"ยินดีต้อนรับสู่ บล็อกของคนใฝ่รู้ สำหรับผู้ใส่ใจใฝ่รู้ค่ะ" มีหลายหัวข้อเรื่องให้คุณอ่าน .. ขอบคุณที่มาเยี่ยมบล็อกค่ะ .. ขอจงมีแต่ความสุขกายสบายใจตลอดไปนะคะ
Group Blog
 
<<
กันยายน 2553
 1234
567891011
12131415161718
19202122232425
2627282930 
 
12 กันยายน 2553
 
All Blogs
 
จตุรประดิษฐ์ (The Four Great Inventions) สุดแสนวิเศษ







"ราชินีมาลยมาศละอองนวล ชวนกันมาให้กำลังใจคุณค่ะ"





สิ่งประดิษฐ์ทั้ง 4 ของจีน หรือ จตุรประดิษฐ์ (The Four Great Inventions, จีน: 四大发明, พินอิน: sì dà fāmíng) เป็นสิ่งประดิษฐ์สำคัญที่ปรากฏในประวัติศาสตร์ แสดงถึงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีน ได้แก่ เข็มทิศ ดินปืน กระดาษ และการพิมพ์


เข็มทิศ

เข็มทิศ การประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ ที่มีคุณค่าที่สุดและเก่าแก่ที่สุดสิ่งหนึ่งของจีน คือ เข็มแม่เหล็ก สมัยแรกคนจีนใช้เข็มแม่เหล็กไปติดไว้บนรถ สร้างรถชี้ทิศ เพื่อใช้ในการสงครามหรือใช้เป็นเครื่องมือหาทิศทางเวลาอยู่ในป่าลึกหรือภูเขา

จากหลักฐานที่บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ชาวจีนรู้จักใช้เข็มทิศหน้าปัดกลมเพื่อเดินเรือเมื่อศตวรรษที่ 12 นั่นคือในขณะนั้น จูยี่ เป็นชาวมณฑลเจ้อเจียง ได้เขียนบันทึกชื่อผิงโจวเข่อถาน บันทึกไว้ว่า

" ในคืนแรม ทหารเรือได้ใช้เข็มทิศหน้าปัดกลมจำแนกทิศทาง"

ต่อมา เจิ้งเหอ ได้เริ่มเดินทางตั้งแต่ปี ค.ศ. 1405 เดินทางไปถึงอาหรับและแอฟริกาตะวันออก ไปกลับเจ็ดครั้ง รวมเวลาได้ 28 ปี เราจะเห็นได้ว่าหากไม่มีเข็มทิศแล้ว การเดินทางในมหาสมุทรระยะไกลเช่นนี้ย่อมไม่สำเร็จแน่

ชาวอิตาเลียนใช้เข็มทิศในศตวรรษที่ 14 จีนจึงใช้เข็มทิศเร็วกว่าอิตาลีอย่างน้อยสองศตวรรษ และหากอ้างอิงถึง ทรรศะของนักประวัติศาสตร์ ชาวตะวันตกได้นำเข็มทิศหน้าปัดกลมไปจากจีนนั่นเอง


ดินปืน

ดินปืนเป็นหนึ่งในสิ่งประดิษฐ์อันยิ่งใหญ่ของจีนอีกเช่นกัน หลักฐานของจีนมีอยู่ว่า การประดิษฐ์ดินปืนนั้นสืบเนื่องมาจาก ในป่าลึกทางตะวันตกของจีนมีผีป่าน่ากลัว ชื่อซันเซา ผู้ใดพบก็จะมีอาการจับไข้ หากนำไม้ใผ่มาตัดเป็นข้อปล้องโยนเข้าไปในกองไฟ จะเกิดเสียงดังเปรี้ยงปร้าง ซันเซาก็จะตกใจหนีไป

คืนส่งท้ายปีเก่าของจีนจึงนิยมจุดประทัด เพื่อขับไล่ผีซันเซานี่เอง ภายหลังมีการนำเอาดินประสิวและกำมะถัน มาห่อรวมกันในกระดาษทำให้เป็นประทัด นั่นคือการเริ่มต้นใช้ดินปืน

ส่วนประกอบสำคัญของดินปืน คือ ดินประสิว กำมะถัน และผงถ่าน สมัยซ้องมีการนำดินปืนมาประดิษฐ์อาวุธยุทโธปกรณ์ โดยเฉพาะสมัยซ้องใต้มีการนำมาใช้มากขึ้นไปอีก

เกี่ยวกับการประดิษฐ์ดินปืน และทำกระดาษนี้ มีตำราเล่มหนึ่งบันทึกเรื่องเหล่านี้เอาไว้ เช่น ปลายสมัยราชวงศ์หมิง ซ่งอิ้งซิง ได้เขียนตำรา เทียนกงไคอู้ บรรยายการวิเคราะห์อุตสาหกรรมเคมีสมัยจีนโบราณ ทั้งมีภาพประกอบ นับว่าเป็นหนังสือที่มีคุณค่ามาก


กระดาษ

กระดาษ วัฒนธรรมและงานของมนุษย์เจริญขึ้น มีผลมาจากการพิมพ์
ก้าวหน้า การพิมพ์ต้องใช้กระดาษ ดังนั้นการผลิตและการใช้กระดาษจึงมีประโยชน์ต่อวัฒนธรรมมนุษย์มาก ชาวจีนจึงภูมิใจมากที่ตนเป็นผู้ค้นพบวิธีทำกระดาษ

แต่เดิมนั้น ชาวจีนหนังสือลงบนแผ่นไม้ไผ่ ต่อมาในสมัยราชวงศ์ฉินและฮั่น ผู้คนเริ่มพากันมีความเห็นว่าการเขียนบนแผ่นไม้นั้นไม่สะดวก ผู้คนจึงเปลี่ยนมาเขียนลงบนผ้าไหมแทน แต่ว่าผ้าไหมแพงมาก

ต่อมาสมัยฮั่นตะวันออก ไช่หลุน ค้นพบวิธีนำเปลือกไม้ เศษผ้า มาทำกระดาษ จักรพรรดิฮั่นเหอตี้ทรงโปรดมาก ผู้คนทั่วโลกได้ใช้กระดาษของเขา เราจึงเรียกชื่อกระดาษนี้ว่า กระดาษไช่หลุน


การพิมพ์

การพิมพ์ ด้านเทคนิคการพิมพ์ จีนได้รับยกย่องว่าเป็นผู้คิดค้น แต่เดิมตำราของจีนต้องคัดลอกด้วยลายมือ ต่อมา มหาอุปราชเฝิงเต้าสั่งให้ราชวิทยาลัยกว่อจื่อเจี้ยน จัดพิมพ์คัมภีร์ 9 เล่ม นับเป็นการพิมพ์หนังสือจำนวนมากเป็นครั้งแรกของรัฐบาล

พอเริ่มมีการพิมพ์จากรัฐบาล ทางเอกชนและบรรดาร้านหนังสือต่างก็พิมพ์หนังสือของตนเองออกมาบ้าง ตำราต่างๆ จึงเผยแพร่ออกไปได้มากและกว้างขวางกว่าเดิม และเป็นการเรียงพิมพ์ ทำให้สามารถผลิตหนังสือได้เร็วและมากกว่าเดิมหลายเท่า

เครื่องพิมพ์แบบเรียงพิมพ์ที่ปี้เซิงประดิษฐ์ขึ้น ใช้แผ่นดินเหนียวเผาแกะเป็นตัวพิมพ์ ต่างจากปัจจุบันตรงที่ปัจจุบันเป็นตะกั่วเท่านั้น

เครื่องพิมพ์ของ โยฮัน กูเตนเบิร์ก ที่ประดิษฐ์ได้เมื่อปี ค.ศ. 1450 นั้น ช้ากว่าของจีนถึง 400 ปีเศษทีเดียว การพิมพ์ ศตวรรษที่ 7 พบข้อความเกี่ยวกับศาสนาพุทธบนแท่นพิมพ์ไม้

ประมาณศตวรรษที่ 10 มีการพิมพ์หนังสือประเภทวรรณคดี สมัยซ้องนี้มีการเรียงพิมพ์ตัวอักษรอยู่ทั่วไป และยังมีการเข้าเล่มหนังสืออีกด้วย


ขอขอบคุณ วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


สิริสวัสดิ์อาทิตยวาร สิริมานภิรมย์ปรีดิ์ค่ะ


Create Date : 12 กันยายน 2553
Last Update : 12 กันยายน 2553 0:00:20 น. 0 comments
Counter : 1996 Pageviews.

sirivinit
Location :
กรุงเทพฯ Thailand

[ดู Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 224 คน [?]





/



2558

2556

2555

น้ำใจจากคุณ krittut 2554

2553


สิริสวัสดิ์วรวาร
เปรมปรีดิ์มานรื่นรมณีย์นะคะ ยินดีต้อนรับ
สู่บล็อกของคนใฝ่รู้ สำหรับผู้ใส่ใจใฝ่รู้ค่ะ

เชิญอ่านตามสบายนะคะ
มีดีๆให้คุณได้ทราบหลากหลายค่ะ

๑ - ๑/๑ ฉันรักในหลวง
๒.๓.๑๐.๑๕.๓๐.๒๔.๕๙.๖๓.๙๐.ธรรมะ
๔ - ๔/๑ รวมพลคนดัง
๕. ศาสนาพุทธสุดประเสริฐ
๖. ความรู้ทั่วไปในศาสนาพุทธ
๗. ๑๖. ประวัติศาสตร์
๘ - ๙/๑ ไม้ดอก ไม้ใบ
๑๑ - ๑๑/๑ เกม
๑๒.๓๗.๔๐-๔๓.๕๓.๗๕.๘๖.ศิลปะเทศ
๑๔ - ๑๔/๑. ๒๐๘. ข่าวคนดังเทศ
๑๘. ๑๙. ๒๒. ราชวงศ์ไทย
๒๐.๑๑๖-๑๑๖/๒ ๑๙๐-๑๙๐/๘ ละคร ทีวี
๒๑. ๓๑. ๒๐๘. ราชวงศ์เทศ
๒๔. นักเขียนไทย
๒๔/๑. กลอนชั้นบรมครู
๒๙/๑-๒๙/๔โปสการ์ดจากเพื่อนบล็อก
๓๓. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
๓๙.๑๘๑-๑๘๑/๗ สุธาโภชน์รสเลิศล้ำ
๔๑.๔๒.๕๐.๕๘.๖๐.๖๑.๘๖.มหาวิหาร
๕๗. ปราสาท พระราชวัง คฤหาสน์เทศ
๖๒. วัด
๖๕ - ๖๕/๑ การ์ตูน
๖๕/๒. นิทานเซน
๖๗. ความตายมาพรากให้จากไป
๖๙ - ๖๙/๒ สารพัดสัตว์
๗๔. สุนัข
๗๖. อุทยานสวรรค์
๗๗. ซูเปอร์แมน - แบทแมน
๗๘ - ๘๓. แสตมป์สะสม
๘๕-๘๕/๑ หนังสือสะสม
๘๗ - ๘๗/๒ ๒๑๕ ข่าวกีฬา
๘๙. ๘๙/๑ จีนแผ่นดินใหญ่
๙๐/๑ .ทิเบต
๙๑. จันทร์สูริย์ดารา
๙๒. สมเด็จพระปิยมหาราชเจ้า
๙๓ - ๙๓/๒ ภาพยนตร์
๙๔ - ๙๔/๓ ยานยนต์
๙๕ - ๙๕/๑ ดูดวง
๙๖ - ๙๖/๑ . ๒๑๑ วิทยาศาสตร์
๙๗ - ๙๗/๑.๒๐๙ แวดวงวรรณกรรม
๙๘. ภาพพุทธประวัติ
๙๙. ๑๒๗ - ๑๒๗/๑ ดนตรี
๑๐๑. ป้าย R สะสม
๑๐๒. บัตรภาพตราไปรฯสะสม
๑๐๓. DIY
๑๐๗/๑ เล่าเรื่องเมืองญี่ปุ่น
๑๐๘ - ๑๐๘/๑ หนังสือ
๑๑๓ - ๑๑๓/๑ บ้านสวย
๑๑๕. พระเครื่อง
๑๒๐. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
๑๒๓. เจ้าฟ้าเพชรรัตน์ฯ
๑๒๕. เหรียญที่ระลึก
๑๒๕/๑ เหรียญสะสมต่างประเทศ
๑๒๕/๒ เหรียญที่ระลึกจังหวัด
๑๒๕/๓ ธนบัตรที่ระลึก
๑๒๕/๔ บัตรโทรศัพท์
๑๒๕/๕ กล่องไม้ขีด และอื่นๆ
๑๓๑.เรื่องสั้นชั้นครู"เจียวต้าย"
๑๖๔.บล็อกพิเศษ วันเดียวอั๊พ 100
เอนทรี่ ให้คุณป้า"ร่มไม้เย็น"ชม
๑๙๐/๓ เรื่องย่อละคร
๑๙๓. คดีเขาพระวิหาร
๒๑๒. ศิลปะ
๒๑๗. วิถีแห่งอำนาจ บูเช็กเทียน
๒๑๗/๑.วิถีแห่งอำนาจ เจงกิสข่าน
๒๑๗/๒.วิถีแห่งอำนาจ จูหยวนจาง
๒๑๗/๓.วิถีแห่งอำนาจ ซูสีไทเฮา
๒๑๗/๔.วิถีแห่งอำนาจ หงซิ่วฉวน
๒๑๗/๕.วิถีแห่งอำนาจ แฮรี่ พอตเตอร์

ข่าวทั่วไปล่าสุด บล็อกล่างสุดค่ะ

เปิดบล็อก 1 มกราคม 2552



free counters
08.27 - 250811

207 flags collected 300316



Friends' blogs
[Add sirivinit's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.