On the way to Tibet ( 9)



On the way to Tibet 



World’s highest ski resort to be built in Tibet



China has announced it is to build the world’s highest ski resort near Lhasa, the capital of Tibet and one of the highest cities in the world at 3,490m.

The exact details and facilities are, as yet, unknown but it has been planned as part of China’s latest Five Year Plan (running from 2016 to 2020). The new resort will potentially provide ideal conditions for the Tibet's athletes to train in the run up to the 2022 Winter Olympics in Beijing.

• Ski resorts in surprising places

Visitors to Tibet can enjoy the local culture as well as winter sports CREDIT: GETTY IMAGES
Tibet has an average altitude of 4,500m and its high Himalayan climate offers an abundance of snow-capped mountains and glaciers, so it’s well placed to develop a ski industry. It is likely the new resort will topple the current highest in the world, China’s Jade Dragon Snow Mountain, which tops 4,516m.

Tibet has five mountains higher than 8,000m, more than 70 mountains higher than 7,000m, and more than 1,000 mountains higher than 6,000m.

• In pictures: The world's least likely ski resorts

The deputy director of Tibet’s sports bureau, Nyima Tsering, said that it’s important to have a ski resort in the region’s capital, because it will help younger generations learn the basics of winter sports before attempting to tackle the surrounding peaks.

Skiers on manmade snow at Huaibei ski resort near Beijing CREDIT: GETTY IMAGES
Nyima told China Daily, "Just as China is new to the winter sports game, Tibet also has a long way to go." He added that he hoped "to see the faces of Tibetan skiers" at the 2022 Winter Olympics. Nyima is also the head of Tibet Mountaineering Guide School and has climbed to the top of Mount Everest three times.

The Tibetans would certainly have an advantage if they could train at high altitudes in the Himalayas. Dorje, one of a team of four Tibetan skiers, recently came eighth in the men’s event at the 2016 Sohu Cup national ski mountaineering event after training for just 90 days.

To promote the training of Tibetan talent and develop the resort, a contract has been signed between the sports bureaus of Tibet and China's Heilongjiang province in the north-east of the country. The province is home to the country’s largest ski resort, Yabuli, which has a vertical drop of 1,200m and is open from mid-November to March.

“Just as China is new to the winter sports game, Tibet also has a long way to go.”
Nyima Tsering, deputy director of Tibet’s sports bureau
Tibet has been attracting extreme sports enthusiasts for many years, including touring skiers and snowboarders, who trek to the top of its majestic peaks before descending. Experienced backcountry skiers and snowboarders can explore the mountains of central and eastern Tibet.

Many of these ranges are relatively unexplored and the glaciers descend from the peaks to alpine lakes and Buddhist monasteries, so visitors can enjoy the local Tibetan culture too.

China is estimated to have 450 ski resorts, all hoping to take advantage of the boost to snow sports that the 2022 Winter Olympics will provide, including current highest ski area in the world China’s Jade Dragon Snow Mountain. It is near the ancient town of Lijiang in the south-west Yunnan province and boasts a gondola that goes up to 4,516m. Alpine skiing is possible in the small ski area, which is 1,000m long and 600m wide and opens from November to June.

Tourists enjoy the snow at the trial opening of a new ski resort near Beijing CREDIT: GETTY IMAGES
• Honshu Japan: skiing into the mystic

China can also lay claim to the world’s highest lift. A modern Dopplemayr gondola takes visitors up to the Dagu Glacier at 4,843m, in the Sichuan province in the south-west of the country. Oxygen masks are supplied in the cabins, although there’s no skiing from the top.

The highest ski area in the world used to be Chacaltaya in Bolivia, where a high-altitude rope tow using a car engine was established in 1939 at approximately 5,200m. However, the lift no longer operates, due to lack of snow, even in winter.

Five of China’s top ski resorts

Yabuli Ski Resort, Heilongjiang
Nanshan, Beijing
Huaibei, Beijing
Xiling Ski Resort, Sichuan
Alshan Ski Resort, Inner Mongolia
The highest lift-served ski terrain in the world

Jade Dragon Mountain, Yunnan, China, 4,516m
The Gulmarg, Kashmir, India, 3,979m
Breckenridge, Colorado, USA, 3,915m
Loveland Ski Area, Colorado, USA, 3,870m
Chamonix, France, 3,840m
Zermatt, Switzerland, 3,820m
Aspen Snowmass, Colorado, USA, 3,815m

Amanda Howard Telegraph











Thank you :  https://www.chinahighlights.com/tibet/map.htm











Weather and Climate

The Tibetan climate is not as harsh as many people imagine it to be. It is suitable for travel to Tibet from April to the beginning of November, and the best time is August and September. But if you only stay in Lhasa, you can go there any time of the year.

The sunlight is extremely strong in Tibet in Lhasa its so intense that the city is called Sunlight City. The thin air can neither block off nor retain heat so that the temperature extremes can be met in daytime and the same night respectively in Tibet. However it is not impossible to visit the holy snow land. May, June and September are the tourism season in east Tibet.




Most annual rainfall comes in the rainy season that starts from June to September. Usually it rains at night in Lhasa, Shigatse and Chamdo area. The rainfall may block roads and make travel difficult but the scenery at the time will be the best.

Listed below we provide more specific information in different areas:







Lhasa /Shigatse /Lhatse /Tingri /Nyalan
Along the Friendship highway generally good conditions year around. From December to February, you may experience difficulties with the road. Try to avoid August as landslides could occur in the rainy season.


Mt. Everest Area
Early May and early October are the best time to visit Mt. Everest. Clear weather, provides a great chance to see Mt. Everest's true face (if you are lucky). From December to February, this area is too cold - except if you are real Adventure People.


Area (Mt.Kailash)
Even without climate restrictions, this area is already inhospitable. Large amounts of rain and snow could affect your journey. However, for those determined tourists, the appropriate time is May, June, July, September and October.


Eastern Tibet
Try to avoid this area in July and August as the rainy season can damage the road, making terrible landslides. In winter, the road could be frozen.


Northern Tibet
With the average altitude of 4,500m, this area offers very limited time for tourists. Summer (July to August) is the prime time to enjoy the great plain in northern Tibet.








30th June: Journey to Nyalam and Sega



วันที่ 30 มิถุนายน การเดินทางไปนายารามและเซกา

เราเริ่มเดินทางในเวลาประมาณตี1. ถนนขรุขระเป็นก้อนหิน
และแคบมาก
รถติดนิดหน่อย เจ้าแลนด์ครูุเซอร์ชะงักนิดหน่อย พระเจ้าให้เราเอาชนะู้อุปสรรคที่มีอีกหลายครั้ง. มีการก่อสร้างอีกหลายที่
บนภูเขา ที่โค้งแคบๆมมีรถบันทุกหนักติดอยู่ทำให้การจราจรติดขัด
ผมไม่มีความรู้ว่าทำอย่างไรที่จะจัดการให้ถนนโล่ง พวกเรารอจนถึงเช้ามีรถมาช่วยเหลือให้บรรทุกกลับมายังปลอดภัย พวกเรานอนหลับนานถึง 4 ชั่วโมงแบบไม่ค่อยสบายนักในรถแลนด์ครูเซอร์ มีเสียงดังมากจนหูแทบจะหนวก ตอนแรกคิดว่าจะเป็นรถบรรทุกตกลงไปยังหลุมก่อสร้าง แต่โชคยังดีที่เป็นเสีียงของเจลาติน บลาสต์ที่ใช้ตัดถนนในภูเขา ท้ายที่สุดแล้วรถยกก็มาถึงและลากรถบรรทุกกลับไปได้ด้วยความเรียบร้อย พวกเราจึงรู้สึกโล่งใจ

และเราก็มีอิสระและเดินทางต่อ

ภูเขาของเมืองซางมูเป็นสีเขียวและมีน้ำตก

เป็นบริเวนที่เป็นแนวลาด มีกา่รก่อสร้างมากมาย เป็นบริเวณกว้าง

ที่เป็นของรัฐบาลจีน ถนนคงจะดีขึ้นในปีสองปีนี้และคิดว่าคงจะเปลี่ยนแปลง
อย่างมากที่เดียว

ถนนมีแต่ฝุ่น ยังไม่ลาดยางมะตอย หรือลาดคอนกรีตแต่เมื่อนั่งรถผ่านเราก็เริ่มจ้องมองทิวทัศน์กัน






ทิวทัศน์ช่างต่างกันกับที่เราเคยเห็นที่Simla นี้หรือที่อื่นๆ บางทีคงเหมือนที่
Leh Laddakh ที่เป็นที่ราบสูง แต่มาตราส่วนใหญ่กว่ามากที่ความสูง 4500 เมตร ด้านหลังของภูเขาหิมาลัย มีอากาศน้อยและฝนตกน้อยด้วย เพราะว่าภูเขาหิมาลัยกั้นมรสุมที่จะเข้ามาข้างใน และเป็นทะเลทราย,ที่ๆไม่มีต้นไม้มีเพียงภูเขาก้อนหินและภูเขาหินทราย มีน้ำ้แข็งเกาะ ลมเย็นจัด ทะลุทะลวงไปถึงแสงอาทิตย์ ทำให้ผิวคุณเปลี่ยนเป็นสีแทนได้ในเวลานาทีเดียว

คุณสามารถเห็นภูเขาหิมาลัยห่อหุ้มด้วยหิมะ, ต่อมาเป็นเขาหินทราย และภูเขาหิน,ที่ราบเป็นร้อยๆตารางกิโลเมตร,ต่อมาก็จะเห็นทะเลสาบ สีเขียวอมฟ้าสดใส น้ำสะอาดสดใสในฉากเดียวกัน,เป็นเรื่องยากที่จะจินตนาการ เพราะมันไม่เหมือนที่ไหนในโลก, มันเหมือนกับว่าคุณเดินทางมายังดวงจันทร์

หรือสวรรค์ที่ปราศจากต้นไม้, ภาพงดงามที่เห็นสวยจนลืมหายใจไปเลย และ
ยากที่จะใช้คำอธิบาย Driver.. เราหยุดพักชั่วครู่ที่นายาราม ดื่มอะไรเย็นๆ และเขียนอีเมลล์ไปยังทางบ้าน อธิบายประสบการณ์เลอค่าให้ทางบ้านฟัง คนที่บ้าน ได้ยินก็โล่งใจและทีความสุขกับเราเมือฟังเราอธิบายถึงทิวทัศน์ที่เห็นมา
เราต้องเดินทางต่อไปเซกาแล้ว :ซึ่งเป็นการจัดโดยหัวหน้าผู้อาวุโสหลายคน

การเดินทางที่เรียกว่าbreathtaking สวยจนแทบจะลืมหายใจเลยที่เดียว
ธาร ่น้ำหลายสายที่งดงาม ฟองคลื่น ภูเขาหินทราย ที่ดูน่าปีนเสียจริงๆ ท้องฟ้าสดใส ราวดังวาด ผืนผ้าใบมหึมาจนไม่สามารถอธิบายด้วยคำพูด หรือจับภาพด้วยกล้องถ่ายรูป

คนขับรถให้เราไม่ใช่แค่สมาร์ท เขารวดเร็วเเละมีความเชี่ยวชาญ ผมจำชื่อเขาไม่ได้ และเขาไม่รู้ภาษาอังกฤษ เราเพียงติดต่อด้วยภาษากายใช้ท่าทาง บางคนก็พยายามประสานไมตรีกับคนขับรถชาวจีนคนอื่นๆ เป็นเรื่องที่ยอดเยี่ยมมากเพียงพอที่จะสำรวจความความยากของภาษาที่จะสื่อสารกัน

1st July 2008: staying at Sega 
We were the first ones to reach Saga. We waited for the rest of the group to arrive in hotel's lobby. After all had arrived, we were given two choices. Either to stay in same hotel and pay 90 Yuan ( 1 Yuan = 5.8 INR ) or stay at a cheaper hotel for around 20 Yuan, on self paying basis. 

It was criminal to ask for money from us, as we had paid all the money in advance for all food, travel, accommodation and miscellaneous expenses.

Still we had no choice, but to go with the flow. Everybody was feeling high altitude sickness now. A lot of people had to be given an extra oxygen supplement.

ผมกับสาวสวยชาวสเปน

Papa and chacha, were affected the most. My head was spinning and to make things worse, our room was on second floor, with no water in toilets.

It was the worst night of the whole tour.

Everybody was vomiting, feeling weak and breathless. Mr. Subhash, our group leader, had no solution for this. He said, it was going to happen, so that people can realize for themselves, that it was not the right decision to come to Saga directly. That he had proposed to stay at Nylam for acclimatization, but was overruled by group coordinator. 

In this case I knew of the result before the experiment they were doing on us. We could not eat, drink anything and the condition was bad.Most of us were vomiting.

So we had no option but to stay in that hotel for another day, to get acclimatized, which we should have done at Nylam.
Going to toilet was a big pain, as there was no water.
Taking Dymox tab, didn't help either.We just had to wait for our body to get used to such low pressure and less oxygen. 
I was wondering , where were the Gammow on bag, which was promised to be provided , incase of high altitude sickness ???

With no option but to stay at Sega, we were wondering whether we would actually be able to reach kailash mansarovar. Even our sherpa leader, Raj, mentioned, maybe kailash does not want to give you guys darshan. But still we were very hopeful. 

We went to the market and had hot shower for 5 Yuan. It was refreshing as we had not taken bath for almost three days.
We felt rejuvenated after it. Language and food was a major problem. For the second night,

the agency had arranged for stay at tents, with self cooked food by sherpas.But we decided to stay back at hotel as health of papa and chacha was still not good and it was chilly and uncomfortable at the tent side.

For having food, we went there. The food was not bad, but we could hardly eat, as we were facing loss of appetite. So we had little food and tea. Except for papa and chacha, everyone felt much better. We even practiced some walking, around the camp and on the hills nearby. We even told Subhash, that we were very eager to do the Parikarma, whatever may happen. 

It was better to have arrangement in tents from now on and have food there. The feeling of adventure and trek had started to come, although it was uncomfortable for most to stay in cosy sleeping bags of the tents. It was going to fun for me, to stay in tents again, after so many years. Last time I had stayed was in school, Xth standard, in Uttarkashi. I was looking forward to that period again and maybe even set up my tent myself. 

Papa and chacha were mainly on liquid diet, like juices and water. Anything else they found hard to digest. Nobody offered any help or guidance. It was truly survival of the fittest. No doctors, no specialized equipments like Gammow bag were in sight, which were promised, before the tour. Thankfully Ankur was with us, even though he is an eye doctor, he gave very valuable medications, which were very helpful. 

We all were feeling very weak and trying to regroup ourselves. Ankur spoke to his parents at home. Listening to his low voice, his mom advised him not to take parikarma. Even I could not imagine doing parikarma in such state. So we decided to think about it, when we will actually reach there. Back to hotel, there was still no water. 

1 กรกฎาคม 2008 : พักที่เซกา

มันเป็นเรื่องผิดที่จะถามเรื่องเงินจากเรา,ที่เราได้จ่ายเงินล่วงหน้ามาแล้วสำหรับค่าอาหารทั้งหมดค่าเดินทางค่าที่พัก และค่าใช้จ่ายอื่นๆเรายังไม่มีทางเลือก ที่จะดีกว่านี้ .ทุกคนที่มาตอนนี้มีอาการป่วยของการขึ้นที่่สูง. หลายคนต้องใช้ออกซิเจนช่วยหายใจ 

มันเป็นคืนที่เลวร้ายที่สุดในการเดินทางทุกคนมีอาการอาเจียน อ่อนเพลียและหายใจไม่ออก คุณสุบัสหัวหน้ากลุ่มของเราไม่มีคำตอบให้สิ่งเหล่านี้ เขาพูดว่ามันเกิดขึ้นได้และทุกคนก็จะรู้ตัวเอง ซึ่งไม่ใช่คำตอบ มันเกิดจากที่เรามาเซกาโดยไมียอมพักที่์ันายารามซึ่งเราต้องปรับร่างกายก่อน ( Acclimatization) เราละเมิดกฎเพราะเงื่อนไขของกลุ่ม ที่เดินทางต่อโดยไม่ยอมพัก

( คือต้องพักที่นายารามก่อน ตามหลัก Acclimatization การปรับตัว และอีกอันหนึ่งที่เราเพิ่งจะรู้หลังจากกลับมาแล้วเมื่อขึ้นที่สูงการนอนพักต้องลงมาพักต่ำ่กว่าเดิม)Why were we being made the testing scapegoats???
เราถูกทดสอบให้เป็นผู้รับบาปละมั้ง????

ในกรณีนี้ผมรุ้ผลที่เป็นหนูทดลองที่กลุ่มุ่ หัวหน้าทัวร์ทำกับลูกค้าและเราไม่มีตัวเลือก แต่ต้องพักอยู่ในโรงแรมในวันรุ่งขึ้น ที่จะต้องปรับตัวให้ชินกับความกดอากาศ และให้เวลากับร่างกาย Acclimatization ที่น่าจะได้พักที่นายาราม

การใช้ห้องน้ำยิ่งเป็นอะไรที่เจ็บปวดสุดๆการใช้ยา Diamoxชนิดเม็ด ไม่ได้ช่วยอะไรเราได้แต่คอยว่าร่างกาย ของเราจะชินต่อความกดอากาศ และมีอ็อกซิเจนน้อยเช่นนี้ได้อย่างไร ผมได้แต่คิดว่าคิดว่า ยาสำหรับใช้ในที่ความกดอากาศต่ำ ที่บริษัททัวร์บอกว่าจะจัดให้ ในถุงติดตัว ในกรณีที่ป่วยมากจากการขึ้น ที่สูงแต่ความกดอากาศต่ำมากได้จัดให้ไหม???

เราไปอาบน้ำที่ตลาดที่มีน้ำอุ่นราคา5 หยวน ก็ทำให้เราสดชื่นสักหน่อย เพราะไม่ได้อาบน้ำมา3วันแล้วรู้สึกตัวว่าหนุ่มขึ้นเป็นกองหลังจากนั้น การพูดภาษาเพื่อจะซื้ออาหารก็เกิดมาเป็น

ปัญหาในคืนต่อมา

อาเจนซี่ ทัวร์ให้เราพักโดยกางเต็นท์ และทำอาหารเองโดยเชอร์ปาส์
แต่เราตั้งใจว่าจะอยู่ในโรงแรมเพราะอาการของPapa กับChacha ไม่ค่อยดี อากาศเย็น และไม่สะดวก บริเวณที่ตั้งเต็นท์เวลาจะกินอาหาร เราก็ไปกินที่นั่น อาหารก็ไม่เลวร้ายอะไร แต่เราก็ยังทานกันอย่างลำบาก และเราไม่ค่อยหิว ดังนั้นจึงกินกันเล็กน้อย และ

ดื่มชา ยกเว้นของPapa และ Chacha , ทุกคนอาการดีขึ้น เราฝึกเดินรอบๆแคมป์ และเนินเขาเตี้ยๆที่อยู่ไกล้ เราได้แจ้งกับสุบัสว่าเราเราอยากจะเดินทางไปปริกามากันจริงๆ ไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้น


เป็นสิ่งที่ดีที่เราตระเตรียมเรื่องเต้นท์ ตอนนี้และไปกินอาหารที่นั่น ,ความรู้สึกอยากผจญภัยได้เริ่มขึ้น, แม้ว่ามันจะไม่สดวกสบาย สำหรับการอยู่ที่เต้นท์ที่ต้องใช้ถุงนอนแม้ว่ามันจะดูหรูหราก็ตาม มันเป็นเรื่องตลกที่ผมต้องนอนในเต้นท์หลังจากหลายปี ซึ่งใช้ตอนเป็นนักเรียน

เป็นขนาดมาตรฐานที่เมืองUttarkashi และผมก็มองโอกาสจะได้ใช้มันอีกครั้ง
PAPA และChacha ยังต้องทานอาหารเหลวส่วนใหญ่ น้ำสม้้และน้ำเปล่า
ถ้ามีอะไรดูจะยากกับการย่อยอาหารก็จะไม่มีใคร เสนอให้ทาน

เป็นการที่มีชีวิตอยู่โดยไม่มีหมอให้พึ่ง ไม่ม่ถุงยาสำหรับเตรียมป้องกันการป่วยหนัก ที่เราได้ทราบว่าจะมีการจัดให้และเขารับปากก่อนเดินทาง
ขอบคูณที่ Ankur เป็นหมอรักษาตา เขาก็มอบยาที่ดีให้เราซึ่งช่วยได้มาก
เรารู้สึกอ่อนแอและพยายามจัดกลุ่มใหม่ Ankor คุยกับครอบครัวที่บ้าน
ฟังเสียงเขาเงียบลง เหมือนคุณแม่ของเขาสั่งว่าไม่ต้องไปปาริกามา
ทำให้เราคิดมากขึ้นอีก 

Nishan Gupta's Diary



//www.tibettravel.org/kailash-tour/lhasa-to-mount-kailash.html




Create Date : 08 กรกฎาคม 2551
Last Update : 27 สิงหาคม 2560 20:00:19 น.
Counter : 1634 Pageviews.

18 comments
  
มาเจมคนแรกเลยค่ะ

อยากไปมากเลยค่ะ ชอบภาพสุดท้ายมาก ๆเลยค่ะ สวยมากค่ะ
โดย: jiney (สวยตลอดกาล ) วันที่: 10 กรกฎาคม 2551 เวลา:3:59:22 น.
  
รูปสวยสุด ๆ ไปเลยค่ะ
โดย: Oops! a daisy วันที่: 10 กรกฎาคม 2551 เวลา:15:40:57 น.
  
เอา เอม

ใส่ กรา เป๋า ปาย เที่ยว ด้วย ก้าบบบบบบบ
โดย: dogamania วันที่: 10 กรกฎาคม 2551 เวลา:23:04:24 น.
  
wow....
that place looks wonderful!
โดย: Pat (PinManchester) IP: 89.242.198.189 วันที่: 12 กรกฎาคม 2551 เวลา:3:11:13 น.
  
ภาพสวยจังเลยค่ะ

ขอบคุณที่ไปเยี่ยมที่บล๊อกค่ะ
ยินดีที่ได้รู้จักค่ะ
โดย: kai (aitai ) วันที่: 12 กรกฎาคม 2551 เวลา:7:47:58 น.
  
โดย: เก่งกว่าผมตายไปหมดแล้ว วันที่: 12 กรกฎาคม 2551 เวลา:23:00:40 น.
  
แวะมาเยี่ยมอีกครั้งค่ะ ขอบคุณที่ไปเขียนคำหวาน ๆ ให้น่ะค่ะ
โดย: jiney6 (สวยตลอดกาล ) วันที่: 13 กรกฎาคม 2551 เวลา:5:59:44 น.
  
รูปสวยจังค่ะ

ขอบคุณที่แวะไปเยี่ยมบล็อกนะคะ
โดย: payun-sai วันที่: 13 กรกฎาคม 2551 เวลา:8:37:44 น.
  
เป็นนักเดินทาง นี่เองค่ะ เทห์มาก ๆ เลยค่ะ ภาพและวิว สวยมาก ๆ สวรรค์บนดินใช่ไหมค่ะ อยากเห็นกับตาตัวเองบ้างจัง เป็นกำลังใจให้ ค่ะ
โดย: girlroom13 วันที่: 13 กรกฎาคม 2551 เวลา:8:54:17 น.
  
เห็นแล้วเกิดกิเลส อยากไปมั่ง

ภาพสวย

ขอบคุณที่แวะเยี่ยม
โดย: นกหรรษา วันที่: 13 กรกฎาคม 2551 เวลา:14:23:14 น.
  
เป้นดินแดนที่ไฝ่ฝันอยากจะไปในวันหนึ่ง แต่ไม่รุ้ว่า จะได้ไปบ้างมั้ย น่าสนใจมากๆ รูปที่ถ่ายมาสวยค่ะ และขอบคุณสำหรับความรู้เล็กน้อย เกี่ยวกับทิเบต และ การเดินทางไปทิเบตค่ะ



โดย: วินนี่ย์หมีพูห์ วันที่: 13 กรกฎาคม 2551 เวลา:17:39:29 น.
  
วิวสวยจิงๆเลยค่ะ
แต่อย่างอื่นนี่ดูลำเค็ญมาก
เป็นประสบการณ์ที่คุณก้อคงจะลืมไม่ลงไปตลอดชีวิตเลยนะคะ
โดย: Too Optimistic วันที่: 13 กรกฎาคม 2551 เวลา:22:05:54 น.
  
เป็นนักท่องเที่ยวผจญภัยเลยน่ะ
อย่างนี้ผมคงไปไม่ไหวเพราะเป็นคนเมือง
คืออดทนผจญภัยไม่ไหว อิอิ
โดย: ปรานทยา วันที่: 13 กรกฎาคม 2551 เวลา:23:05:33 น.
  
โห่ ขอซูฮกให้เลย เที่ยวลุยกันมากเลยอะค่ะ ยอมแพ้เลยอะ อยากทำเหมือนกันค่ะ แต่สังขารไม่ไหวแล้วค่ะ
โดย: ....พี่คังซี กับ นายยูเอส.... วันที่: 14 กรกฎาคม 2551 เวลา:10:39:11 น.
  
อ่านแล้วตื่นเต้นทุกตอนเลยค่ะ

ภาพสวยมากค่ะ ทำให้อยากไปเที่ยวทิเบตมากมาย

นึกถึงหนังสือเรื่องอะไรน๊าที่ เบรด พิตต์เล่น เขาผจญภัยไปพบท่านลาไมดามะ ตอนที่ท่านยังเป็นเด็ก 7 years in Tibet

ขอบคุณที่ไปเยี่ยมบล๊อคค่ะ เพลงที่คุณชอบเป็นเพลงสไตล์ Bossanova แจ๊ซปนลาติน คิดว่านะคะ




โดย: fulgurant วันที่: 14 กรกฎาคม 2551 เวลา:11:50:48 น.
  
สวัสดีค่ะมาเยี่ยมเจ้าค่ะ
โดย: kai (aitai ) วันที่: 14 กรกฎาคม 2551 เวลา:13:48:53 น.
  
สวยมาก++++++++++ เลยค่ะ อยากไปเที่ยวแบบนี้บ้างจังเลยค่ะ จามีปานยามั้ยนะเราชาตินี้อ่ะ
โดย: the river of Aquarius วันที่: 14 กรกฎาคม 2551 เวลา:14:13:55 น.
ชื่อ :
Comment :
 *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

SwantiJareeCheri
Location :
  

[ดู Profile ทั้งหมด]
 ฝากข้อความหลังไมค์
 Rss Feed
 Smember
 ผู้ติดตามบล็อก : 2 คน [?]



New Comments
กรกฏาคม 2551

 
 
1
2
4
9
11
12
14
16
17
18
19
20
21
22
24
25
26
27
28
31
 
 
8 กรกฏาคม 2551
All Blog