเด็นด้านความไม่ปลอดภัยจากอาหาร
ที่นามาบริโภคก็เป็นสิ่งที่ผู้บริโภคให้ความสนใจ เพราะผู้บริโภคอาจได้รับผลกระทบ
โดยตรงต่อสุขภาพจากการบริโภคผลผลิตที่มีการปนเปื้อนของสารเคมีเกษตร
ตลอดจนความเสี่ยงในเชิงสุขภาพจากการบริโภคผลผลิตที่ผ่านการตัดต่อทางพันธุกรรม
............................................................................................................................

ดังนั้นในบริบทของการเกษตรเชิงพหุภารกิจจึงเป็นภาระกิจที่สนับสนุน
และส่งเสริมทางเลือกของรูปแบบการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
อาทิเช่น การเกษตรอินทรีย์ การเกษตรแบบผสมผสาน
การใช้สารชีวภาพทดแทนสารเคมีในการจัดการศัตรูพืช
ส่งผลต่อความมั่นคงทางอาหารในระดับท้องถิ่น
และก่อให้เกิดผลผลิตที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค
อีกทั้งยังช่วยลดผลกระทบด้านลบต่อสุขภาพของเกษตรกรอีกด้วย
............................................................................................................................

2. ภารกิจด้านสิ่งแวดล้อม
การผลิตทางการเกษตรและสิ่งแวดล้อมมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด
โดยกิจกรรมการผลิตทางการเกษตรส่งผลกระทบโดยตรงต่อสิ่งแวดล้อม
ทั้งทางบวกและทางลบ ในทางกลับกันสภาพแวดล้อม
ซึ่งนับเป็นปัจจัยการผลิตที่สาคัญ เช่น ทรัพยากรดิน
และน้าจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อภาคการเกษตร
ความเสื่อมโทรมในทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
จะส่งผลต่อการผลิตทางการเกษตรทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ
............................................................................................................................

ดังกรณีตัวอย่างของรูปแบบการผลิตที่มีการใช้ที่ดินอย่างเข้มข้น
และพึ่งพาสารเคมีจานวนมากจะนาไปสู่ความเสื่อมสภาพในทรัพยากรดิน
และน้าจากการปนเปื้อนของสารเคมี เป็นต้น
นอกจากนั้นยังมีผลต่อความหลากหลายทางชีวภาพทั้งในดินและในน้า
ส่งผลต่อระบบการเกษตรที่ไม่ยั่งยืนในระยะยาว
อีกทั้งยังเป็นที่อภิปรายกันอย่างกว้างขวางว่า
กิจกรรมการเกษตรเป็นแหล่งก่อให้เกิดก๊าซเรือนกระจก
อาทิเช่น การทานาข้าวแบบเข้มข้นและการปศุสัตว์
เป็นแหล่งก่อให้เกิดก๊าซมีเทน (Methane: CH )
อีกทั้งการปรับเปลี่ยนจากพื้นที่ป่ามาใช้เพื่อการเกษตร
ก็ได้ส่งผลต่อการปลดปล่อยคาร์บอนเข้าสู่บรรยากาศ
ซึ่งมีผลต่อเนื่องไปสู่การเพิ่มสูงขึ้นของอุณหภูมิโลก
หรือที่เรียกโดยทั่วไปว่าโลกร้อน เมื่อเทียบกับการผลิตทางการเกษตร
ที่เข้มข้นและพึ่งพาสารเคมี การสนับสนุนระบบเกษตรอินทรีย์
ซึ่งเป็นรูปแบบการเกษตรภายใต้แนวคิดการเกษตรเชิงพหุภารกิจ
จะช่วยเก็บกักคาร์บอนในดินและลดการก่อให้เกิดก๊าซเรือนกระจก
ส่งผลกระทบเชิงบวกต่อระบบนิเวศเกษตรและการอนุรักษ์สภาพแวดล้อม
นับเป็นวิธีปฏิบัติการเกษตรแบบยั่งยืน ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมโดยรวมทั้งหมด
............................................................................................................................

3. ภารกิจด้านเศรษฐกิจและสังคม
คุณค่าจากภูมิทัศน์เกษตรการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม
และการพัฒนาชนบท นับว่าเป็นประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม
ที่ได้จากการเกษตรเชิงพหุภารกิจ องค์ประกอบของภูมิทัศน์เกษตรครอบคลุม
ทั้งปัจจัยทางธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น อาทิเช่น
การทาการเกษตรแบบขั้นบันได การทาแนวกาแพงหิน
เพื่อแบ่งเขตคลองและลาเหมืองชลประทาน เป็นกิจกรรมร่วมระหว่างมนุษย์
และธรรมชาติก่อให้เกิดคุณค่าในรูปของภูมิทัศน์เกษตรที่สวยงาม
ซึ่งมีศักยภาพในการเป็นแหล่งเสริมสร้างเศรษฐกิจชนบทจากการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
(Groenfeldt , 2009 )
............................................................................................................................

อย่างไรก็ตามบางรูปแบบของกิจกรรมการบริหารจัดการของมนุษย์
อาจส่งผลกระทบในทางลบ ตัวอย่างเช่น การเปลี่ยนจากการทาเกษตรแบบขั้นบันได
เพื่อทาการเพาะปลูกพืชที่มีคุณค่าสูงภายใต้เรือนกระจกอาจส่งผล
ต่อการเพิ่มขึ้นในรายได้ทางเศรษฐกิจที่เกษตรกรได้รับ
ในขณะเดียวกันก็ส่งผลกระทบในทางลบจากการสูญเสียคุณค่าจากภูมิทัศน์
เกษตรและมรดกทางวัฒนธรรมของภาคการเกษตร ผลได้ (output)
ของการเกษตรเชิงพหุภารกิจ
............................................................................................................................

มุมมองด้านอุปทานของแนวคิดการเกษตรเชิงพหุภารกิจ
มุ่งเน้นที่ผลได้ (output)  ที่สังคมได้รับจาการเกษตรเชิงพหุภารกิจ
ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
ผลได้หรือสินค้าและบริการที่ผ่านระบบตลาดและที่ไม่ผ่านระบบตลาด
โดยสินค้าและบริการที่ผ่านระบบตลาดหมายถึง
ผลผลิตทางการเกษตรทั้งพืชอาหารและเส้นใยที่ผ่านระบบตลาด
และราคาหรือเรียกว่า เป็นสินค้าเอกชน (private goods oods)
............................................................................................................................

ในขณะที่ความมั่นคงและความปลอดภัยในอาหาร
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
คุณค่าจากภูมิทัศน์เกษตรและการคงไว้ซึ่งมรดกทางวัฒนธรรมการเกษตร
นับเป็นสินค้าและบริการที่ไม่ผ่านระบบตลาดหรือเรียกได้ว่าเป็น
สินค้าสาธารณะ (public goods)  ซึ่งในทางเศรษฐศาสตร์มองว่าสินค้า
และบริการทั้งที่ผ่านระบบตลาดและไม่ผ่านระบบตลาด
มีการร่วมกันในการผลิต  โดยส่งผลต่อประเด็นเกี่ยวเนื่องที่สาคัญคือ
ผลกระทบภายนอก  สิทธิในการถือครอง  และต้นทุนธุรกรรม 
ซึ่งเป็นพื้นฐานสาหรับการกาหนดมาตรการเชิงนโยบาย
เพื่อสนับสนุนการเกษตรเชิงพหุภารกิจ
............................................................................................................................

1. สินค้าเอกชน สินค้าสาธารณะ และการร่วมกันของการผลิต
จากแนวคิดของ Ostrom et al. (1994 ) ความสามารถในกาการกีดกัน 
และการแข่งขัน (rivalry)  ในการบริโภค เป็นประเด็นหลักที่แสดงให้เห็นถึง
ความแตกต่างระหว่างสินค้าเอกชนและสินค้าสาธารณะ
สินค้าเอกชนมีลักษณะที่สามารถกีดกัน (excludability) )
ในการบริโภค หมายถึงการบริโภคของบุคคลหนึ่ง ทาให้บุคคลอื่นๆ
ไม่สามารถบริโภคสินค้าและบริการนั้นได้ ในทางตรงข้ามสินค้าสาธารณะ
จะมีคุณลักษณะที่ไม่สามารถกีดกันการบริโภค
โดยการบริโภคของบุคคลหนึ่งไม่สามารถกีดกันการบริโภคสินค้า
และบริการนั้นๆ ของบุคคลอื่นได้ นอกจากนี้สินค้าสาธารณะ
ยังมีลักษณะที่ไม่มีการแข่งขันในการบริโภค
เนื่องจากการบริโภคของบุคคลหนึ่งไม่มีผลต่อการลดลงในสินค้า
และบริการสาหรับบุคคลอื่นๆ (Vatn Vatn ,2002 )
ในบริบทของการเกษตรเชิงพหุภารกิจ นอกเหนือจากสินค้าเอกชนแล้ว
สินค้าและบริการที่สังคมได้รับจาการเกษตรเชิงพหุภารกิจ
จัดว่าเป็นสินค้าสาธารณะที่มีลักษณะทั้งไม่สามารถกีดกันการบริโภค
และที่ไม่มีการแข่งขันในการบริโภค ส่งผลให้เกิดความล้มเหลวของระบบตลาด
ในการดาเนินการจัดสรรทรัพยากรและการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ
การร่วมกันของการผลิตในการเกษตรเชิงพหุภารกิจ
สามารถอธิบายในเชิงเทคนิคได้ว่า เป็นรูปแบบการเกษตร
ที่ก่อให้เกิดผลผลิตที่หลากหลาย อาทิเช่น
การเกษตรแบบปลูกพืชหมุนเวียนส่งผล
ต่อการปรับปรุงคุณภาพของทรัพยากรดิน ซึ่งนับเป็นสินค้าและบริการ
ที่ไม่ผ่านระบบตลาด การร่วมกันทางการผลิตในทางเศรษฐศาสตร์
หมายถึงความหลากหลายในสินค้าและบริการที่ได้จากการใช้ปัจจัยการผลิต
โดยสินค้าและบริการนั้นๆ อาจมีรูปแบบของการแข่งขันหรือส่งเสริมกัน
ในกรณีของการเกษตรเชิงพหุภารกิจที่มีการร่วมกันทางการผลิตที่ส่งเสริมกัน
อาทิเช่น การเกษตรอินทรีย์ ผลผลิตที่ได้จากการใช้ทรัพยากรที่ดิน
...........................................................................................................................

นอกจากจะอยู่ในรูปของผลผลิตเกษตรอินทรีย์ที่จัดว่าเป็นสินค้าเอกชนแล้ว
ยังได้มาซึ่งสินค้าสาธารณะ ในรูปของการอนุรักษ์ทรัพยากรดินและน้า
ตลอดจนภูมิทัศน์เกษตรที่สวยงาม เป็นต้น
............................................................................................................................

2. ผลกระทบภายนอก สิทธิในการถือครอง และต้นทุนธุรกรรม
ในการเจราต่อรองผลกระทบภายนอก (externality) )
หมายรวมทั้งผลกระทบทั้งเชิงบวกและลบต่อบุคลหรือสังคมโดยรวม
ที่มิได้เกี่ยวข้องโดยตรง
กับการดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
และผลกระทบดังกล่าวมิได้รับการให้มูลค่า
............................................................................................................................

สืบเนื่องจากความล้มเหลวของระบบตลาด
ส่งผลให้มีการผลิตสินค้าและบริการที่ก่อให้เกิดผลกระทบภายนอก
เชิงลบเกินกว่าที่ควร เนื่องจากต้นทุนหรือมูลค่าเชิงลบของผลกระทบภายนอกดังกล่าว
มิได้ถูกนาเข้ามารวมเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนการผลิต
ในทางกลับกันมูลค่าของผลกระทบภายนอกเชิงบวก
ก็มิได้ถูกนาเข้ามาพิจารณา ส่งผลให้มีการผลิตสินค้าและบริการน้อยกว่าที่ควร
โดยการเกษตรเชิงพหุภารกิจที่ก่อให้เกิดสินค้าและบริการในรูปของผลกระทบภายนอก
เชิงบวกที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมควรได้รับการสนับสนุนให้มีการผลิต
ถึงระดับที่สังคมต้องการตามแนวคิดของ  Coase(1960 )
ความล้มเหลวของตลาดในกรณีของผลกระทบภายนอกทั้งเชิงบวกและลบ
สามารถแก้ไขได้หากมีการกาหนดสิทธิถือครองในทรัพย์สิน
(property rights)  อย่างสมบูรณ์และชัดเจนภายใต้เงื่อนไขของต้นทุนธุรกรรม
ในการเจรจาต่อรอง (transaction cost) ที่ต่าหรือเป็นศูนย์
ตัวอย่างเช่นการปนเปื้อนของทรัพยากรน้าและการลดลงในความหลากหลายทางชีวภาพ
จากการใช้สารเคมีการเกษตรอย่างเข้มข้นในระบบการทาฟาร์ม
นับเป็นผลกระทบภายนอกเชิงลบต่อสังคม
............................................................................................................................

หากมีการกาหนดที่ชัดเจนต่อสิทธิ์ในสินค้าสาธารณะ
ในกรณีนี้คือ ทรัพยากรน้าและความหลากหลายทางชีวภาพ
เป็นสินทรัพย์ของสังคม ดังนั้นผู้ก่อให้เกิดผลกระทบเชิงลบต้องรับผิดชอบ
และชดเชยให้แก่สังคมซึ่งนับเป็นต้นทุนหนึ่งในการผลิต
ส่งผลต่อการลดลงของการผลิตสินค้าและบริการที่ก่อให้เกิดผลกระทบ
ภายนอกเชิงลบและอาจนามาซึ่งการปรับเปลี่ยนไปสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ในทางกลับกัน สินค้าและบริการสาธารณะเชิงบวกที่สังคม
ได้รับจากการผลิตทางการเกษตรเชิงพหุภารกิจ
ต้องได้รับการให้มูลค่าที่เหมาะสมและจูงใจให้เกิดการผลิตทางการเกษตรเชิงอนุรักษ์อย่างยั่งยืน
............................................................................................................................

มาตรการการเกษตรเชิงอนุรักษ์เพื่อส่งเสริมการเกษตรเชิงพหุภารกิจ
มาตรการการเกษตรเชิงอนุรักษ์ เป็นมาตรการที่นามาใช้
เพื่อส่งเสริมให้เกิดการปรับเปลี่ยนระบบการผลิตทางการเกษตร
จากการเกษตรแบบเข้มข้นที่พึ่งพาสารเคมีไปสู่การเกษตรเชิงพหุภารกิจ
โดยมาตรการการเกษตรเชิงอนุรักษ์มีหลากหลายรูปแบบ
ประกอบด้วยมาตรการการให้แรงจูงใจทางเศรษฐศาสตร์
............................................................................................................................

มาตรการการกากับและควบคุม มาตรการให้การสนับสนุน
ภายใต้ข้อกาหนด มาตรการเชิงชุมชนและมาตรการเสริม
ในทางปฏิบัติการผสมผสานของมาตรการเชิงนโยบายเหล่านี้
โดยพิจารณาปัจจัยทั้งทางด้านกายภาพเศรษฐกิจและสังคม
ของแต่ละพื้นที่แต่ละประเทศ จะนาไปสู่การปรับเปลี่ยน
ไปสู่การเกษตรเชิงพหุภารกิจที่ยั่งยืน ส่งผลต่อการผลิตสินค้า
และบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและส่งผลกระทบภายนอกเชิงบวกต่อสังคม
............................................................................................................................

1. มาตรการการให้แรงจูงใจทางเศรษฐศาสตร์
มาตรการการให้แรงจูงใจทางเศรษฐศาสตร์
มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนให้เกิดการผลิตสินค้า
และบริการสาธารณะที่ส่งผลเชิงบวกต่อสังคม
โดยการสนับสนุนทางการเงินในรูปแบบต่างๆ
ในขณะเดียวกันมาตรการทางภาษีและค่าธรรมเนียม
ได้นามาใช้สร้างแรงจูงใจในการลดและจัดการการผลิต
ที่ก่อให้เกิดผลกระทบภายนอกเชิงลบต่อสังคม
............................................................................................................................

1.1  การให้การสนับสนุนทางการเงิน
การให้การสนับสนุนทางการเงิน เป็นการจูงใจให้เกษตรกร
หันมาผลิตในรูปแบบการเกษตรเชิงอนุรักษ์
ส่งผลเชิงบวกต่อเศรษฐกิจและสังคมโดยรวม
โดยประเภทของการให้การสนับสนุนทางการเงิน
ประกอบด้วย มาตรการให้เงินสนับสนุนตามแนวทางปฏิบัติในการทาฟาร์ม
............................................................................................................................

มาตรการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจูงใจให้เกษตรกรปรับเปลี่ยน
จากการเกษตรแบบพึ่งพาสารเคมีไปสู่วิธีปฏิบัติการดาเนินกิจกรรม
การทาฟาร์มเชิงอนุรักษ์ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม อาทิเช่น
การปฏิบัติทางการเกษตรอินทรีย์ การดาเนินกิจกรรมการอนุรักษ์ดินและน้า
ตลอดจนความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่เกษตร
การเกษตรแบบผสมผสาน ซึ่งเป็นรูปแบบการให้เงินสนับสนุนโดยตรง
แก่เกษตรกรที่ได้มีการนาไปใช้ในหลายประเทศกลุ่มสมาชิกโออีซีดี

ที่มาข้อมูล:สมาคมเศรษฐศาสตร์เกษตรแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
............................................................................................................................
เตือนใจ เจริญพงษ์ กรรมการชมรมวิชาการนิสิตเก่า มก.
ผู้ post เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม  2562
มี ดร.ประมุข เพ็ญสุต KU 33 เป็นประธาน
( KU ALUMNI BRAIN CLUB ) KU-ABC “




 

Create Date : 12 ธันวาคม 2562    
Last Update : 15 ธันวาคม 2562 19:19:09 น.
Counter : 626 Pageviews.  

blog KU-ABC นวัตกรรม Smart Para Rubber Industries

               blog KU-ABC นวัตกรรม Smart Para Rubber Industries
                                                               รศ.ดร.ปิติ กันตังกุล

     
นวัตกรรมที่จะนำเสนอต่อไปนี้ มีพื้นฐานมาจากองค์ความรู้ด้านต่างๆ
ได้แก่ ความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ด้านธุรกิจการเกษตร
ด้านนิเวศการเกษตรที่มีพลังงานจากดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง
มีการถ่ายทอดพลังงานผ่านกระบวนการสังเคราะห์แสง
เป็นเรื่องของวัฏจักรคาร์บอนและพลังงาน และด้านปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
............................................................................................................................

จากพื้นความรู้ด้านต่างๆ เหล่านี้
นำมาผสมผสานกับแนวนโยบายของรัฐบาล ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเกษตรแปลงใหญ่
เรื่องบริษัทประชารัฐ และเรื่องโรงไฟฟ้าชุมชน ผนวกกับแรงบันดาลใจ
ของผู้เขียนที่ได้ใช้ชีวิตการทำงานอยู่ในภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
และทรัพยากร ม.เกษตรศาสตร์ ที่มีการเรียนการสอนในสาขาวิชาธุรกิจการเกษตรด้วย
............................................................................................................................

และเมื่อเกษียณอายุมาเป็นข้าราชการบำนาญมากว่า 7 ปี
ก็ได้มีโอกาสมาประกอบอาชีพเกษตรกรรมเต็มตัว
ผู้เขียนได้รับการปลูกฝังเรื่องการเกษตรกรรมมาตั้งแต่สมัยยังเป็นเด็ก
การเกษตรจึงอยู่ในสายเลือด ประกอบกับในช่วงเวลา 5-6 ปีที่ผ่านมานี้
ราคายางพาราตกต่ำมาโดยตลาด ส่วนราคาปาล์มน้ำมันก็ขึ้นๆ ลงๆ
บางช่วงขึ้นไปถึง 4-5 บาท บางช่วงตกต่ำมาอยู่ที่ระดับ 2 บาทกว่าๆ
............................................................................................................................

จากที่มีโอกาสได้สัมผัสกับประชาชนหรือเกษตรกรรายย่อย
รู้ได้เลยถึงความยากลำบากในการดำรงชีพของพวกเขาในช่วงเวลา 5-6 ปีที่ผ่านมา
สิ่งที่กล่าวถึงเหล่านี้ จึงได้ผลักดันให้ผู้เขียนครุ่นคิด
ว่าแล้วเราจะแก้ปัญหาเรื่องการครองชีพของเกษตรกรชาวสวน
ในภาวะราคาผลผลิตตกต่ำได้อย่างไร ที่เป็นการแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน
ไม่ให้สภาวการณ์แบบนี้วนเวียน ไปๆ มาๆ ไม่รู้จักจบสิ้น
............................................................................................................................

ผู้เขียนขอเน้นว่านวัตกรรม Smart Para Rubber Industries
ที่นำเสนอนี้ ยอมรับในเรื่องกลไกตลาด และผลกระทบจากสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ
ในตลาดโลก และไม่เห็นด้วยที่รัฐบาลจะนำเงินภาษีของคนไทยทั้งประเทศ
มาแทรกแซงตลาดด้วยการรับซื้อยางพาราและผลผลิตทางการเกษตรอื่นๆ
ในราคาที่สูงกว่าราคาที่ซื้อขายกัน ในตลาด ประเด็นก็คือแล้วเราจะทำอย่างไร
นโยบายประกันรายได้พืชผลทางการเกษตร
ที่รัฐบาลกำลังดำเนินการอยู่ อาจช่วยบรรเทาความเดือดร้อน
ของชาวสวนได้ในระดับหนึ่ง
............................................................................................................................

แต่ก็คงไม่สามารถดำเนินการไปได้หลายๆ ปี ทราบเท่าที่ราคาพืชผลต่ำกว่าราคาตลาด
ผู้เขียนขอเข้าสู่นวัตกรรม Smart Para Rubber Industries
ซึ่งไม่ได้เน้นไปที่มาตรการที่จะทำให้เกษตรกรชาวสวนได้รับราคาที่สูงขึ้น
แต่เน้นไปที่การทำให้เกษตรกรชาวสวน
ได้ผลประโยชน์สูงขึ้นจากการประกอบอาชีพสวนยางพารา
ยกระดับมาตรฐานการครองชีพที่สูงขึ้น โดยใช้หลัก Profit sharing
จากการเป็นหุ้นส่วนในองค์กรทางธุรกิจการเกษตรที่จัดตั้งขึ้น
ซึ่งแตกต่างจากระบบแบ่งปันผลประโยชน์ในอุตสาหกรรมน้ำตาล
............................................................................................................................

แนวทางการดำเนินการตามนวัตกรรมนี้ต้องใช้การพัฒนา
ที่เรียกว่า Area Base Development เป็นโครงการที่ใช้มาตรการเกษตรแปลงใหญ่
จัดตั้งเป็นบริษัทประชารัฐ หรือองค์กรทางธุรกิจการเกษตรที่เหมาะสม
มีเกษตรกรชาวสวน และภาคธุรกิจเอกชนเข้ามีส่วนร่วมเป็นพันธมิตรทางธุรกิจกัน
(Business partnerships) เกิดสิ่งที่เรียกว่า Economy of scope
มีการนำ IT มาใช้ในการสื่อสาร การบริหารจัดการภายในองค์กร
และใช้การทำธุรกิจแบบ Online เกษตรกรชาวสวน
ก็จะได้รับการยกระดับขึ้นมา เป็น Smart farmer และบางส่วนเป็นเกษตรกร CEO
มีภาครัฐเข้ามาสนับสนุนด้านวิชาการ ข้อมูลและความรู้ด้านต่างๆ
รวมถึงเรื่องการเงินในระยะเริ่มแรก
(อาจให้กู้แบบปลอดดอกเบี้ย หรือดอกเบี้ยต่ำ)
กำหนดพื้นที่ที่มีการทำสวนยางพาราเป็นหลัก อยู่ในขอบเขตพื้นที่ใกล้เคียงกัน
และมีขนาดพื้นที่ของโครงการที่มีขนาดพอเหมาะไม่เล็กหรือใหญ่เกินไป
เพื่อให้เกิดสิ่งที่เรียกว่า Economy of scale
...........................................................................................................................

ยกตัวอย่างให้มีพื้นที่ขององค์กร (บริษัทประชารัฐ) 1 แสนไร่
มีเกษตรกรชาวสวนยางประมาณ 5,000 คน
มีผลผลิตยางพาราประมาณ 2.5 – 3.0 พันตัน/ปี
(แต่ละแห่งไม่จำเป็นต้องมีขนาดพื้นที่เท่ากัน มากหรือน้อย
ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมในหลายๆ ปัจจัยที่ต้องทำการศึกษาต่อไป)
............................................................................................................................

การบริหารจัดการต้องดำเนินธุรกิจในลักษณะของการบูรณาการ
ตามโซ่อุปทานตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ จนถึงปลายน้ำ อย่างครบวงจร
มีการบริหารจัดการเชิงระบบธุรกิจขององค์กรในระดับต้นน้
ำจะเกี่ยวข้องกับเกษตรกรชาวสวนยางในฐานะผู้ผลิตวัตถุดิบ
ได้แก่ยางแผ่นดิบ น้ำยางสด และยางก้นถ้วย ที่จะป้อนไปสู่ธุรกิจกลางน้ำ
ผ่านฝ่ายรวบรวม (อาจมีสหกรณ์การเกษตรและพ่อค้าระดับท้องถิ่นในพื้นที่
เข้ามาเป็นพันธมิตรทางธุรกิจด้วย) มีฝ่ายวิชาการในการเข้าไปช่วยเกษตรกร
ชาวสวนในการจัดการสวนให้ถูกหลักและได้รับรองการจัดการสวน
ซึ่งปัจจุบันเริ่มมีการให้ความสำคัญกับการจัดการสวนที่ดีเป็นมิตร
กับสิ่งแวดล้อมตาม “มาตรฐานการจัดการสวนป่าอย่างยั่งยืน”
ซึ่งอาจมีการหยิบยกเรื่องนี้ในการกีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษีด้วย
ซึ่งจะช่วยให้เกษตรกรชาวส่วนที่เป็นหุ้นส่วนขององค์กรมีผลผลิตที่สูงขึ้น
ต้นทุนต่อหน่วยต่ำลงธุรกิจขององค์กรในระดับกลางน้ำได้แก่
การแปรรูปยางขั้นกลาง เช่น ยางแผ่นรมควัน ยางแท่ง และน้ำยางข้น
(องค์กรแต่ละแห่งอาจเลือกแปรรูปอย่างใดอย่างหนึ่ง
ตามความเหมาะสมของวัตถุดิบและความต้องการที่สอดคล้อง
กับการแปรรูเป็นผลิตภัณฑ์สุดท้ายขององค์กร)
............................................................................................................................

ธุรกิจปลายน้ำ นำวัตถุดิบแปรรูปขั้นกลางมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้าย
ตามความเหมาะสม เช่น ยางล้อรถยนต์และจักรยานยนต์ ถุงมือยาง
เครื่องมือและเครื่องใช้ต่างๆ หรือผลิตภัณฑ์อื่นๆ โดยดำเนินการเองภายในองค์กร
หรือดำเนินการในลักษณะเป็นพันธมิตรทางธุรกิจกับบริษัทยักษ์ใหญ่
ที่ทำธุรกิจผลิตผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้าย องค์ประกอบที่สำคัญ
และขาดไม่ได้ในธุรกิจปลายน้ำ ก็คือโรงไฟฟ้าชีวมวลชุมชนขององค์กรนั้นๆ
ที่เป็นนโยบายของกระทรวงพลังงานอยู่แล้ว
(เป็นการดำเนินการที่สอดคล้องกับวัฏจักรคาร์บอร์น และพลังงาน)
..........................................................................................................................

โดยใช้เศษวัสดุไม้ยางพารา เศษยาง และยางตกเกรด มาเป็นเชื้อเพลิง
และอาจจำเป็นต้องนำยางมาใช้เป็นเชื้อเพลิง ในกรณีที่อุปทานผลผลิตยาง
มีมากกว่าอุปสงค์ เพื่อรักษาสมดุลย์ของอุปสงค์และอุปทาน
ทั้งนี้อาจนำผลปาล์มสดทั้งทลายมาเป็นเชื้อเพลิงด้วยก็ได้
เมื่ออุปทานปาล์มน้ำมันมีมากกว่าอุปสงค์ เพื่อรักษาสมดุลของอุปสงค์
และอุปทานปาล์มน้ำมัน ทั้งนี้ ไฟฟ้าเป็นสินค้าที่มีความต้องการสูง
ขายได้ราคาแน่นอน เกษตรกรชาวสวนยางที่เป็นหุ้นส่วน
อาจซื้อไฟฟ้าในราคาที่มีส่วนลด เป็นสวัสดิการแก่สมาชิก
............................................................................................................................

นอกจากนี้ยังต้องมีองค์ประกอบที่มีการทำธุรกิจแปรรูปไม้ยางพารา
บางแห่งอาจทำธุรกิจผลิตเฟอร์นิเจอร์ถ้ามีแรงงานมีฝีมือ
ทั้งนี้ไม้ตกเกรดและเศษไม้ยางพาราสามารถนำไปใช้เป็นเชื้อเพลิง
ในการผลิตไฟฟ้า ได้ผลกำไรที่เกิดขึ้นตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ
และปลายน้ำ จะต้องจัดการผ่านระบบ Profit sharing
ที่มีการจัดสรรผลประโยชน์ย้อนกลับมาจากปลายน้ำไปให้เกษตรกรสมาชิก
ที่ทำธุรกิจต้นน้ำด้วย
............................................................................................................................

หัวใจสำคัญที่เป็นปัจจัยแห่งความสำเร็จ ก็คือ
การดำเนินธุรกิจตาม Smart industry นี้ ต้องมีภูมิคุ้มกัน
ยืนอยู่ได้ด้วยตัวเอง เป็นระบบธุรกิจการเกษตรกึ่งปิด (Semi-closed system)
ดำเนินการร่วมกันเป็นพันธมิตรทางธุรกิจ (Business partnerships)
โดยออกแบบให้ได้รับผลกระทบจากปัจจัยภายนอก เช่น
สภาวะตลาดโลก น้อยที่สุด หรือไม่ได้รับผลกระทบเลย
............................................................................................................................

นวัตกรรมนี้ถ้าสามารถดำเนินการได้สำเร็จ เจ้าหน้าที่ กยท.
ในพื้นที่ของโครงการคงต้องเปลี่ยนสถานะไปเป็นพนักงานของบริษัทประชารัฐ
หรือองค์กรดังกล่าวนี้ เพราะเมื่อดำเนินการได้สำเร็จ การปลูกยางทดแทน
ก็สามารถดำเนินการได้ภายใต้องค์กรนี้โดยอิสระ มีระบบการจัดเก็บเงินไว้
เป็นกองทุนเพื่อส่งเสริมการปลูกทดแทนเป็นของตนเอง
และจะเกิดเสื้อตัวที่ 6, 7, 8, 9, …… ไปเรื่อยๆ
ในวงการธุรกิจยางพารา ลดการผูกขาด เพิ่มอำนาจการต่อรอง
ให้เกษตรกรชาวสวนยางพารา
............................................................................................................................

นวัตกรรม Smart Industries นี้ สามารถนำไปดัดแปลงใช้ได้
กับอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมัน และพืชทางการเกษตรอื่นๆ เกือบทุกชนิด
สามารถพัฒนาเป็นองค์กรทางธุรกิจการเกษตรลูกผสม (Hybrid)
โดยบูรณาการธุรกิจปาล์มน้ำมันเข้ามาร่วมกับธุรกิจยางพารา
ทั้งนี้ เมื่อมีการดำเนินการจัดตั้งองค์กรในลักษณะนี้ได้สำเร็จในหลายๆ
พื้นที่แล้ว
.....................................................................................................................

องค์กรแต่ละแห่งจะต้องมีการเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายอุตสาหกรรมยางพารา
แน่นอนว่าการนำนวัตกรรมนี้มาใช้ ย่อมจะมีปัญหาและอุปสรรคมากมาย
จึงต้องมีการศึกษาในรายละเอียด เราต้องมีคติว่า “ปัญหามีไว้ให้แก้ไข
อุปสรรคมีไว้ให้ต่อสู้และฝ่าฟัน”
...........................................................................................................................

การนำนวัตกรรมนี้ไปลงมือปฏิบัติ
ควรเริ่มต้นโดยคัดเลือกพื้นที่ที่มีความเป็นไปได้
มีความพร้อม โดยจัดทำเป็น Pilot project  1-3 แห่ง
และที่สำคัญต้องมีการทำวิจัยในลักษณะที่เรียกว่า
“การวิจัยเชิงปฏิบัติการ” (Action research) ไปพร้อมๆ กันด้วย
 “ฝันให้ไกล ไปให้ถึง เกษตรไทย รุ่งเรือง”

ที่มาข้อมูล:สมาคมเศรษฐศาสตร์เกษตรแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
............................................................................................................................
.เตือนใจ เจริญพงษ์ กรรมการชมรมวิชาการนิสิตเก่า มก.
ผู้ post เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม  2562
มี ดร.ประมุข เพ็ญสุต KU 33 เป็นประธาน
( KU ALUMNI BRAIN CLUB ) KU-ABC “

 




 

Create Date : 11 ธันวาคม 2562    
Last Update : 15 ธันวาคม 2562 19:19:58 น.
Counter : 248 Pageviews.  

blog KU-ABC “การปรับตัวภาคการเกษตรและอุตสาหกรรมอาหารสู่ไทยแลนด์m4.0”

  blog KU-ABC “การปรับตัวภาคการเกษตรและอุตสาหกรรมอาหารสู่ไทยแลนด์m4.0”
                                                       สุวิทย์ เมษินทรีย์ 
                                                     รมว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี




เรื่องเกษตรและอาหารนั้น เมือ 30 ปีก่อน มีโจทย์หนึ่งที่ท้าทาย
คือเรื่องการเพิ่มขึ้นของประชากรโลกกับภาวะการขาดแคลนอาหาร
โดยมองกันว่าประชากรโลกจะเพิ่มขึ้นในลักษณะของอนุกรมเลขาคณิต
แต่ในเรื่องของอาหารนั้นกลับจะขึ้นในลักษณะอนุกรมเลขคณิต
ซึ่งจะตามไม่ทันกับการเพิ่มขึ้นของประชากร
............................................................................................................................

แต่ ณ ปัจจุบันสถานการณ์ได้เปลี่ยนแปลงไปมาก
เมื่อกล่าวถึงThailand 4.0 จะอยู่บนแก่นของยุทธศาสตร์ที่สำคัญ กล่าวคือ

เรื่องแรกของ Thailand 4.0 นั้น เชื่อว่าเมือโลกเปลี่ยนไทยต้องปรับ
โดยในศตวรรษที่ 21 นั้น โลกจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก
เรื่องที่สอง การปรับจะปรับอย่างไรนั้น จำเป็นจะต้องสร้างความเข้มแข็ง
จากภายในสู่ภายนอก ซึ่งการสร้างความเข็มแข็งจากภายใน
หรือ strengthen from within
........................................................................................................................

โจทย์ที่ท้าทายด้านเศรษฐศาสตร์การเกษตร ได้แก่
การผลิตของภาคการเกษตรนั้นถูก assume ให้เป็น สินค้าโภคภัณฑ์
หรือ commodity แต่ ณ วันนี้สินค้าเกษตรจะต้องมองไกลกว่า
การเป็น commodity แล้ว โดยต้องใช้นวัตกรรมเข้ามาปรับเปลี่ยนให้เป็นสินค้านวัตกรรม
ซึ่งมีคำถามว่าจะทำได้อย่างไร
............................................................................................................................

ในปัจจุบันภาคการเกษตรได้เน้นแต่เรื่องการผลิต
แต่ความเป็นจริงในอนาคตการเกษตรในภาคบริการจะใหญ่มาก
จะมี startup ในภาคเกษตรมากมาย
สิ่งท้าทายอันเกี่ยวข้องกับเกษตรและอาหาร
ที่เป็น global commons นั้นมี 2 เรื่องใหญ่ๆ
เรื่องแรก คือ climate change ประเด็นสำคัญอยู่ที่อุณหภูมิโลกที่สูงขึ้น
ทำให้เกิดเหตุการณ์ทางธรรมชาติต่างๆ บนโลกแตกต่างกันออกไป
ในประเทศไทยนั้นอีก 30-40 ปี ข้างหน้ามีโอกาสได้รับผลกระทบค่อนข้างรุนแรง
จาก climate change ประเทศไทยเองอยู่ในเขตของ tropical zone
จะทำให้ผลิตภาพทางการผลิตทางการเกษตรของไทยลดลง 15-20% ใ
นอีกไม่กี่สิบปีข้างหน้า
............................................................................................................................

เรื่องของการเกษตรและปศุสัตว์ก็เช่นเดียวกัน เมืออุณหภูมิสูงขึ้น
จะทำให้เกิดความเครียดจากความร้อนในพืชและสัตว์ (heat stress)
มีผลทำให้การเจริญเติบโตช้า ลดการออกดอก ดอกเป็นหมัน
ผลและเมล็ดแคระแกร็น อ่อนแอเป็นโรคได้ง่าย ปริมาณฝนหรือฤดูกาลที่เปลี่ยนแปลง
จะทำให้การเกษตรที่พึ่งพาน้ำฝนได้รับความเสียหาย
เกิดการระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืชชนิดใหม่ และเกิดการระบาด
หรือเพิ่มความชุกของสัตว์หรือแมลงที่เป็นพาหะของโรค
...........................................................................................................................

แต่ ณ วันนี้เทคโนโลยีการผลิตด้านการเกษตรกำลังเปลี่ยนไป
เรากำลังพูดถึง world digital farming / farm technology
การผลิตที่เปรียบเสมือนอยู่ในโรงงาน
............................................................................................................................


เรากำลังอยู่ในโลกของความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี
ซึ่งเมื่อเกิดขึ้นแล้วจะเป็นได้สองแบบ แบบแรก จะอยู่จุดเดิมก็ได้แล้ว
ค่อยๆ ปรับเปลี่ยนไป แต่จะอยู่ไม่รอดถ้าไม่มีการปรับตัว 
เพราะฉะนั้น Thailand 4.0 จึงเป็นการส่งสัญญาณว่าเมื่อโลกปรับไทยต้องเปลี่ยน
และสิ่งที่ควรจะทำทันทีก็คือ reinvention เพราะ reinvention
สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาด้าน innovation เพื่อทำให้ innovation นั้น
ไปตอบการเปลี่ยนแปลงในเรื่องของการปรับปรุงพันธุ์ เช่นการตรวจสอบ DNA
การตัดต่อพันธุกรรม การเพิ่มผลผลิตต่างๆ ได้มีการพัฒนาอย่างก้าวกระโดด
พร้อมกันนั้นเกษตรยังเป็น area ที่มีการซ้อนทับ bio economy
กับเรื่องของ intelligent economy หรือระบบอัจฉริยะต่างๆ
ซึ่งถูกนำมาใช้ เช่น เรื่องของ big data และ remote sensing
เทคโนโลยีเหล่านี้จะกลายเป็นเรื่องธรรมดาและถูกนำมาใช้ในยุคปัจจุบัน
การใช้ drone หรือ การให้บริการ drone
.........................................................................................................................

เพื่อการเกษตรสามารถนำมาใช้เพื่อบริหารจัดการปัจจัยการผลิต
เรื่องน้ำ ปุ๋ย สารเคมี ให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งกำลังจะกลายเป็นเรื่องธรรมดา
รวมถึงเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการเตือนภัยต่างซึ่งได้ขยายตัวของเครื่องมือ
และการให้บริการ เช่นเดียวกับด้าน healthcare ซึ่ง healthcare
ในอดีตเราต้องรอให้ป่วยเข้าขั้นโคม่า
............................................................................................................................

ปัจจุบัน เรามีประชากรหัวสมัยใหม่ในภาคการเกษตรเพิ่มขึ้น
พบว่าคนไทยเข้ารับการศึกษาในขั้นอุดมศึกษา และอาชีวศึกษา
เพิ่มมากขึ้น แต่การเพิ่มขึ้นยังไม่มีนัยยสำคัญอย่างที่น่าพอใจ
ประเด็นสำคัญคือว่า เกษตรอนาคตใหม่จะต้องเป็นพวก intelligent
จะมี knowledge content มากกว่า critical content .
ในต่างประเทศสินค้าทางการเกษตรจะขาย knowledge มากกว่า material
จะทำอย่างไรที่จะช่วยกันสร้าง smart farmers ให้มีมากขึ้น แต่ smart farmers
ในที่นี้จะหมายถึงเกษตรกรรุ่นเก่า ที่ปรับตัวเองมาเป็นเกษตรกรยุคใหม่
แต่ก็อาจจะหมายถึง คนรุ่นใหม่ หรือ startup ทีมีความคิดความอ่าน
ที่จะก้าวขึ้นมาเปลี่ยนแปลง ภาคเกษตรและอาหาร
............................................................................................................................

แนวโน้มอาหารในอนาคต ต้องตอบโจทย์ความต้องการที่เปลี่ยนไป

โดยมีองค์ประกอบของข้อประเด็นที่สำคัญกล่าว คือ
- สิ่งแวดล้อม เรื่องของการ go green เรื่องของการเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
เป็นสิ่งที่ไม่สามารถปฏิเสธได้ ทำอย่างไรให้เพาะปลูก และผลิตให้เกิด greenhouse gas
ให้น้อยที่สุด หรือ ทำอย่างไรให้ปลูกพืชในพื้นที่ที่ไม่เหมาะสม
เช่น น้ำกร่อย น้ำเค็มหรือน้ำทะเลได้ ทำอย่างไรที่จะทำให้ระบบนิเวศวิทยาดีขึ้น
แต่ trend ของการเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมนั้นจะเริ่มลงไปสู่ผู้บริโภคมากขึ้น
ผู้บริโภคมีสิทธิในการตัดสินใจว่าจะซื้อหรือไม่ซื้อ
............................................................................................................................

- อาหารจำเพาะกลุ่มคน จากนี้ไปจะเป็นเรื่องของ personalized food
ซึ่งมีอาหารให้เลือกมากมายไม่ว่าจะเป็นอาหารเด็ก อาหารวัยรุ่น
อาหารผู้ใหญ่ อาหารผู้ป่วย และอื่นๆ ยิ่งมี big data
โอกาสที่จะทำให้อะไรก็ตามเป็น personalized จะทำได้เกือบทั้งหมด
............................................................................................................................
- อาหารผู้สูงวัย ปัจจุบันนี้กำลังมีผู้สูง
- เรื่องของรูปแบบการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป
ณ วันนี้สามารถหาอาหารทานได้ตลอด 24 ชั่วโมง จากร้านสะดวกซื้อ
ต่อไปอาหารจะเป็นเรื่องของ 3D printing และในอนาคตก็จะมี 4D printing
ตามมา ซึ่งเป็นอาหารที่สามารถปรับรสชาติ ปรับขนาด สามารถตั้งอุณหภูมิต่างๆ
มีมิติที่เหนือ
...........................................................................................................................

-  โลกในอดีตนั้นมองการผลิตอาหารมีอัตราการเพิ่มแบบอนุกรมเลขคณิต
และกลัวว่าจะผลิตได้ไม่เพียงพอต่อความต้องการอาหารของประชากร
ที่เพิ่มขึ้นแบบอนุกรมเลขาคณิต แต่ด้วย technology 
ทำให้อาหารมีพอเพียงและสวนทางกับแนวคิดอดีต
............................................................................................................................

- ข้อกีดกันทางการค้าระหว่างประเทศในอนาคตจะมีสูงขึ้น
เนื่องจากมีข้อจำกัดในการควบคุมการลดการปล่อย carbon footprint
ในกระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์ตรงตามฉลากหรือไม่
แหล่งที่มาสิ่งที่ไม่เคยคิดเมื่อ 10 หรือ 20 ปีที่แล้ว
เช่นเรื่อง big data ที่เกี่ยวข้องกับ food-related platforms 
เช่นเรื่อง application ในการจัดการการผลิตและการตลาดสินค้าเกษตร
หรือการนำเทคโนโลยี robots ต่างๆ เข้ามาในระบบโซ่อุปทาน
นับได้ว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ในอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร
ตัวอย่างเช่น การนำ technology sensor เข้ามาควบคุม ดินฟ้าอากาศ อุณหภูมิ
............................................................................................................................

กรณี ตัวอย่างของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
นวัตกรรมที่บันทึกพฤติกรรมการรับประทานอาหารของนักศึกษาด้วยระบบโต๊ะอัจฉริยะ
ซึ่งจะเก็บข้อมูลวิดีโอโดยแปลงข้อมูลจากพฤติกรรม (ภาษากาย)
มาเป็นตัวเลขที่แสดงได้ถึงความพึงพอใจ และสามารถวิเคราะห์ได้ถึง
ความพึงพอใจของอาหารและเครื่องดื่ม นำข้อมูลในเรื่องเกษตรและอาหารในขณะนี้
ไม่สามารถมองที่ bio economy เพียงอย่างเดียวได้แล้ว
แต่จะมีเรื่องของ circular economy และ bio economy ที่เชื่อมโยงเกี่ยวพันกัน
กล่าวคือมีเรื่องของ waste ต่างๆ
เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง ได้มีการนำ waste ของเสียที่เกิดขึ้นมาสร้างมูลค่าได้
โดยในทุกสัดส่วนของการผลิตอาหารนั้น 1 ใน 3 ได้มีการสูญเสียไป
ในกระบวนการผลิตและการบริโภค
............................................................................................................................

ประเทศที่พัฒนาแล้วจะมีปัญหาเรื่องขยะที่เกิดจากการบริโภค
แต่ประเทศที่กำลังพัฒนานั้น จะสูญเสียไปในขั้นตอน Postharvest
ตั้งแต่การผลิต การเก็บเกี่ยว
ในอนาคตภาคเกษตรและอาหาร จะต้องสามารถตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน
ณ วันนี้ ภาคการเกษตรจะต้องประกอบด้วย bio economy  และ circular economy
จะอยู่ในบริบทใหญ่ที่ประเทศไทยจะผลักดันที่เรียกกันว่า green economy
(มนุษย์จะต้องอยู่กับสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุล)
............................................................................................................................

ในบริบทของการเกษตรสิ่งที่ต้องการผลักดันภายใต้นโยบาย Thailand 4.0 นั้น
มาจากความไม่สมดุล 3 ประการ คือ ความไม่สมดุลที่ 1
ความสมดุลระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ จึงเกิดความไม่ยั่งยืน
ความไม่สมดุลที่ 2 ความสมดุลระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ จึงเกิดความไม่มั่นคง
สุดท้ายคือความไม่สมดุลระหว่างมนุษย์กับเทคโนโลยี
จึงเกิดความไม่มั่งคั่ง ประเทศไทยจึงตกอยู่ในกับดัก middle income
............................................................................................................................

เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน จะบรรลุผลได้ จะต้องมี 3 สิ่งที่กล่าว
มาเป็นตัวขับเคลื่อน
ซึ่งจะทำให้ประเทศไทยของเรา "ก้าวไปข้างหน้าร่วมกัน"
สิ่งที่ประเทศไทยควรดำเนินการ
............................................................................................................................


(1) เร่งลงทุนทางด้านการวิจัยพัฒนาและนวัตกรรม
เพื่อการสร้างและพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมสาหรับประเทศไทยได้ด้วยตนเอง
โดยมุ่งสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ BCG ให้เติบโตอย่างมีคุณภาพ และยั่งยืน
............................................................................................................................

(2)เร่งส่งเสริมการใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และนวัตกรรมไปใช้ยกระดับผลิตภาพ (Productivity Driven)
และการผลิตสินค้าที่มีขั้นนวัตกรรมที่สูงขึ้น
หรือเป็นผู้สร้างนวัตกรรม (Innovation Driven) ในระดับต่างๆ อย่างเหมาะสม
ซึ่ง ในระยะสั้น เทคโนโลยีพร้อมใช้ไปยกระดับความสามารถทันที
เช่น เทคโนโลยี Agri-map และเทคโนโลยีการจัดการ เพื่อเพิ่มผลผลิต
ที่มาข้อมูล:สมาคมเศรษฐศาสตร์เกษตรแห่งประเทศไทย(ในพระบรมราชูปถัมภ์
..........................................................................................................................

เตือนใจ เจริญพงษ์ กรรมการชมรมวิชาการนิสิตเก่า มก.
ผู้ post เมื่อ 1 ธันวาคม 2562
มี ดร.ประมุข เพ็ญสุต KU 33 เป็นประธาน
( KU ALUMNI BRAIN CLUB ) KU-ABC “
 
 




 

Create Date : 01 ธันวาคม 2562    
Last Update : 1 ธันวาคม 2562 12:58:15 น.
Counter : 313 Pageviews.  

blog KU-ABC "หกทศวรรษข้าวไทยในเวทีข้าวโลก"

                      blog KU-ABC "หกทศวรรษข้าวไทยในเวทีข้าวโลก"
                                                        ดร.อภิชาติ พงษ์ศรีหดุลชัย
                   ประธานกรรมการมูลนิธิเกษตรอินทรีย์ไทยและเลขาธิการ
                  สมาคมเศรษฐศาสตร์เกษตรแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์


ข้าวเป็นพืชที่มีความส าคัญต่อประเทศไทยในหลายๆ มิติ
ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของประเทศ
โดยเป็นแหล่งสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้
และสร้างความมั่นคงทางอาหารให้กับประเทศมาอย่างยาวนาน




บทความนี้จะเป็นการน าเสนอเรื่องต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับข้าวไทยในอดีต
ซึ่งรวมถึงประวัติการพัฒนาข้าวไทย ประวัติการปลูกข้าว
และประวัติการค้าข้าวของไทยในช่วงประมาณ 60 ปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน
ซึ่งการน าเสนอจะเป็นทั้งข้อมูล ในส่วนของประเทศไทยเป็นการเฉพาะ
และข้อมูลเชิงเปรียบเทียบระหว่างประเทศไทยกับภาพรวมการผลิต
และการค้าข้าวของโลก รวมทั้งประเด็นท้าทายข้าวไทย
ที่จะต้องเผชิญต่อไปในอนาคต
............................................................................................................................

1. ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับข้าวของโลก
ข้าว คือ ชีวิตของผู้คนจ ํานวนมําก ประชํากรกว่ําครึ่งโลกหรือประมําณ 3,500..ล้ํานคน
บริโภคข้ําวเป็นอําหํารหลัก ขณะเดียวกันประชํากรโลกประมําณ 800 ล้ํานคน
ยังอดยํากหิวโหยเนื่องจํากขําดอําหํารบริโภค
ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเด็กและอยู่ในประเทศยํากจน
............................................................................................................................

องค์กํารอําหํารและเกษตรแห่งสหประชําชําติได้
คําดกํารณ์ว่ําในปี พ.ศ. 2593 หรืออีกประมําณ 30 ปีข้ํางหน้ํา
ประชํากรของโลกจะเพิ่มเป็นประมําณ 9,000 ล้ํานคน
จํากที่มีอยู่ในปัจจุบัน ประมําณ 7,000 ล้ําน คนเศษ
ควํามต้องกํารบริโภคข้ําวจะเพิ่มขึ้น
............................................................................................................................

นอกจํากนี้องค์กํารสหประชําชําติได้ให้ควํามส ําคัญกับข้ําวเป็นอย่ํางมําก
โดยในปี พ.ศ. 2509 และ พ.ศ. 2547 ได้ก ําหนดให้เป็นปีข้ําวสํากล
(International Year of Rice) ซึ่งมีกํารเฉลิมฉลองกันในหลํายประเทศทั่วโลก
รวมทั้งประเทศไทยข้ําวเป็นสินค้ํากํารเมืองที่มีควํามอ่อนไหวในเกือบทุกประเทศ
โดยเฉพําะประเทศที่ผลิตข้ําวไม่เพียงพอต่อกํารบริโภคในประเทศต่ํางเร่งรัด
กํารผลิตข้ําวเพื่อให้เพียงพอต่อกํารบริโภคในประทศ
และหลํายประเทศได้มีมําตรกํารกีดกันทํางกํารค้ํา ทั้งมําตรกํารภําษี
และมําตรกํารที่ไม่ใช่ภําษีเพื่อปกป้องเกษตรกรผู้ผลิตข้ําวในประเทศ
จีนและอินเดียเป็นผู้ผลิตรํายใหญ่อันดับ 1 และ 2 ตํามล ําดับ
ทั้ง 2 ประเทศมีผลผลิตรวมกันประมําณครึ่งหนึ่งของโลก
ประเทศไทยเป็นผู้ผลิตข้ําวอันดับ 6 ของโลกประมําณร้อยละ 4 ของผลผลิตรวมของโลก
............................................................................................................................

ขณะเดียวกันจีนและอินเดียก็เป็นผู้บริโภครํายใหญ่ของโลกด้วย
ทั้งสองประเทศรวมกัน บริโภคข้ําวประมําณ ครึ่งหนึ่งของกํารบริโภคทั้งโลก
กํารค้ําขํายข้ําวของโลกในปัจจุบันมีประมําณเพียงร้อยละ 10 ของผลผลิตโลก
และผู้น ําเข้ํารํายใหญ่ของโลกก็เป็นประเทศผู้ผลิตข้ําวได้เองในปริมําณที่มํากด้วย
ท ําให้รําคําข้ําวในตลําดโลกอ่อนไหวมําก แม้ว่ําในประเทศที่พัฒนําแล้ว
มีกํารบริโภคต่อหัวลดลง แต่ระยะยําวควํามต้องกํารข้ําวยังคงเพิ่มขึ้น
เพรําะประชํากรโลกเพิ่มขึ้น และยังมีคนอีกจ ํานวนมํากยังขําดแคลนข้ําวบริโภค
............................................................................................................................

2. ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับข้าวและชาวนาไทย ข้ําวเป็นอําหํารหลักของคนในชําติ
สร้ํางควํามมั่นคงทํางอําหํารให้กับประเทศ
และมีควํามส ําคัญต่อเศรษฐกิจส่วนรวมของประเทศเป็นอย่ํางมําก
โดยเฉพําะภําคกํารเกษตร ข้ําวเป็นพืชที่มีสัดส่วนในผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP)
สําขําพืชสูงสุด เป็นแหล่งจ้ํางงํานในประเทศมํากที่สุดและเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ
ประกอบไปด้วย ครัวเรือนประมําณ 4 ล้ํานครัวเรือนที่ปลูกข้ําว
คิดเป็นประชํากรประมําณ 18 ล้ํานคน เป็นสินค้ําส่งออกท ํารํายได้
ให้กับประเทศปีละประมําณ 200,000 ล้ํานบําท เป็นอันดับ 2 ของสินค้ําเกษตรส่งออก
ในปัจจุบันก ําหนดให้เป็นปีข้ําวสํากล (International Year of Rice) ซึ่งมีกํารเฉลิมฉลองกัน
ในหลํายประเทศทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย
............................................................................................................................

รองจํากยํางพํารํา กํารปลูกข้ําวยังคงเป็นวัฒนธรรม ประเพณี
และวิถีชีวิตของคนไทยจ ํานวนมํากจนถึงปัจจุบัน ชําวนําประมําณร้อยละ 70
มีเนื้อที่ท ํานํา น้อยกว่ํา 30 ไร่ โดยมีเนื้อที่ปลูกในฤดูนําปีเฉลี่ยเพียง 16 ไร่ต่อครัวเรือน
หัวหน้ําครอบครัวของชําวนําที่มีอํายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป มีมํากกว่ําร้อยละ 30
และมีอํายุเฉลี่ย 56 ปี มีสมําชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.5 คน
หัวหน้ําครัวเรือนประมําณร้อยละ 80 จบกํารศึกษําระดับประถมศึกษําเท่ํานั้น
เนื่องจํากมีเนื้อที่ถือครองน้อยและผลตอบแทนสุทธิต่อไร่ค่อนข้ํางน้อย
เพรําะรําคําแปรปรวนและผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ค่อนข้ํางต่ ํา
ท ําให้ชําวนําส่วนใหญ่มีฐํานะยํากจน
...........................................................................................................................

3. ประวัติการพัฒนาข้าวไทย ประวัติกํารพัฒนําข้ําวไทยที่น ําเสนอในที่นี้
จะกล่ําวถึงเฉพําะช่วงเวลําที่มีเหตุกํารณ์ส ําคัญเท่ํานั้น
และจะกล่ําวเชื่อมโยงถึงกํารพัฒนําองค์กรที่เกี่ยวกับข้ําว
และกํารพัฒนําโครงสร้ํางพื้นฐํานอื่นๆ รวมทั้งกิจกรรมอื่นๆ
ที่มีส่วนท ําให้กํารพัฒนําข้ําวประสบผลส ําเร็จด้วย ซึ่งเรียงล ําดับได้ดังนี้
............................................................................................................................

พ.ศ. 2419 ในกํารประกวดสินค้ําข้ําวของบริษัทค้ําข้ําวต่ํางๆของโลก
ที่ เมืองเซนต์หลุยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกํา ข้ําวไทยจํากโรงสีกิมเจ็งของประเทศไทย
ได้รับรํางวัลเหรียญทองแดง ท ําให้คนทั้งโลกรู้จักข้ําวไทยนับตั้งแต่นั้นมํา
............................................................................................................................

พ.ศ. 2431 รัชกําลที่ 5 พระรําชทํานพระบรมรําชํานุญําตให้สัมปทําน
แก่ “บริษัทขุดคลองและคูนําสยําม” เป็นระยะเวลํา 25 ปี
ให้ด ําเนินกํารขุดระบบคลองในทุ่งหลวงรังสิต
ซึ่งต่อมําก็ได้มีกํารขุดคลองขึ้นอีกจ ํานวนมําก
ท ําให้สํามํารถท ํานําได้ดีและเส้นทํางคมนําคมทํางน้ ํามีควํามสะดวก
ส ําหรับขนส่งทั้งคนและสินค้ํา รวมทั้งข้ําวด้วย
............................................................................................................................

พ.ศ. 2450 มีกํารประกวดข้ําวครั้งแรกในประเทศไทย โดยกระทรวงเกษตรําธิกําร
สมัยรัชกําลที่ 5 ที่เมืองธัญบุรี (อ ําเภอธัญบุรีในปัจจุบัน)
ซึ่งข้ําว “ปิ่นทอง” ของนํายเอี่ยม ได้รับรํางวัลที่ 1 ได้เงินรํางวัล 400 บําท
กํารประกวดพันธุ์ข้ําวครั้งนั้นเป็นจุดเริ่มต้นของกํารพัฒนําพันธุ์ข้ําวของประเทศ
เพรําะชําวนํามีสิ่งจูงใจที่จะพัฒนําข้ําวของตนเองให้ดียิ่งๆ ขึ้นต่อไป
...........................................................................................................................

พ.ศ. 2451 ประกวดพันธุ์ข้ําวระดับประเทศครั้งที่ 2
โดยได้ย้ํายมําจัดที่วัดสุทัศน์วนํารําม กรุงเทพฯ
...........................................................................................................................

พ.ศ. 2500 เปิดเขื่อนเจ้ําพระยํา ท ําให้ลุ่มเจ้ําพระยํามีระบบชลประทํานเหมําะสม
ส ําหรับกํารปลูกข้ําว โดยเฉพําะสํามํารถขยํายพื้นที่ปลูกข้ําวนําปรัง
ในช่วงต่อๆ มําได้อีกมําก
............................................................................................................................

พ.ศ. 2502 กรมกํารข้ําวได้มีกํารกํารรับรองพันธุ์ “ข้ําวขําว ดอกมะลิ 105”
โดยเป็นกํารคัดพันธุ์พื้นเมืองที่รวบรวมโดยพนักงํานข้ําวอ ําเภอทั่วประเทศ
ตํามนโยบํายกรมกํารข้ําว ในขณะนั้น ซึ่งพันธุ์ข้ําวขําวดอกมะลิ 105
เป็นพันธุ์ที่พบที่ อ.บํางคล้ํา จ.ฉะเชิงเทรํา ในปี 2496
และน ําไปคัดเลือกปรับปรุงให้เป็นพันธุ์บริสุทธิ์ ที่ สถํานที่ทดลองข้ําวโคกส ําโรง จ.ลพบุรี
ต่อมําไปโด่งดังที่ทุ่งกุลําร้องไห้ และปัจจุบันยังเป็นพันธุ์ข้ําว
ที่ได้รับควํามนิยมสูงสุดในกํารปลูก โดยเฉพําะในภําคตะวันออกเฉียงเหนือ
และภําคเหนือตอนบน แต่ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ค่อนข้ํางต่ ํา
ประมําณ 363 กิโลกรัม โครงกํารรวบรวมพันธุ์ข้ําวทั่วประเทศนี้
ได้รับกํารสนับสนุนจํากประเทศสหรัฐอเมริกํา
............................................................................................................................

พ.ศ. 2500 เปิดเขื่อนเจ้ําพระยํา ท ําให้ลุ่มเจ้ําพระยํามีระบบชลประทําน
เหมําะสมส ําหรับกํารปลูกข้ําว โดยเฉพําะสํามํารถขยํายพื้นที่ปลูกข้ําวนําปรัง
ในช่วงต่อๆ มําได้อีกมําก
...........................................................................................................................

พ.ศ. 2512 รับของพันธุ์ข้ําวกข1 กข2 (ข้ําวเหนียว) และ กข3
ซึ่งเป็นข้ําวไม่ไวต่อช่วงแสงรุ่นแรก ที่ปลูกได้ทั้งฤดูนําปี
และนําปรัง (กข ย่อมําจําก กรมกํารข้ําว เลขคี่เป็นข้ําวเจ้ํา
เลขคู่เป็นข้ําวเหนียว) โดยพันธุ์ กข1 ได้จํากกํารผสมพันธุ์
ระหว่ําง พันธุ์ IR8 ที่ได้จํากสถําบันวิจัยข้ําวนํานําชําติ (IRRI)
เป็นพันธุ์แม่และพันธุ์เหลืองทองของไทยเป็นพันธุ์พ่อ
ซึ่งจะเห็นประโยชน์จํากควํามร่วมมือระหว่ํางประเทศในกํารพัฒนําข้ําวไทย
............................................................................................................................

พ.ศ. 2515 ยุบกรมกํารข้ําว โดยโอนส ํานักวิจัย และพัฒนําข้ําว
ซึ่งรับผิดชอบเฉพําะงํานวิจัยและพัฒนําข้ําวไปสังกัดกรมวิชํากํารเกษตร
ส่วนงํานส่งเสริมกํารผลิตข้ําวไปสังกัดกรมส่งเสริมกํารเกษตร
ซึ่งตั้งขึ้นใหม่ในช่วงเดียวกันกับกรมวิชํากํารเกษตร
เนื่องจํากรัฐบําลสมัยนั้นมีนโยบํายปรับโครงสร้ํางกระทรวงใหม่
ให้มีกํารแบ่งโครงสร้ํางตํามลักษณะงําน คือ แยกงํานวิจัยและพัฒนํา
และงํานส่งเสริมออกจํากกันแทนกํารแบ่งหน่วยงํานตํามชนิดสินค้ํา
เช่น ข้ําวขึ้นกับกรมกํารข้ําวและพืชอื่นๆขึ้นกับกรมกสิกรรม เป็นต้น
............................................................................................................................

พ.ศ. 2521 รับรองพันธุ์ กข15 เป็นข้ําวเจ้ําไวต่อช่วงแสง
ได้จํากกํารอําบเมล็ดพันธุ์ข้ําวขําวดอกมะลิ 105 โดยใช้รังสีแกมม่ําปริมําณ 15 กิโลแรด
มีควํามหอมเช่นเดียวกับข้ําวขําวดอกมะลิ 105
แต่เก็บเกี่ยวเร็วกว่ํา (พันธุ์เบํา) คือประมําณ วันที่ 10 พฤศจิกํายน
(ปัจจุบันอําจเก็บเกี่ยวได้เร็วขึ้นเล็กน้อยเพรําะฤดูกําลเปลี่ยนไป)
ขณะที่ข้ําวขําวดอกมะลิ 105 เก็บเกี่ยวประมําณวันที่ 20-25 พฤศจิกํายน
โดยข้ําวพันธุ์ กข15 นี้จะมีผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ประมําณ 422-522 กิโลกรัม
ซึ่งพันธุ์นี้ได้ถูกนับรวมกับข้ําวขําวดอกมะลิ 105
และเรียกว่ํา “ข้ําวหอมมะลิไทย” ตํามมําตรฐํานส่งออกของกระทรวงพําณิชย์
............................................................................................................................

พ.ศ. 2524 รับรองพันธุ์ กข10 เป็นข้ําวเหนียวไม่ไวต่อช่วงแสง
สํามํารถปลูกได้ทั้งนําปีและนําปรัง เกิดจํากกํารใช้รังสีนิวตรอนปริมําณ 1 กิโลแรด
อําบเมล็ดพันธุ์ข้ําว กข1 (ข้ําวเจ้ํา) ซึ่งให้ผลลิตเฉลี่ยต่อไร่ประมําณ 660 กิโลกรัม
แต่ไม่มีควํามหอมเหมือนกับ กข6
...........................................................................................................................

พ.ศ. 2543 รับรองพันธุ์ ปทุมธํานี 1 เป็นข้ําวหอมคุณภําพใกล้เคียง
กับข้ําวขําวดอกมะลิ 105 แต่ไม่ไวต่อช่วงแสง
จึงปลูกในฤดูนําปรังได้ และให้ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่สูงประมําณ 650-774 กิโลกรัม
และสูงกว่ําข้ําวขําวดอกมะลิ 105 ประมําณเกือบเท่ําตัว
นิยมปลูกในภําคกลําง แต่มีจุดอ่อนคือไม่ต้ํานทํานต่อเพลี้ยจักจั่นสีเขียว
โรคใบหงิก และโรคใบสีส้ม
............................................................................................................................

พ.ศ. 2549 ตั้งกรมกํารข้ําว (ยุคที่ 2)
สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โดยโอนงํานวิจัยและพัฒนําข้ําวจํากกรมวิชํากํารเกษตร
และงํานส่งเสริมกํารผลิตข้ําว และงํานผลิตเมล็ดพันธุ์ข้ําวมํา
จํากกรมส่งเสริมกํารเกษตร
............................................................................................................................

พ.ศ. 2549 กรมกํารข้ําวได้น ําพันธุ์ข้ําวพันธุ์สังข์หยด
ที่ปลูกอยู่ในจังหวัดพัทลุงไปขึ้นทะเบียนเป็นข้ําวสิ่งบ่งชี้ทํางภูมิศําสตร์
(Geographical Indication: GI) พันธุ์แรกของไทย
ตํามพ.ร.บ. สิ่งบ่งชี้ทํางภูมิศําสตร์ พ.ศ. 2546 (ก ํากับดูแลโดยกระทรวงพําณิชย์)
ภํายใต้ชื่อ “ข้ําวสังข์หยดเมืองพัทลุง”
ซึ่งปัจจุบันประเทศไทยมีข้ําวที่ขึ้นทะเบียนเป็นข้ําว GI แล้วจ ํานวน 10 พื้นที่
............................................................................................................................

พ.ศ. 2453 ประกวดพันธุ์ข้ําวครั้งที่ 3
ได้ย้ํายมําจัดในงํานแสดงกสิกรรมแลพํานิชกําร ครั้งที่ 1
ที่วังสระปทุม กรุงเทพฯ ในสมัยรัชกําลที่ 5
............................................................................................................................

พ.ศ. 2454 ประกวดพันธุ์ข้ําวในงํานแสดงกสิกรรมแลพํานิชกําร ครั้งที่ 2
ที่วังสระปทุม ซึ่งตรงกับสมัยรัชกําลที่ 6
............................................................................................................................

พ.ศ. 2459 จัดตั้งสถํานีวิจัยข้ําวแห่งแรกของประเทศ
ที่รังสิต ปัจจุบัน คือ ศูนย์วิจัยข้ําวปทุมธํานี
ถนนรังสิต-นครนํายก อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธํานี
ท ําให้สํามํารถด ําเนินกํารวิจัยในเรื่องข้ําวได้อย่ํางจริงจัง
และมีประสิทธิภําพมํากขึ้น
............................................................................................................................

พ.ศ. 2476 ในงํานประกวดข้ําวโลกที่เมืองเรจินํา ประเทศแคนําดํา
ข้ําวพันธุ์ปิ่นแก้วของไทยได้รับรํางวัลที่ 1
นอกจํากนี้ไทยยังได้รับรํางวัลที่ 2,3 และรํางวัลอื่นๆ อีก 8 รํางวัล
รวมเป็น 11 รํางวัล จํากทั้งหมด 20 รํางวัล
ท ําให้ข้ําวไทยมีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วโลก
............................................................................................................................

พ.ศ. 2481 ยกฐํานะ “แผนกข้ําว” เป็น “กองกํารข้ําว”
ใน กรมเกษตรและประมง กระทรวงเกษตรําธิกําร
...........................................................................................................................

พ.ศ. 2496 ตั้งกรมกํารข้ําว (ยุคแรก)
สังกัดกระทรวงเกษตร เพื่อให้กํารวิจัยพัฒนําและส่งเสริมกํารผลิตข้ําว
เป็นไปอย่ํางกว้ํางขวําง โดยมี ม.จ.จักรพันธุ์ เพ็ญศิริจักรพันธุ์
เป็นอธิบดีคนแรก และมีส ํานักงํานข้ําวอ ําเภอและส ํานักงํานข้ําวจังหวัด
ในสังกัดกรมกํารข้ําวด้วย ท ําให้งํานวิจัยและส่งเสริมกํารผลิตข้ําวก้ําวหน้ํามํากขึ้น
ตํามล ําดับ
............................................................................................................................

พ.ศ. 2516 รัฐบําลไทย โดยกํารสนับสนุนของรัฐบําลออสเตรเลีย
ได้เริ่มโครงกํารพัฒนําทุ่งกุลําร้องไห้จํากที่เคยถูกน้ ําท่วมในฤดูฝน
และแห้งแล้งมํากในฤดูแล้งท ําให้ไม่สํามํารถปลูกอะไรได้เลย
กลํายมําเป็นแหล่งปลูกข้ําวหอมมะลิที่มีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วโลก
ซึ่งต่อมําข้ําวหอมมะลิที่ปลูกในพื้นที่ทุ่งกุลําร้องไห้
ก็ได้ขึ้นทะเบียนเป็นข้ําวสิ่งบ่งชี้ทํางภูมิศําสตร์พันธุ์หนึ่ง
ทุ่งกุลําร้องไห้มีพื้นที่ทั้งหมดประมําณ 2.1 ล้ํานไร่ ครอบคลุม 5 จังหวัด 11 อ ําเภอ
ได้แก่ ร้อยเอ็ด (4 อ ําเภอ ประมําณ 50% ของพื้นที่ทั้งหมด) สุรินทร์ (2 อ ําเภอ) ศรีษะเกษ
(2 อ ําเภอ) มหําสํารคําม (1 อ ําเภอ) ยโสธร (2 อ ําเภอ) ได้พัฒนําไปแล้วประมําณ 50%
ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งเป็นตัวอย่ํางของกํารท ํางํานเชิงบูรณํากํารที่ดี
โครงกํารหนึ่งของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ภํายใต้งบประมําณช่วยเหลือ
จํากต่ํางประเทศ
............................................................................................................................

พ.ศ. 2520 รับรองพันธุ์ กข6 เป็นข้ําวเหนียวหอมนุ่มไวต่อช่วงแสง
ปลูกได้เฉพําะฤดูนําปี ได้จํากกํารอําบเมล็ดพันธุ์ข้ําวขําวดอกมะลิ 105 ด้วยรังสีแกมม่ํ
าปริมําณ 20 กิโลแรด ซึ่งพันธุ์ กข6 นี้ยังนิยมปลูกในปัจจุบัน
โดยเฉพําะในภําคตะวันออกเฉียงเหนือ วันที่เก็บเกี่ยวประมําณ 21 พฤศจิกํายน
ผลผลิตเฉลี่ยในสถํานีทดลองได้ประมําณ 666 กิโลกรัมต่อไร่
ซึ่งจะเห็นประโยชน์จํากกํารน ําวิทยําศําสตร์และเทคโนโลยีมําปรับปรุงพันธุ์ข้ําว
............................................................................................................................

พ.ศ. 2521 เผยแพร่เทคโนโลยีหว่ํานน้ ําตม (หว่ํานข้ําวงอก)
ท ําให้สํามํารถขยํายพื้นที่ปลูกข้ําวนําปรังในภําคกลํางได้มํากขึ้น
เพรําะให้ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่สูง และลดแรงงํานในกํารปักด ํา
............................................................................................................................

พ.ศ. 2550 รับรองพันธุ์ข้ําว กข33 หรือ หอมอุบล 80
ซึ่งเป็นข้ําวเจ้ําไม่ไวต่อช่วงแสงได้จํากกํารผสมพันธุ์ระหว่ํางข้ําว
ขําวดอกมะลิ 105 กับพันธุ์ข้ําวที่ได้จํากสถําบันวิจัยข้ําวนํานําชําติ
(IRRI) มีอํายุเก็บเกี่ยว 130 วัน ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ประมําณ493 กิโลกรัม
............................................................................................................................

พ.ศ. 2552 รับรองพันธุ์ กข43 เป็นข้ําวเจ้ําไม่ไวต่อช่วงแสงอํายุสั้น
คือ มีอํายุเก็บเกี่ยวเพียง 95 วัน ได้จํากกํารผสมพันธุ์ ระหว่ํางข้ําวเจ้ําหอมสุพรรณบุรี
และพันธุ์สุพรรณบุรี 1 ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ 561 กิโลกรัม ลักษณะเด่นคือ
มีค่ําดัชนีน้ ําตําล (Glycemic Index : GI ) ปํานกลํางค่อนข้ํางต่ ํา
คือ กํารย่อยแป้งและดูดซึมช้ํา ท ําให้น้ ําตําลในกระแสเลือด
ค่อนข้ํางต่ ํา จึงเหมําะส ําหรับผู้ที่ต้องกํารควบคุมระดับน้ ําตําลในเลือด
............................................................................................................................

พ.ศ. 2558 รับรองพันธุ์ กข69 (ทับทิมชุมแพ) เป็นข้ําวเจ้ําไม่ไวต่อช่วงแสง
ได้จํากกํารผสมระหว่ํางข้ําวขําวดอกมะลิ 105 ต้นเตี้ยกลํายพันธุ์ (แม่)
กับพันธุ์สังข์หยด (พ่อ) อํายุเก็บเกี่ยว 136 วัน ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ 797 กิโลกรัม
มีจุดเด่นคือ มีอมิโลสต่ ํา คือ 12.2% มีปริมําณสํารต้ํานอนุมูลอิสระฟีโนลิก
และฟลําโวนอยด์สูง ผลผลิตเฉลี่ยค่อนข้ํางสูง ปลูกได้ทั้งนําน้ ําฝน
และนําชลประทํานทั้งฤดูนําปีและนําปรัง
............................................................................................................................

พ.ศ. 2558 รับรองพันธุ์ข้ําวเหนียวด ําลืมผัว
ไวต่อช่วงแสง เก็บเกี่ยวประมําณกลํางเดือนตุลําคม
มีคุณค่ําทํางโภชนํากํารสูง โดยเฉพําะสํารต้ํานอนุมูลอิสระ
ได้แก่ แอนโทไชยํานิน และแกมมําโอไรซํานอล กรดไขมันไม่อิ่มตัว
เช่น โอเมกํา 3 โอเมกํา 6 โอเมกํา 9 และวิตํามิน เช่น
วิตํามินอี ธําตุอําหําร เช่น เหล็ก แคลเซียมและแมงกํานีส
ในส่วนของข้ําวที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นข้ําวสิ่งบ่งชี้ทํางภูมิศําสตร์
(ข้ําว GI) ปัจจุบันมีทั้งหมด 10 พื้นที่ ได้แก่
ข้ําวสังข์หยด เมืองพัทลุง (2549)
ข้ําวฮํางหอมทองสกลทวําปี (2549)
ข้ําวหอมมะลิทุ่งกุลําร้องไห้ (2550)
ข้ําวหอมมะลิสุรินทร์ (2551)
ข้ําวเจ๊กเชยเสําไห้ (สระบุรี)(2552)
ข้ําวเหลืองประทิวชุมพร (2552)
ข้ําวเหนียวเขําวงกําฬสินธุ์ (2552)
ข้ําวกล่ ําล้ํานนํา (2555)
ข้ําวไร่ลืมผัว (2557)
และข้ําวหอมมะลิอุบลรําชธํานี (2559)
............................................................................................................................

โดยสรุปประเทศไทยได้มีกํารพัฒนําพันธุ์ข้ําวโดยกํารปรับปรุงพันธุ์พื้นเมือง
และผสมข้ํามพันธุ์ ซึ่งเรียกว่ําข้ําวพันธุ์ผสม ซึ่งเป็นทั้งพันธุ์ข้ําวไทย
ที่พัฒนําขึ้นมําเอง และพันธุ์ที่ได้จํากสถําบันวิจัยข้ําวนํานําชําติ
ผลกํารปรับปรุงพันธุ์ที่ได้จะเป็นทั้งพันธุ์ที่ไว ต่อช่วงแสงที่ปลูกได้เฉพําะฤดูนําปี
และพันธุ์ที่ไม่ไวต่อช่วงแสงสํามํารถปลูกได้ตลอดทั้งปี ถ้ํามีน้ ําเพียงพอ
นอกจํากนี้กรมกํารข้ําวยังได้มีกํารรวบรวมพันธุ์ข้ําวพื้นเมืองต่ํางๆ
เก็บไว้ในธนําคํารเชื้อพันธุ์ (Gene Bank) จ ํานวน 17,093 ตัวอย่ํางพันธุ์
............................................................................................................................

นับจนถึงปัจจุบันมีพันธุ์ที่ได้รับกํารรองรับโดยกรมกํารข้ําวแล้วรวม 148 พันธุ์
แยกเป็นข้ําวไวต่อช่วงแสง 96 พันธุ์ ไม่ไวต่อช่วงแสง 52 พันธุ์
และแยกเป็นข้ําวเจ้ํา 120 พันธุ์ ข้ําวเหนียว 28 พันธุ์
............................................................................................................................

ระบบนิเวศ ในนาข้าว ข้าวไวต่อช่วงแสง ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง รวม
ข้ําวเจ้ํา ข้ําวเหนียว รวม ข้ําวเจ้ํา ข้ําวเหนียว รวม
ข้าวนาสวน 56 14 70 44 7 51 121
ข้าวขึ้นน้ า 6 1 7 - - 0 7
ข้าวน้ าลึก 6 - 6 1 - 1 7
ข้าวไร่ 7 6 13 - - 0 13
รวม 75 21 96 45 7 52 148
............................................................................................................................

4. ประวัติการปลูกข้าวของไทย
จํากหลักฐํานทํางประวัติศําสตร์พบว่ํา บริเวณแหลมทอง
หรือที่เรียกว่ํา สุวรรณภูมิ ซึ่งเป็นที่ตั้งของประเทศไทย
ในปัจจุบันได้มีกํารปลูกข้ําวมํานํานหลํายพันปีแล้ว
จุดที่พบหลักฐํานร่องรอยกํารปลูกข้ําวกระจํายอยู่ทั่วประเทศ
เช่น ที่ถ่ ําปุงฮุง จังหวัดแม่ฮ่องสอน อ ําเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น
บ้ํานเชียง อ ําเภอหนองหําน จังหวัดอุดรธํานี
อ ําเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลรําชธํานี
และอ ําเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี
............................................................................................................................

นอกจํากนี้ในหลักศิลําจํารึกของพ่อขุนรํามค ําแหงมหํารําช สมัยกรุงสุโขทัย
ยังปรํากฏข้อควํามว่ํา “เมืองสุโขทัยนี้ดี ในน้ ามีปลา ในนามีข้าว”
แสดงให้เห็นว่ํา กํารปลูกข้ําวของไทยนี้ได้มีกํารสืบสํานต่อเนื่องกันมําเป็นเวลํานํานแล้วจ
นถึงปัจจุบัน
............................................................................................................................

ในปัจจุบันประเทศไทยมีกํารปลูกข้ําวทั้งฤดูนําปีและฤดูนําปรัง
จํากสถิติที่รวบรวมได้ตั้งแต่ปี 2491
พบว่ํา ประเทศไทยมี กํารปลูกข้ําวนําปี (ฤดูฝน)ประมําณ 30 ล้ํานไร่
และได้ขยํายพื้นที่ปลูกมํากขึ้นตํามล ําดับ โดยบํางช่วงอําจมีกํารปลูกน้อยลงบ้ําง
เนื่องจํากดินฟ้ําอํากําศไม่เอื้ออ ํานวยหรือรําคําตกต่ ํา
อัตรํากํารขยํายตัวของพื้นที่ปลูกข้ําวนําปีตั้งแต่ปี 2491/92 จนถึงปี 2559/60
เฉลี่ยร้อยละ 1 ต่อปี ซึ่งปัจจุบันมีเนื้อที่ปลูกประมําณ 60 ล้ํานไร่ หรือเพิ่มขึ้น 1 เท่ําตัว
ในช่วงระยะเวลําประมําณ 70 ปีที่ผ่ํานมํา
ในส่วนของนําปรัง (ฤดูแล้ง) ในปี 2491 มีเนื้อที่ปลูกประมําณ 2.6 ล้ํานไร่
และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆในอัตรําเฉลี่ยร้อยละ 2.5 ต่อปี
โดยในปี 2555 มีเนื้อที่ปลูกสูงสุด 18.1 ล้ํานไร่ และในปัจจุบันมีเนื้อที่ปลูกลดลง
เนื่องจํากรัฐบําลมีนโยบํายให้ลดพื้นที่ปลูก
............................................................................................................................

ข้ําวนําปรังลง เพรําะประเทศไทยผลิตข้ําวได้เกินควํามต้องกํารของตลําด
ประกอบกับรัฐบําลก็ไม่มีนโยบํายรับจ ําน ําข้ําว
(ยกเว้นจ ําน ําที่เก็บไว้ในยุ้งฉํางของเกษตรกรเอง)
ปัจจุบันจึงเหลือพื้นที่ปลูกเพียงประมําณ 10 ล้ํานไร่เศษเท่ํานั้น
ส ําหรับผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ของนําปรัง จะมีผลิตเฉลี่ยสูงกว่ํานําปีเกือบเท่ําตัว
เพรําะมีพันธุ์ดีและได้รับน้ ําเพียงพอ โดยผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ข้ําวนําปรังเพิ่มขึ้น
เฉลี่ยร้อยละ 1.1 ต่อปี ส่วนนําปี ผลผลิตเฉลี่ย มีอัตรํากํารเจริญเติบโตประมําณร้อยละ
1.3 ต่อปี ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ของนําปีค่อนข้ํางต่ ํา
เนื่องจํากส่วนใหญ่อําศัยน้ ําฝนเป็นหลักและพันธุ์ข้ําวนําปีที่ปลูกมีข้อจ ํากัด
ในด้ํานพันธุกรรม เพรําะเป็นพันธุ์ที่พัฒนํามําจํากพันธุ์พื้นเมือง
เป็นส่วนใหญ่ แต่ก็เป็นพันธุ์ที่ผู้บริโภคต้องกําร ซึ่งพันธุ์เหล่ํานี้ก็จะสํามํารถจ ําหน่ําย
ได้รําคําดีกว่ําพันธุ์ที่ปลูกในฤดูนําปรังที่ให้ผลผลิตสูง
............................................................................................................................

4. ประวัติการส่งออกข้าวไทย
ประเทศไทยมีกํารส่งออกข้ําวมําตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยํา
ในช่วงประมําณปี พ.ศ. 2199 ถึงปี พ.ศ. 2257
ซึ่งส่วนใหญ่ด ําเนินกํารโดยบริษัทของชําวฮอลันดํา (เนเธอร์แลนด์ในปัจจุบัน)
ต่อมําในช่วงหลังปี 2265 กํารค้ํากับฮอลันดําเริ่มลดลง
ไทยได้หันไปค้ําขํายกับประเทศจีน ซึ่งมีพลเมืองมํากและอําหํารขําดแคลนจนถึงปี 2300
ซึ่งเป็นช่วงค้ําข้ําวกับจีนรุ่งเรืองมํากที่สุด
...........................................................................................................................

หลังเสียกรุงแก่พม่ํา ในปี พ.ศ. 2310 รําคําข้ําวในประเทศสูงขึ้น
และเกิดน้ ําท่วม ไม่ปรํากฏหลักฐํานชัดเจนเกี่ยวกับกํารส่งออกข้ําวของไทย
กํารส่งออกข้ําวของไทยปรํากฏชัดเจนอีกครั้งหนึ่งในสมัยรัชกําลที่ 5
โดยในช่วงสมัยตั้งแต่ปี 2460 ประเทศไทยมีกํารส่งออกข้ําวไปยังต่ํางประเทศ
อย่ํางต่อเนื่องปริมําณกํารส่งออกผันแปรไปในแต่ละปี ลูกค้ําที่ส ําคัญคือจีนและมําลํายํา
(มําเลเซียในปัจจุบัน) บํางส่วนส่งไปขํายยังเนเธอร์แลนด์ ญี่ปุ่น แอฟริกํา
และยุโรปด้วย กํารที่ไทยสํามํารถส่งออกข้ําวได้อย่ํางต่อเนื่องในปริมําณที่มําก
เมื่อเทียบกับประเทศผู้ผลิตรํายใหญ่อื่นๆ เนื่องจํากประเทศไทย
ได้มีกํารพัฒนําระบบชลประทําน โดยกํารขุดคลองมําตั้งแต่สมัยรัชกําลที่ 5
ท ําให้กํารปลูกข้ําวได้ผลดีรวมทั้งในระยะต่อๆ มําได้มีกํารพัฒนําพันธุ์ข้ําวที่ไม่ไวแสงขึ้น
ซึ่งสํามํารถปลูกได้ในฤดูแล้งและพัฒนําเทคโนโลยีกํารปลูกโดยท ํานําหว่ํานน้ ําตม
ท ําให้ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่สูงขึ้น และผลผลิตโดยรวมเพิ่มขึ้น
จนเป็นผู้ส่งออกอันดับ 1 ของโลก 31 ปี ติดต่อกัน ในช่วงกว่ํา 50 ปีที่ผ่ํานมํา
ตลําดส่งออกโลกได้เพิ่มขึ้นจํากประมําณ 5 ล้ํานตัน เป็นประมําณ 48 ล้ํานตัน
ในปัจจุบันและกํารส่งออกข้ําวของไทยในช่วงเวลําเดียวกัน
ก็เพิ่มขึ้นตํามล ําดับจํากประมําณ 1 ล้ํานตัน เป็นประมําณ 10 ล้ํานตัน
ในด้ํานสัดส่วน (%)
............................................................................................................................

กํารตลําดข้ําวของไทยในตลําดโลกลดลงจํากที่เคยสูงสุดประมําณร้อยละ 43
ในปี 2531 ต่ ําสุดร้อยละ 10 ในปี 2515 และปัจจุบัน
เหลือเพียงประมําณร้อยละ 25 เท่ํานั้น
ชี้ให้เห็นว่ําควํามสํามํารถในกํารแข่งขันข้ําวไทยเริ่มลดลง
...........................................................................................................................

ในช่วงระหว่ํางปี 2504 จนถึงปัจจุบันหรือประมําณ 6 ทศวรรษที่ผ่ํานมํา
ประเทศไทยส่งออกเป็นอันดับ 1 – 3 ของโลกมําโดยตลอด
โดยไม่เคยต่ ํากว่ําอันดับ 3 เลย สํามํารถส่งออกเป็นที่ 1
ได้ครั้งแรกเมื่อปี 2507 – 2509 ปี 2514 – 2515
และปี 2520 – 2521 ตั้งแต่ปี 2524 – 2554 (31 ปี) ส่งออกเป็นที่ 1
โดยตลอดไม่มีใครแย่งชิงต ําแหน่งได้ ส ําหรับประเทศที่เคยได้ที่ 1
ในกํารส่งออก ได้แก่ เมียนมํา ในปี 2504-2506 สหรัฐอเมริกําในปี 2510-2513
,2518, 2519, 2521, 2523 ประเทศจีน ในปี 2516, 2517 ส่วนอินเดีย
เริ่มติดอันดับ 2 ในปี 2538 และเป็นอันดับ 1 ครั้งแรกในปี 2555 จนถึงปัจจุบัน
ส่วน เวียดนํามเริ่มติดอันดับ 3 ในปี 2532 และเป็นอันดับ 2 ครั้งแรก
ในปี 2540 แต่ไม่เคยเป็นอันดับ 1 เลย ในช่วงเวลําดังกล่ําว มีเพียง 6 ประเทศ
คือ ไทย อินเดีย สหรัฐอเมริกํา จีน เวียดนําม และปํากีสถํานเท่ํานั้นที่เคยติดอันดับ 1 - 3
..........................................................................................................................

ของกํารส่งออก ข้ําวโลก )ไทยเสียแชมป์ให้กับอินเดียตั้งแต่ ปี 2555 จนถึงปัจจุบัน
โดยในปี 2555 นั้น ไทยส่งออกเป็น อันดับ 3 รองจํากเวียดนําม
ทั้งนี้ไม่ได้หมํายควํามว่ําไทยไม่มีข้ําวมํากพอที่จะส่งออกได้มําก
แต่ที่ส่งออกได้น้อยนั้น เป็นเพรําะว่ํารัฐบําลได้รับจ ําน ําไว้ในรําคําสูงกว่ํารําคําตลําดโลก
และเก็บสต็อกข้ําวไว้มําก ผู้ส่งออกจึงไม่มีข้ําวมํากพอที่จะส่งออกได้จ ํานวนมําก
ขณะที่รัฐบําลก็รอรําคําตลําดโลกให้สูงขึ้นเพื่อไม่ให้ขําดทุนมําก
แต่ก็ไม่เป็นไปตํามคําดกํารณ์ ในที่สุดจึงเสียแชมป์ให้กับอินเดีย
และข้ําวที่อยู่ในสต็อกของรัฐก็เสื่อมคุณภําพ เนื่องจํากเก็บไว้นํานเกินไป
ท ําให้ขําดทุนจ ํานวนมําก กํารเสียแชมป์ให้กับอินเดีย
เนื่องจํากส่งออกข้ําวได้น้อยลงนั้น อําจส่งผลเสียในระยะยําว
เพรําะผู้บริโภคหันไปบริโภคข้ําวจํากอินเดียหรือประเทศอื่นๆ
อําจจะติดใจในรสชําติ ประกอบกับรําคําข้ําวของประเทศคู่แข่งรําคําถูกกว่ํา
แต่คุณภําพใกล้เคียงกัน ในที่สุดประเทศไทยก็อําจจะสูญเสียตลําด
ให้กับประเทศอื่นอย่ํางถําวรได้ ส ําหรับอัตรํากํารขยํายตัวในกํารส่งออกข้ําวไทย
นับตั้งแต่ปี 2504 จนถึงปี 2560 เฉลี่ยร้อยละ 4.5 ต่อปี ขณะที่ตลําดโลกมีกํารขํายตัว
เฉลี่ยร้อยละ 3.6 ต่อปี ทั้งนี้กํารส่งออกข้ําวของไทยในอดีตที่ผ่ํานมํา
อําจมีปัญหําอุปสรรคบ้ําง เช่น มีกํารก ําหนดโควต้ําส่งออก
หรือ ระงับกํารส่งออกเป็นบํางช่วง รวมทั้งกํารเก็บพรีเมี่ยม (ค่ําธรรมเนียมหรือภําษีส่งออก)
ซึ่งมีกํารเก็บมําตั้งแต่ปี 2493 และเลิกเก็บในปี 2529
วัตถุประสงค์ในกํารเก็บพรีเมี่ยมครั้งนั้นก็เพื่อควบคุมรําคําข้ําว
ในประเทศไม่ให้สูงเกินไปจนผู้บริโภคในประเทศเดือดร้อน
และเป็นรํายได้ของแผ่นดิน ซึ่งในยุคกํารเก็บพรีเมี่ยมในระยะแรกๆ นั้น
รํายได้จํากพรีเมี่ยมเป็นรํายได้หลักอย่ํางหนึ่งของรัฐบําล มําตรกํารต่ํางๆ
ที่กล่ําวมํานั้นท ําให้กํารส่งออกไม่เป็นไปตํามกลไกตลําดอย่ํางแท้จริง
...........................................................................................................................

5. สถานการณ์การส่งออกข้าวไทยในปี 2560
กํารส่งออกข้ําวไทยในปี 2560 สํามํารถส่งออกได้ประมําณ 11.63 ล้ํานตัน
โดยเป็นกํารส่งออกไปประเทศเบนินมํากที่สุด คือ 1.8 ล้ํานตัน
ซึ่งเบนินเป็นทํางผ่ํานของข้ําวที่จะส่งต่อไปยังประเทศต่ํางๆในทวีปแอฟริกํา
เนื่องจํากเบนินเก็บภําษีน ําเข้ําข้ําวถูกกว่ําประเทศอื่นๆในแถบนั้น
รองลงไปคือ จีน 1.20 ล้ํานตัน และแอฟริกําใต้ 0.78 ล้ํานตัน
ในด้ํานมูลค่ํากํารส่งออกในภําพรวมเท่ํากับ 174,503 ล้ํานบําท
โดยมูลค่ําที่ส่งไปยังเบนินและจีน เป็นอันดับ 1 และ 2
ส่วนอันดับ 3 เป็นสหรัฐอเมริกํา เพรําะน ําเข้ําข้ําวคุณภําพดี เมื่อจ ําแนกเป็นชนิดของข้ําว
ที่ส่งออก พบว่ํา ประเทศไทยส่งออกข้ําวขําวมํากที่สุด รองลงไปเป็นข้ําวนึ่ง
(หมํายถึง เอําข้ําวเปลือกไปนึ่งแล้วท ําให้แห้งจึงน ําไปสี)และข้ําวหอมมะลิตํามล ําดับ
ส่วนข้ําวเหนียวส่งออกได้ไม่ถึง 1 ล้ํานตัน ผลผลิตข้ําวเหนียวส่วนใหญ่ใช้บริโภคในประเทศ
............................................................................................................................

6. ประเด็นท้าทายข้าวไทยในอนาคต
6.1 ภาวะโลกร้อน
ภําวะโลกร้อนเกิดจํากกํารปล่อยก๊ําซเรือนกระจก (Green House Gas : GHG)
ซึ่งเกิดเองจํากธรรมชําติและเกิดจํากกิจกรรมของมนุษย์
เช่น โรงงํานอุตสําหกรรม กํารขนส่ง รวมทั้งกํารท ํากํารเกษตร
เช่น กํารปลูกข้ําวในนําน้ ําขัง กํารเลี้ยง
สัตว์เคี้ยวเอื้อง กํารเผําตอซังหรือเศษวัสดุที่เหลือในฟําร์ม
กํารตัดไม้ท ําลํายป่ําหรือกํารเผําป่ํา เป็นต้น ผลกระทบจํากภําวะ
โลกร้อนที่มีต่อข้ําว ก็คือผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ลดลงหรือได้รับควํามเสียหํายสิ้นเชิง
ซึ่งต้องมีกํารปรับตัว (adaptation) โดยวิจัยและพัฒนําพันธุ์และเทคโนโลยี
ที่สํามํารถทนต่อภําวะโลกร้อนได้ ในขณะเดียวกันกํารปรับเปลี่ยนวิธีกํารเขตกรรม
(cultural practice) ในกํารท ํานํา เช่น ปรับระดับที่นําให้รําบเรียบ
เพื่อให้มีกํารใช้น้ ําน้อยลงและใช้วิธีให้น้ ําแบบเปียกสลับแห้ง
(Alternate Wetting and Drying : AWD) และใช้ปุ๋ยให้ถูกวิธี
รวมทั้งมีกํารไถกลบตอซังแทนกํารเผํา ซึ่งจะช่วยลดกํารปล่อยก๊ําซเรือนกระจกได้
(mitigation) ทั้งนี้กระบวนกํารผลิตใดๆก็ตําม (รวมทั้งกํารปลูกข้ําว)
ที่ท ําให้เกิดโลกร้อน อําจได้รับกํารต่อต้ํานจํากประชําคมโลก
โดยกํารงดซื้อขํายสินค้ําดังกล่ําว ซึ่งปัจจุบันได้เกิดขึ้นแล้วกรณีของปําล์มน้ ํามัน
ที่สหภําพยุโรปจะเลิกใช้น้ ํามันปําล์มมําผลิตพลังงํานทํางเลือกภํายในปี พ.ศ.2573
ตํามนโยบําย Zero Palm Oil 2030 ของสหภําพยุโรป
............................................................................................................................

6.2 ภัยธรรมชาติ
ในปัจจุบันภัยธรรมชําติมีแนวโน้มรุนแรงขึ้นและเกิดถี่ขึ้น
ท ําให้เกิดภําวะฝน
แล้งและน้ ําท่วม โดยเฉพําะกํารท ํานําในประเทศไทยมีกํารท ํานําในเขตชลประทําน
เพียงประมําณร้อยละ 25 เท่ํานั้น ที่เหลือต้องอําศัยน้ ําฝนเป็นหลัก กํารท ํานํา
จึงมีควํามเสี่ยงสูง จ ําเป็นต้องหําวิธีลดควํามเสี่ยงนี้ด้วย
............................................................................................................................

6.3 ประเทศคู่ค้าและคู่แข่งต่างเร่งรัดพัฒนาการผลิตของตนเอง
ในส่วนของประเทศคู่ค้ําของไทยส่วนใหญ่เป็นประเทศที่มีกํารผลิตข้ําวอยู่แล้ว
แต่ไม่พอบริโภคในประเทศ จ ําเป็นต้องน ําเข้ํา ก็ได้มีควํามพยํายํามค้นคว้ําวิจัย
และให้กํารสนับสนุน ให้ชําวนําในประเทศขยํายกํารผลิตเพื่อลดกํารน ําเข้ํา
และสร้ํางควํามมั่นคงด้ํานอําหํารของประเทศด้วย
ส ําหรับประเทศที่เป็นคู่แข่งของไทยจะมุ่งเน้นกํารพัฒนําคุณภําพของข้ําว
เพื่อแย่งตลําดข้ําวไทย ซึ่งขณะนี้แม้ว่ําปัจจุบันข้ําวไทยยังขํายได้รําคําสูง
กว่ําประเทศคู่แข่งก็ตําม เพรําะข้ําวไทยมีคุณภําพดีกว่ํา แต่ก็ประมําทไม่ได้
โดยหลํายประเทศ เช่นจีน เวียดนําม และสหรัฐอเมริกําก็ได้พยํายํามผลิตข้ําวหอม
ข้ําวนุ่ม เพื่อ แย่งตลําดข้ําวหอมมะลิของไทย
ดังนั้นกํารพัฒนําข้ําวจะต้องมีกํารกระท ําอย่ํางต่อเนื่อง
โดยเฉพําะในเรื่องของกํารพัฒนําคุณภําพข้ําวที่สอดคล้องกับรสนิยมของผู้บริโภค
............................................................................................................................

6.4 ประชากรของโลกเพิ่มขึ้น
องค์กํารอําหํารและเกษตรแห่งสหประชําชําติได้คําดกํารณ์ว่ํา ในปี 2050
(พ.ศ.2593) ประชํากรโลกจะเพิ่มขึ้นเป็น
ประมําณ 9,000 ล้ํานคน จํากปัจจุบันที่มีอยู่ประมําณ 7,000 ล้ํานคน
และในจ ํานวนนี้ยังมีประมําณ 800 ล้ํานคนที่ยังอดอยํากมีอําหํารบริโภคไม่เพียงพอ
ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในประเทศที่ยํากจน และถ้ําประชํากรของโลกเพิ่มขึ้น
และหํากประเทศที่มีประชํากรอดอยํากเหล่ํานี้ได้รับกํารพัฒนําให้มีรํายได้เพิ่มขึ้น
ก็จะเป็นโอกําสของประเทศไทยในกํารส่งออกข้ําวได้มํากขึ้น
............................................................................................................................

6.5 ราคาข้าวแปรปรวน
เนื่องจํากกํารค้ําข้ําวในตลําดโลกมีเพียงประมําณร้อยละ 10 ของผลผลิตรวมข้ําวโลก
และประเทศผู้น ําเข้ํารํายใหญ่ก็เป็นผู้ผลิตรํายใหญ่ด้วย ซึ่งถ้ําปีใดผลิตเองได้มําก
ก็จะน ําเข้ําน้อยลง จึงท ําให้รําคําผลผลิตในตลําดโลกแปรปรวน
ส่งผลถึงรําคําข้ําวในประเทศไทยด้วย กํารส่งเสริมหรือพัฒนําข้ําว
ต้องค ํานึงถึงประเด็นนี้ด้วย ว่ําจะต้องมีมําตรกํารรองรับควํามแปรปรวน
ของรําคําในประเทศได้อย่ํางไร
............................................................................................................................

6.6 ความต้องการของผู้บริโภคเปลี่ยนไป
ปัจจุบันกระแสควํามต้องกํารบริโภคของประชํากรโลกได้เปลี่ยนไป
มีควํามห่วงใยสุขภําพตนเองมํากขึ้น เนื่องจํากมีรํายได้
มํากขึ้น โดยจะบริโภคอําหํารประเภทแป้ง เช่น ข้ําว น้อยลง
หันไปบริโภคโปรตีนมํากขึ้น รวมทั้งจะเริ่มมีกํารต่อต้ํานสินค้ําที่ใช้
กระบวนกํารผลิตที่ท ําลํายสิ่งแวดล้อมด้วย ซึ่งในส่วนที่กํารผลิตข้ําวในนําน้ ําขัง
เช่น กรณีของประเทศไทย อําจได้รับผลกระทบ
โดยอําจถูกมองว่ํามีส่วนปล่อยก๊ําซเรือนกระจกที่ท ําให้โลกร้อนขึ้นในอนําคต
จึงอําจได้รับกํารต่อต้ํานโดยไม่รับซื้อข้ําวจํากไทยก็ได้
ประเทศไทยต้องปรับตัวเพื่อรองรับสิ่งเหล่ํานี้ด้วย
.........................................................................................................................

6.7 ข้อตกลงเขตการค้าเสรี
ข้อตกลงเขตกํารค้ําเสรี (FTA)จะมีผลท ําให้ภําษีน ําเข้ําของประเทศ
ที่มีข้อตกลงร่วมกันลดลง ซึ่งจะเป็นข้อดีส ําหรับประเทศผู้ส่งออก
ขณะเดียวกันก็จะเป็นช่องทํางให้ต่ํางประเทศส่งข้ําวมําขํายในประเทศไทยด้วยก็ได้
ถ้ําข้ําวของต่ํางประเทศถูกกว่ําหรือมีคุณภําพดีกว่ํา อย่ํางไรก็ตําม
ในหลํายๆประเทศก็ได้พยํายํามหําทํางป้องกันกํารน ําเข้ําจํากประเทศทํางอ้อม
โดยก ําหนดมําตรกํารอื่นๆที่ไม่ใช่ภําษี (Non-Tariff Barriers: NTB)
ขึ้นมําแทน โดยเฉพําะมําตรกํารด้ํานสุขอนํามัยพืช (Sanitary and Phytosantary : SPS)
เช่น ต้องมีกํารรับรองว่ําข้ําวที่จะน ําเข้ํา ต้องมีสํารตกค้ํางไม่เกินค่ําที่ก ําหนด
ไม่มีโรค หรือแมลงติดมํากับข้ําว เป็นต้น จึงต้องมีกํารเจรจําระหว่ํางกัน
อย่ํางไรก็ตําม หํากมําตรกํารที่ก ําหนดไม่เป็นสํากลก็อําจจะมีกํารฟ้องร้อง
ต่อองค์กํารระหว่ํางประเทศได้
............................................................................................................................

6.8 นโยบายรัฐบาล
นโยบํายรัฐบําลบํางอย่ํางอําจเป็นผลดีต่อกํารพัฒนํากํารผลิตหรือกํารส่งออกข้ําว
แต่บํางอย่ํางอําจส่งผลเสียในระยะยําวได้ เช่น
นโยบํายรับจ ําน ําข้ําวในรําคําที่สูงเกินกว่ํารําคําตลําดค่อนข้ํางมําก
และไม่ค ํานึงถึงคุณภําพของข้ําว จะจูงใจท ําให้ชําวนําเร่งรัดของกํารผลิต
จนเกินควํามต้องกํารของตลําด เมื่อรัฐเข้ําไปแทรกแซง แม้จะเป็นเจตนําที่ดี
เพื่อให้ชําวนํามีรํายได้สูงขึ้น แต่เนื่องจํากรําคําข้ําวในตลําดโลก
ไม่ขยับขึ้นตํามกํารคําดกํารณ์ ก็จะท ําให้ไม่สํามํารถส่งออกข้ําว
ซึ่งตกอยู่ในมือของภําครัฐได้ เนื่องจํากมีต้นทุนสูงกว่ํารําคําตลําดโลก
ท ําให้รัฐบําลขําดทุนจ ํานวนมําก เป็นต้น
ในอดีตรัฐบําลได้เคยมีนโยบํายและมําตรกํารหลํายอย่ํางที่มีผลกระทบ
ต่อกํารตลําดกํารส่งออกและรํายได้ของชําวนําเป็นอย่ํางมําก
รวมทั้งกระทบต่อรําคําข้ําวส ําหรับผู้บริโภคในประเทศด้วยที่อําจได้รับประโยชน์
จํากนโยบําย คือได้บริโภคข้ําวในรําคําที่ถูกลง เช่น กํารห้ํามส่งออก
ในบํางช่วงเวลํา) กํารก ําหนดโควตําส่งออก กํารบังคับให้ผู้ส่งออกต้องเก็บสต็อกข้ําว
กํารบังคับซื้อข้ําวส ํารองจํากผู้ส่งออกในรําคําที่ถูก กํารก ําหนดรําคําส่งออกขั้นต่ ํา
กํารเก็บค่ําพรีเมี่ยมข้ําว กํารให้สินเชื่อดอกเบี้ยต่ ําแก่ผู้ส่งออก
กํารพยุงรําคําข้ําว กํารจ ําหน่ํายข้ําวสํารรําคําถูก เป็นต้น ในส่วนของค่ําพรีเมี่ยมข้ําว
รัฐบําลได้เริ่มเก็บในปี 2493 และเลิกเก็บในปี 2529 ส่วนกํารรับจ ําน ําข้ําว
เริ่มตั้งแต่ปี 2524จนถึงปัจจุบัน ซึ่งแต่ละปีมีรํายละเอียดวิธีกํารด ําเนินงํานต่ํางกัน
โดยในปัจจุบันยังคงเหลือเฉพําะกํารรับจ ําน ําที่ยุ้งฉํางของเกษตรกรเท่ํานั้น
โดยเปลี่ยนไปเป็นกํารช่วยเหลือชําวนําในรูปแบบอื่นๆ เช่น
ช่วยเหลือค่ําเก็บเกี่ยว ค่ําปรับปรุงคุณภําพข้ําว สินเชื่อเพื่อรวบรวมข้ําว
และสร้ํางมูลค่ําเพิ่มหรือปรับเปลี่ยนกํารปลูกพืชให้หลํากหลําย
รวมทั้งช่วยเหลือเบี้ยประกันภัยธรรมชําติ เป็นต้น
ซึ่งกํารช่วยเหลือดังกล่ําวจะต้องระมัดระวังไม่ให้ขัดต่อ
ข้อตกลงขององค์กํารกํารค้ําโลก (WTO) ด้วย
ที่มาข้อมูล:สมาคมเศรษฐศาสตร์เกษตรแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
..........................................................................................................................
.เตือนใจ เจริญพงษ์ กรรมการชมรมวิชาการนิสิตเก่า มก.
ผู้ post เมื่อ 30 พฤศจิกายน 2562
มี ดร.ประมุข เพ็ญสุต KU 33 เป็นประธาน
( KU ALUMNI BRAIN CLUB ) KU-ABC “


 




 

Create Date : 30 พฤศจิกายน 2562    
Last Update : 30 พฤศจิกายน 2562 21:04:02 น.
Counter : 496 Pageviews.  

ิblog KU-ABC บุคลากรยุคใหม่เพื่ออนาคตธุรกิจเกษตรไทย

               blog KU-ABC "บุคลากรยุคใหม่เพื่ออนาคตธุรกิจเกษตรไทย"
                     สมาคมเศรษฐศาสตร์เกษตรแห่งประเทศไทย(ในพระบรมราชูปถัมภ์


              ในทศวรรษที่ผ่านมาภาคเกษตรของไทย
มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องอันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงของบริบทโลก
โดยเฉพาะการก้าวสู่ยุคเศรษฐกิจดิจิทัล เทคโนโลยีและนวัตกรรมต่างๆ
ธุรกิจอุตสาหกรรมการเกษตรและอาหารของไทย อาทิ ธุรกิจสินค้าเกษตร
ประมง ปศุสัตว์ และอาหารแปรรูป Modern Trade ต่างๆ
............................................................................................................................

การค้าปลีกและบริการรวมทั้งการขนส่งสินค้าเกษตรและอาหาร
สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิตภาคการเกษตรอย่างเห็นได้ชัด
โดยเฉพาะตัวเลขมูลค่าด้านเศรษฐกิจ และการจ้างงานที่เพิ่มขึ้นในธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
ทั้งในระดับจุลภาคและมหภาค
............................................................................................................................

การก้าวสู่ประเทศไทย 4.0 และการนานวัตกรรมมาใช้ในภาคเกษตร
และอาหารเชื่อว่าจะเป็นปัจจัยสาคัญที่ส่งผลให้ภาคเกษตรของไทยสามารถขึ้นเป็นผู้นา
และแข่งขันได้ในโลกยุคดิจิทัลและโลกาภิวัตน์

............................................................................................................................

ปัจจุบันการตลาดสินค้าเกษตร ผลิตภัณฑ์แปรรูปและอาหาร
ได้เปิดกว้างตามความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีการผลิต
เทคโนโลยีสารสนเทศและการขนส่ง ทาให้โลกกลายเป็นตลาดเดียวกัน
หรือไร้พรมแดน การศึกษาและเรียนรู้ถึงพฤติกรรมของผู้บริโภคในตลาด
ที่กระจายอยู่ตามสถานที่ต่าง ๆ ทั่วทุกมุมโลกที่มีความต้องการที่หลากหลาย
โดยเฉพาะสินค้าเกษตรและอาหารที่ปลอดภัยและการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
กลายเป็นเรื่องจาเป็นสาหรับผู้ผลิตสินค้าเกษตรและอาหารทุกระดับ
รวมถึงการศึกษาเรียนรู้ถึงพฤติกรรมผู้ผลิตที่เป็นคู่แข่งขัน
และคู่ค้าที่ต้องดาเนินการควบคู่กันไปด้วย
กล่าวได้ว่าธุรกิจการเกษตรและอาหารถือเป็นจักรกลหลัก
ในการสร้างอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจให้กับภาคเกษตรของไทยอย่างมีนัยสาคัญ
............................................................................................................................

อย่างไรก็ตาม
แม้ว่ากิจกรรมทางเศรษฐกิจเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร
จะช่วยพัฒนาเศรษฐกิจของไทยให้เจริญเติบโต
แต่กิจกรรมที่เกิดขึ้นอย่างไม่สมดุลเพียงพอมีส่วนสร้างปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม
จนส่งผลกระทบต่อฐานทรัพยากรอาหาร ระบบอาหารท้องถิ่น
รวมทั้งวิถีการผลิตและวัฒนธรรมในการดารงชีวิตของประชาชนในแต่ละพื้นที่
นอกจากนั้นการพัฒนาเศรษฐกิจของไทยยังคงเกิดช่องว่างรายได้
ระหว่างคนจนกับคนกับคนรวย ซึ่งเป็นปัจจัยเร่งให้เกิดปัญหาทางสังคม
มีการเอารัดเอาเปรียบทางสังคม ขาดจริยธรรม
และมีปัญหาอาชญากรรมตามมาภายใต้สถานการณ์
และพลวัตการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
ที่มีความรุนแรงและรวดเร็วในปัจจุบันดังกล่าวข้างต้น
............................................................................................................................
ส่งผลกระทบให้ทุกภาคส่วนของระบบเศรษฐกิจ
จาเป็นต้องปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปรับตัวด้านกาลังแรงงานทั้งในมิติเชิงปริมาณ
และเชิงคุณภาพเพื่อเป็นกลไกสาคัญในการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจ
ให้ไปสู่เป้าหมายการพัฒนาของประเทศโดยภาคเกษตร
เป็นภาคเศรษฐกิจที่สาคัญที่มีการจ้างกาลังแรงงาน
คิดเป็นสัดส่วนมากกว่าครึ่งหนึ่งของกาลังแรงงานทั้งประเทศ
ประกอบกับมีนโยบายประเทศไทย 4.0
และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
ที่เน้นการเตรียมความพร้อมของคน สังคม และระบบเศรษฐกิจของประเทศ
ให้สามในระบบเศรษฐกิจจาเป็นต้องร่วมกันวางแผนการผลิตและพัฒนาบุคลากร
ที่มีปริมาณและคุณภาพที่เหมาะสมตรงตามความต้องการของภาคธุรกิจการเกษตร
โดยเฉพาะสถาบันการศึกษา หน่วยงานรัฐ และเอกชน ที่เกี่ยวข้องกับความต้องการ
รับบัณฑิตเข้าทางาน อาทิ สถานประกอบการ บริษัทธุรกิจเอกชน รวมทั้งหน่วยงานภาครัฐ เป็นต้น สามารถปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม
ทาให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
...........................................................................................................................

สมาคมเศรษฐศาสตร์เกษตรแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
เห็นความสาคัญของเรื่องการการวางแผนผลิตและพัฒนาบุคลากร
ที่มีคุณภาพเหมาะสมตรงกับตามความต้องการของผู้เกี่ยวข้องในระบบเศรษฐกิจ
จึงได้จัดประชุมสัมมนาเรื่องบุคลากรยุคใหม่เพื่ออนาคตธุรกิจไทย
เพื่อหาแนวทางในเตรียมการผลิตและพัฒนาบัณฑิตรุ่นใหม่ที่พร้อมทางาน
ในระบบเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปในอนาคต ซึ่งผลการสัมมนาดังกล่าว
ได้สะท้อนแนวคิดและข้อเสนอแนะแนวทางที่สาคัญ
............................................................................................................................

กล่าวคือ
ด้านความต้องการบัณฑิต คุณลักษณะบัณฑิตที่เป็นที่ต้องการ
ของภาคธุรกิจเกษตรและอาหาร ภาครัฐ และองค์กรต่างๆ
ประกอบด้วยการมีทักษะในการนาเสนอ การสื่อสาร
การใช้ภาษาต่างประเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เป็นผู้ฝึกฝน ใส่ใจ และสามารถค้นคว้าสิ่งรอบตัวและเรียนรู้งานได้ด้วยตนเอง
คิดอย่างมีวิจารณญาณและสามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์
มีทักษะทางวิชาชีพ/วิชาการและการบริหารจัดการ
(อาทิ การใช้เทคโนโลยีเพื่อไปทาเป็น platform
ในการทา Big data  ด้านการตลาด/พฤติกรรมผู้บริโภค
ด้านการวางแผนกลยุทธ์ ด้านจิตวิทยา ด้านกฎ ระเบียบการค้าโลก
กฎหมายสิ่งแวดล้อมและกฎหมายใหม่ๆ ทั้งในและระหว่างประเทศ
รวมทั้งสามารถคิดกฎระเบียบใหม่ๆ เป็นต้น )
............................................................................................................................

มีความรอบรู้และรู้ลึกในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกัน เช่น
อาหารและความปลอดภัยทางด้านอาหาร มีคุณธรรมและจริยธรรม
มีระเบียบวินัย เคารพกฎกติกาของสังคม รับฟังและทางานร่วมกับคนอื่นได้
มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์ สุจริต ขยัน อดทน สู้งาน
และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติสุข
มีจิตอาสาที่ตระหนักถึงผลกระทบที่มีต่อสาธารณะชน สังคม
วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม มีทักษะในวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาทางเศรษฐกิจ
และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างเป็นระบบที่เหมาะสมได้
และเป็นผู้ที่สามารถปรับตัวได้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงในระบบเศรษฐกิจ
จาเป็นต้องร่วมกันวางแผนการผลิตและพัฒนาบุคลากรที่มีปริมาณ
และคุณภาพที่เหมาะสมตรงตามความต้องการของภาคธุรกิจการเกษตร
โดยเฉพาะสถาบันการศึกษา หน่วยงานรัฐ และเอกชน
ที่เกี่ยวข้องกับความต้องการรับบัณฑิตเข้าทางาน อาทิ
สถานประกอบการ บริษัทธุรกิจเอกชน รวมทั้งหน่วยงานภาครัฐ เป็นต้น
............................................................................................................................
ข้อเสนอแนะในการผลิตบัณฑิตของสถาบันการศึกษา
ที่ควรปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้เท่าทันกับยุคสมัยมีหลายเรื่อง ได้แก่
............................................................................................................................

1. การพัฒนาหลักสูตรศึกษาควรบูรณาการให้เป็นแบบสหศึกษา
ที่จะช่วยให้นักศึกษามีความรอบรู้ รอบด้านและเกี่ยวข้องกัน
และผู้สอนควรส่งเสริมการเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์กับนักศึกษาให้มากยิ่งขึ้น
รวมทั้งควรเน้นการสอนในแต่สินค้าที่แตกต่างกัน
............................................................................................................................

2. การศึกษาข้อมูลควรเน้นย้าการสืบค้นข้อมูลให้ชัดเจน
และถ่องแท้เพื่อให้เกิดการวิเคราะห์ที่มีประสิทธิภาพ
และหลักสูตรควรต้องบูรณาการกับสังคมชุมชนด้วย
............................................................................................................................

3. ควรส่งเสริมการเรียนรู้สิ่งใหม่รอบตัวให้มากยิ่งขึ้น
ดังตัวอย่างคนไต้หวันที่เติบโตจากระดับนายช่างเล็กๆ
ที่มีการศึกษาไม่สูงมาก แต่สามารถเรียนรู้สิ่งใหม่ได้รวดเร็ว
จนสามารถก้าวขึ้นมาเป็นนายช่างวางระบบและเป็นผู้บริหารในที่สุด
ทั้งหมดเกิดจากการเรียนรู้สิ่งใหม่รอบตัว
............................................................................................................................

4. ควรให้ความรู้นักศึกษาในประเด็นการทาธุรกิจที่จะต้องมองพฤติกรรมผู้บริโภค
เพื่อตอบสนองความต้องการ ซึ่งจะทาให้ขายสินค้าได้มากขึ้น
รวมทั้งการคิดวิเคราะห์การแก้ปัญหาในเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกัน
อาทิ ปัญหามาตรการทางการค้าที่มิใช่ภาษี (NTB) NTB) NTB)
ที่เข้มงวด เป็นอุปสรรคต่อการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหาร
โดยแนวทางแก้ไขปัญหาทางหนึ่งอาจเน้นเรื่องแปรรูปสินค้า
เพื่อหลีกเลี่ยงมาตรการ NTB NTB ดังกล่าว เป็นต้น
............................................................................................................................

5. สถาบันการศึกษาควรผลิตบัณฑิตให้เหมาะสม
กับภูมิลักษณะของแต่ละภาคของประเทศไทย
และควรปลูกฝังว่าการทาธุรกิจออนไลน์อาจไม่ยั่งยืนเมื่อเทคโนโลยี
และกระแสสังคมเปลี่ยน รวมทั้งควรปลูกฝังให้นักศึกษา
เห็นความสาคัญของเกษตรกรและเข้าใจภาคเกษตรและธุรกิจเกษตรให้ถ่องแท้ขึ้น
............................................................................................................................

6. สถาบันการศึกษาควรเน้นการให้ความรู้ที่ทันสมัย
ที่เป็นกระแสปัจจุบันของโลก  อาทิ Digital Technology, Marketing , 
Food Value Chain และ Global Value Chain
ซึ่งเป็นกระแสที่มาแรงและประเทศต่างๆ ตื่นตัวกันมาก
............................................................................................................................

7. ภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา
ควรสร้างเครือข่ายด้านข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตรระหว่างกัน
เพื่ออานวยความสะดวกในการสืบค้นข้อมูลและสร้างความน่าเชื่อถือของผลงานวิจัย
และการศึกษา แนวทางพัฒนาการเศรษฐกิจการเกษตรต่างๆ ของทุกภาคส่วน
............................................................................................................................

8. สถานศึกษาควรปลูกฝังเรื่องความรับผิดชอบ ความอดทน
ขยัน สู้งาน และ ความมีวินัยให้มาก เนื่องจากปัจจุบันเด็กรุ่นใหม่รักสบาย
มีความอดทนต่า ขาดวินัยในการทางาน
............................................................................................................................

9. สถานการศึกษาควรให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์
จากการฝึกงานอย่างมีระบบและได้ประโยชน์จริง
เน้นพื้นฐานความรู้เพื่อนามาใช้ในการปฏิบัติงานจริง
............................................................................................................................

10. สถาบันการศึกษาควรจัดหลักสูตรพิเศษ
หรืออบรมให้ความรู้เกี่ยวกับหน่วยงานต่างๆ และสถานประกอบการ
เพื่อเป็นข้อมูลให้นักศึกษาพิจารณาตัดสินใจว่าเมื่อจบแล้ว
จะสามารถประกอบอาชีพใดได้บ้าง และแต่ละอาชีพ
มีลักษณะการปฏิบัติงานอย่างไร เพื่อให้มีความพร้อมสามารถปฏิบัติได้ทันที
และควรผลิตบัณฑิตให้พร้อมทางานในพื้นที่ให้มากขึ้น
ที่สามารถบริหารการตลาดสินค้าเกษตรได้
............................................................................................................................

11. สถาบันครอบครัวควรเข้ามามีบทบาทในการปลูกฝังให้เด็กไทย
หาตัวตนของตัวเองให้เจอเพื่อให้มีโอกาสร้างประสบการณ์ด้วยตัวเองโดยเร็ว
............................................................................................................................

12. สถาบันการศึกษาควรแบ่งกลุ่มพัฒนาเพื่อให้นักศึกษามีทักษะที่ชัดเจน
อาทิ พัฒนาให้สามารถดาเนินธุรกิจทั้ง Start up 
และสืบทอดธุรกิจครอบครัว พัฒนาให้เป็น Staff และ Manager
และพัฒนาให้เป็นนักวิชาการป้อนภาครัฐและเอกชน เป็นต้น

ที่มาข้อมูล:ข้อสรุปจากสัมมนาโต๊ะกลมเรื่อง”บุคคลากรยุคใหม่เพื่ออนาคตธุรกิจเกษตรไทย” เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2562 ณ โรงแรมรามาการ์เด้นส์กรุงเทพฯ ของสมาคมเศรษฐศาสตร์เกษตรแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
............................................................................................................................

เตือนใจ เจริญพงษ์ กรรมการชมรมวิชาการนิสิตเก่า มก.
ผู้ post เมื่อ 30 พฤศจิกายน 2562
มี ดร.ประมุข เพ็ญสุต KU 33 เป็นประธาน
( KU ALUMNI BRAIN CLUB ) KU-ABC “
  




 

Create Date : 30 พฤศจิกายน 2562    
Last Update : 30 พฤศจิกายน 2562 17:01:02 น.
Counter : 263 Pageviews.  

1  2  3  4  

สมาชิกหมายเลข 5498498
Location :


[Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed

ผู้ติดตามบล็อก : 1 คน [?]




ชมรมวิชาการนิสิตเก่า มก.
( KU ALUMNI BRAIN CLUB ) KU-ABC
…เกิดจากการรวมตัวของเพื่อนๆ KU 33 ส่วนหนึ่ง
มีองค์ประกอบดังนี้
ก. ดร.วิทูรย์ สิมะโชคดี เป็นที่ปรึกษา
ข. นายเชิดศักดิ์ วงษ์กมลชุณห์ เป็นที่ปรึกษา
1. ดร.ประมุข เพ็ญสุต ประธาน
2. ศ.ดร.จริงแท้ ศิริพานิชย์ กรรมการ
3. นายชัยวุธ ชัยพันธ์ กรรมการ
4. พลตรีไชยสิทธิ์ ตันตยกุล กรรมการ
5. นางเตือนใจ เจริญพงษ์ กรรมการ
6. นางนงลักษณ์ ติรศรีวัฒน์ กรรมการ
7. อาจารย์นิตยา ทับทิมทัย กรรมการ
8. ดร. ปกรณ์ อุ่นประเสริฐ กรรมการ
9. อาจารย์ปัญญา เหล่าอนันต์ธนา กรรมการ
10. นางพัจนา ปัญจมรัศม กรรมการ
11. ดร.รัตนาภรณ์ ธรรมโกศล กรรมการ
12. นายสินชัย สวัสดิชัย กรรมการ
13. นางสุชีลา ธีรภรณ์ กรรมการ
14. นางสุพรรณี จันทโรจน์ กรรมการ
15. นายอดิศักดิ์ จงจิระศิริ กรรมการ
16. นางสาวอรทัย เอื้อตระกูล กรรมการ
17. รศ.ดร.อรพิน เกิดชูชื่น กรรมการ
18. นางอภิญญา รุจิธารณวงศ์ กรรมการ
เพื่อขับเคลื่อนเจตนารมย์ในการรวบรวมสาระความรู้ /ผลงานวิชาการด้านต่างๆของนิสิตเก่ามาเผยแพร่และแบ่งปันแก่สาธารณชน เมื่อ 2 กันยายน 2562 โดยนางเตือนใจ เจริญพงษ์ กรรมการชมรมเป็นผู้นำเสนอ post ทาง bloggang ของพันทิป หวังอย่างยิ่งว่าเนื้อหาของ blog คงให้ประโยชน์แก่สังคมคะ





Friends' blogs
[Add สมาชิกหมายเลข 5498498's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.