แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว และ เวชศาสตร์ป้องกัน ร.พ.พนมสารคาม อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน
คนคือทรัพยากรที่สำคัญที่สุดในการบริหารจัดการ
ข่าวสุขภาพที่น่าสนใจ
เรื่องสัพเพเหระที่น่าสนใจ
เรื่องแปลกที่น่าสนใจ
ที่พักข้อมูลไว้เพื่อนำมาลงต่อไป
ข่าวสุขภาพที่น่าสนใจ1
เรื่องสัพเพเหระที่น่าสนใจ1
ข่าวสุขภาพที่น่าสนใจ2
คนคือทรัพยากรที่สำคัญที่สุดในการบริหารจัดการ 1
กลุ่มเรื่องที่น่าสนใจ
เอกสารประกอบการสอน
ข่าวการเมืองที่น่ารู้และควรติดตาม
คนคือทรัพยากรที่สำคัญที่สุดในการบริหารจัดการ2
เรื่องสัพเพเหระที่น่าสนใจ2
รวมข่าววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี่ที่น่าสนใจ
ข่าวสุขภาพที่น่าสนใจ3
เรื่องแปลกที่น่าสนใจ2
KAP:K-Knowledge,A-Attitude,P-Practise
ชมรมจริยธรรม ร.พ.พนมสารคาม
ข่าวการเมืองที่น่ารู้และควรติดตาม2
<<
พฤศจิกายน 2549
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
16 พฤศจิกายน 2549
การดูแลทางด้านสาธารณสุขเบื้องต้นที่อังกฤษ และ ฟินแลนด์ พึ่งระบบPrimary health careมากประมาณ90%ของงาน
"นำ สาธารณสุขมูลฐาน ตาม Ottawa Charter มาให้พวกเราร่วมขับเคลื่อนให้เกิดขึ้น"
"ยกบริการปฐมภูมิใน ร.พ.ไปให้บริการใกล้บ้าน ที่สถานีอนามัย(ร.พ.ส่งเสริมสุขภาพตำบล)เพื่อเป็นด่านแรก"
"ทางดีไม่มีคนเดิน" ขอเสนอบทความ" กลวิธีในการทำให้คนมาเดินในทางดีได้"
"รพ.รามาฯเปิดศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองแห่งแรกลดความแออัดภายใน"
"แพทย์ไม่พอ และ ทำงานหนัก จริงหรือ"
"แก้แออัดผู้ป่วยโรงพยาบาลใหญ่ หมอมงคล ร.ม.ต.สาธารณสุข เพิ่มหน่วยตรวจคนไข้นอก"
"วินิจฉัยโรคได้อย่างไร,ร.พ.ส่งเสริมสุขภาพ,ร.พ.คุณภาพ และ การดูแลสุขภาพรูปเครือข่าย คือ อะไร"
สถานพยาบาลด่านสามเร่งพัฒนางานโรคหัวใจและหลอดเลือดให้มีอยู่ทั่วประเทศ
"สาส์นจากนายกแพทยสภา"การมีส่วนรวมในการดูแลสุขภาพของผู้ป่วย"
"การดูแลสุขภาพรูปเครือข่าย คือ อะไร"
ตัวอย่างแพทย์ด่านแรก แสดงความสามารถจนได้รับการยกย่องเป็น"แพทย์ชนบทดีเด่นประจำปี2549 "
ตัวอย่างแพทย์ด่านสามแสดงความสามารถ"หมอไทยเก่ง ผ่าแยกแฝด "
"แนะนำแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว และ แพทย์เวชศาสตร์ป้องกัน"แพทย์ด่านแรกที่จะแก้ปัญหาสุขภาพของชาติได้???
การดูแลทางด้านสาธารณสุขเบื้องต้นที่อังกฤษ และ ฟินแลนด์ พึ่งระบบPrimary health careมากประมาณ90%ของงาน
เวชศาสตร์ครอบครัวกับการปฏิรูปสุขภาพแห่งชาติ
จุดประสงค์ของการแบ่งการดูแลสุขภาพ เป็น รูปเครือข่าย สามระดับ
การดูแลทางด้านสาธารณสุขเบื้องต้นที่อังกฤษ และ ฟินแลนด์ พึ่งระบบPrimary health careมากประมาณ90%ของงาน
สถานีอนามัยที่สร้างไว้แล้วทุกตำบล สามารถพัฒนาเป็น
สถานพยาบาลใกล้บ้านเป็นสถานที่ทำงานปฐมภูมิ ของ
แพทย์ทั่วไป หรือ แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว
.........................................................
การดูแลทางด้านสาธารณสุขเบื้องต้น(ระดับปฐมภูมิ)ที่อังกฤษ และ ฟินแลนด์
บทความนี้ ผมในฐานะ แพทย์จุฬาฯ รุ่น 30 ลูกศิษย์ ท่านอาจารย์ พินิจ กุลละวณิชย์ เคยรับฟัง ท่าน สอน เกี่ยวกับโรคทางเดินอาหาร เมื่อมาได้พบ เรื่อง ที่ท่านเขียนลงคอลัมภ์ในหนังสือพิมพ์ มติชน ก็เก็บข่าวไว้ในเครื่องคอมพ์เพื่อนำมาอ้างอิง วันนี้จึงนำมาลงเผยแพร่ และ เรียนขออนุญาตท่านอาจารย์พินิจ มาด้วยความเคารพอย่างสูง ขอนำมาลง โดยยังไม่ได้ติดต่อกับท่าน หวังว่า ท่านอาจารย์คงไม่ว่า อะไร เพราะ ว่าเป็นบทความที่เป็นประโยชน์ต่อวงการสาธารณสุขของประเทศ และ เกี่ยวข้องกับงานที่ผมรับผิดชอบ ในตำแหน่งหัวหน้า งาน "เวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน" อยู่ จึงได้นำมาเผยแพร่ ให้ผู้เข้ามาในเวบบล็อค เวชศาสตร์ครอบครัว และ ชุมชน เนื้อข่าวมีดังต่อไปนี้
...........................................................................
น.พ.พินิจ กุลละวณิชย์
เลขาธิการแพทยสภา
..........................
"แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป "
ในคอลัมภ์ ส่องโลกส่องสุขภาพ กับ แพทยสภา จาก น.ส.พ.มติชน วันศุกร์ ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2548 มีใจความดังนี้
เมื่อเร็วๆนี้ ผมได้เดินทางไปดูงานทางด้าน Primary health care หรือ การดูแลทางด้านสาธารณสุขเบื้องต้น(ระดับปฐมภูมิ)ที่อังกฤษ และ ฟินแลนด์ กับ กรรมการบริหารของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือ สปสช. หรือ โครงการ30บาทจริงๆแล้ว ผมไม่ได้เป็นกรรมการบริหารของ สปสช.แต่ท่าน นายกแพทยสภา ศ.เกียรติคุณ น.พ.สมศักดิ์ โล่ห์เลขา เป็น แต่ท่านไปไม่ได้เลยให้ผมไปแทนในนามของแพทยสภา
จาการดูงานอาจกล่าวได้โดยสรุปว่าทั้ง 2 ประเทศ พึ่งระบบ Primary health care มาก กล่าวคือ 90% ของการดูแลสุขภาพของประชาชนจะอยู่ที่การป้องกัน สร้างเสริมสุขภาพ การดูแลการเจ็บป่วยเล็กๆน้อยๆ เท่านั้น ซึ่งงาน 90% นี้จะขึ้นอยู่กับแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป(General practisioner หรือ GP.), พยาบาล และ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขต่างๆ
ประชาชนทุกคนถ้ามีปัญหาทางด้านสุขภาพจะต้องไปหา GPถ้า GPแก้ปัญหาไม่ได้จึงจะส่งต่อไปให้แพทย์ผู้เชี่ยวชาญในโรงพยาบาล ประชาชนทุกๆ คนจะต้องขึ้นทะเบียนไว้กับ GP ฉะนั้น แพทย์ GP1คนจะมีผู้ป่วยหรือ ประชาชนประจำเป็นพันคน
การทำงานของระบบ Primary health care ถือ ว่าสำคัญมากเป็นการสกัดกันไม่ให้ผู้ป่วยไปโรงพยาบาลโดยไม่จำเป็น แต่ถ้ามีกรณีฉุกเฉินก็ไปโรงพยาบาลได้เลย สมัยก่อนที่อังกฤษ GPอาจทำงานคนเดียว แต่ปัจจุบันนี้ GPจะรวมตัวกัน เป็นกลุ่ม อาจจะมี 6-10 คน มีพยาบาลเจ้าหน้าที่อื่นๆ รวมแล้วอาจมีถึง 30-40 คนทำงานค่อนข้างสบาย เพราะผู้ป่วยไม่หนัก
บ้านเราพยายามมีระบบ GP แต่ยังทำไม่ครบวงจร ถ้าจะทำให้มีประสิทธิภาพ จะต้องทำคล้ายๆระบบอังกฤษ ฟินแลนด์ คือ ประชาชนทุกคนต้องไปขึ้นทะเบียนกับแพทย์ GPท่านหนึ่งท่านใด เงินเดือน GPต้องดีพอ แต่ปัจจุบันนี้ GPของเราได้เงินเดือนเท่าแพทย์อื่น ถ้าทำราชการ และ ต้องไปหารายได้พิเศษเอง เมื่อเป็นเช่นนี้ผู้ป่วยมักชอบไปหาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญมากกว่า
แต่เขาก็ยังให้ความสำคัญกับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญยังต้องมีมากพอ ยังต้องใช้งบประมาณมาก เพราะผู้ป่วยหนักๆ จะต้องเป็นผู้เชี่ยวชาญ ใช้เครื่องมือที่แพงในการตรวจ ยาที่แพง และ งบประมาณในการฝึกผู้เชี่ยวชาญสาขาต่างๆ
ถ้าเราทำตามฝรั่งต้องทำให้ครบวงจร แต่ต้องเอาเฉพาะส่วนที่ดี เหมาะสมกับบ้านเราเท่านั้น และ นำมาปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้นกับสภาพของบ้านเรา
น.พ.พินิจ กุลละวณิชย์
เลขาธิการแพทยสภา
Create Date : 16 พฤศจิกายน 2549
Last Update : 25 สิงหาคม 2551 7:53:13 น.
0 comments
Counter : 2267 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
* blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
*ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
samrotri
Location :
ฉะเชิงเทรา Thailand
[ดู Profile ทั้งหมด]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 2 คน [
?
]
น.พ.สำเริง ไตรติลานันท์
แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว และ เวชศาสตร์ป้องกัน
ตำแหน่ง นายแพทย์เชี่ยวชาญ หัวหน้ากลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน ร.พ.พนมสารคาม และ ร.พ.สร้างเสริมสุขภาพตำบลเขาหินซ้อน อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา โทรฯ 0896112714
ป่ามืด
Marquez
เจ้าหญิงไอดิน
อีคิวศูนย์
แมงดาตัวเมีย
panomsarakham
forceps
BlogGang.com
samrotri
หนูเล็กนิดเดียว
โยเกิตมะนาว
wicsir
Webmaster - BlogGang
[Add samrotri's blog to your web]
เวบบ์ร.ร.เบญจมราชรังสฤษฏิ์ ฉ.ช.
สำนักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
สารานุกรมเสรี(Wikipedia)
กระทรวงสาธารณสุข
ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวแห่งประเทศไทย
ศูนย์คุณธรรม
ข้าวใจดอทคอม
วิทยุธรรมะออนไลน์
ขบวนการสร้างสุข
โครงการเผยแพร่ธรรมะสู่เยาวชน
อุทยานการเรียนรู้
ศูนย์กลางการเรียนรู้ไอทีแห่งชาติ
เวบบ์หอพักนิสิตเก่าจุฬาฯ
โครงการรักหัวใจใส่ใจโคเลสเตอรอล
Medline Encyclopedia
รับฟังเสียงธรรมจากเวบไซด์
เวบไซด์ของทุกคนในครอบครัว
budpage" เพื่อชีวิตและชุมชนชาวพุทธ
พระจันทร์ ดวงเดือน เพื่อนชีวิต
เวบไซด์อนุรักษ์ธรรม เพื่อผู้ที่ศึกษาธรรม
เวบไซด์วิธีทำอาหารโหระพาดอทคอม
เวบไซด์ออกกำลังกายด้วยไม้พลองป้าบุญมี
Thaipoem.comร้องเพลงกันดีกว่า
คอมพ์ทายใจเราได้
เวบศิษย์เก่านักเรียนเตรียมอุดมฯรุ่น35
เวบประตูสู่ธรรม
เวบคลังสมองชุมชน
ปฏิจสมุปบาท
บล็อกOKNATIONSAMROTRI
"เวบสืบค้นกฎหมายไทย "
ความรู้เรื่องโรคและสุขภาพภาษาไทย
เวบบอร์ดร.พ.พนมสารคาม
เวบบ์ภายในโรงพยาบาลพนมสารคาม
"พุทธศาสนาแนววิทยาศาสตร์สำหรับปัญญาชนผู้แสวงหา"
หลวงพ่อชา สุภัทโท ตอบปัญหาธรรม
Bloggang.com