space
space
space
<<
สิงหาคม 2564
1234567
891011121314
15161718192021
22232425262728
293031 
space
space
24 สิงหาคม 2564
space
space
space

บทบาทของโดรนทางการทหารและสงคราม (4)
โดรนพ่นยา
โดรนพ่นยานั้นได้เริ่มมีการใช้กันมานานแล้วตั้งแต่ปี 2014 ซึ่งก็เป็นช่วงๆหลังของโดรนทางการทหารอยู่พักใหญ่ทีเดียว โดรนพ่นยานั้นแต่แรกเริ่มเลยก็ไม่ได้มีประสิทธิภาพแบบนี้ โดรนพ่นยาแต่แรกเป็นแค่กระป๋องบินได้ สำหรับโดรนพ่นยานั้น ได้เกิดจากแนวคิดที่ว่าพืชนั้นสามารถกินอาหารทางปากใบได้ และจะทำยังไงเมื่อพืชโตเต็มที่แล้วเราเข้าไปฉีดยาไม่ได้ จึงได้เกิด โดรนพ่นยา ทำเอง จะเหล็กตัดใส่มอเตอร์และใบพัดขึ้นมา แรกๆก็บินแล้วตกอยู่บ่อยครั้ง จนมากระทั่งเวลาผ่านไปทลองผิดลองถูกมาหลายครั้ง ทำให้โดรนพ่นยานั้นสามารถบินได้นานขึ้น ทีนี้หลังจากที่พ่นไร่ตัวเองแล้ว ยังสามารถนำไปทำเป็น โดรนพ่นยารับจ้างได้อีกด้วย แต่เดี๋ยววันนี้เราจะกลับไปคุยกันเรื่องโดรนการทหารกันอีกนิด ไม่กี่ตอนก็จะจบแล้ว ทีนี้จะได้มาลุยกับโดรนพ่นยากันได้อย่างเต็มที่

โดรนพ่นยาทำเอง 

ในช่วงต้นศตวรรษที่ 21 น่าจะเป็นครั้งแรกของโลกที่จะได้เห็นโดรนออกปฏิบัติภารกิจทางทหารด้วยการเป็น “นักล่าสังหาร” (Hunter Killer) ต่อบุคคลเป้าหมาย ซึ่งทำให้เห็นแล้วว่าโดรนได้เข้ามาทำหน้าที่ในการทหารและเกี่ยวข้องกับสงครามมากขึ้นแล้ว
 
สหรัฐอเมริกา – เป็นประเทศอันดับต้นๆ ของสงครามโดรนจากปฏิบัติการลอบสังหาร พลตรี กาเซ็ม โซเลมานี ผู้บัญชาการกองกำลังคุดส์ ของอิหร่าน ตามคำสั่งของประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ซึ่งปฏิบัติการครั้งนี้ ใช้ “โดรน” เพียงตัวเดียวโจมตีรถยนต์ที่ พลตรี กาเซ็ม โซเลมานี นั่งมาด้วย (ม.ค. 2563) ทั้งนี้ การโจมตีเพื่อสังหารผู้บัญชาการกองกำลังคุดส์ของอิหร่านนั้นใช้โดรนสังหารรุ่น MQ-9 Reaper ที่ติดตั้งกล้องถ่ายภาพความร้อนด้วยรังสีอินฟราเรดเครื่องค้นหาระยะด้วยแสงเลเซอร์และอุปกรณ์กำหนดที่ตั้งเป้าหมายที่มีความแม่นยำสูง ประจำการในกองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา มีราคาเริ่มที่กว่า 560 ล้านบาท ได้เคยถูกนำไปใช้ปฏิบัติการในอัฟกัน อิรัก เยเมน และลิเบีย
 
โดรนพ่นยารับจ้าง

ตุรกี – โดรน Bayraktar TB2 ถูกใช้งานในหลายสมรภูมิและประสบความสำเร็จมาก เช่น ในจังหวัดอิดลิบของซีเรีย ซึ่งตุรกีใช้โดรนสกัดกั้นการปฏิบัติการรุกของกองทัพรัฐบาลซีเรียได้สำเร็จ กดดันให้รัฐบาลซีเรียและผู้สนับสนุนต้องยอมรับข้อตกลงหยุดยิงกับกลุ่มกบฏที่ตุรกีสนับสนุน ไม่สามารถยึดอิดลิบได้อย่างเด็ดขาด ต่อมาตุรกีได้ส่งโดรนไปสนับสนุนกองกำลังฝ่ายรัฐบาลปรองดองแห่งชาติลิเบียที่กรุงตริโปลี สกัดกั้นการปฏิบัติรุกของกองทัพแห่งชาติลิเบียของจอมพลฮาฟตาร์ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากหลายประเทศ (รอยเตอร์, มี.ค. 2563) เช่น อียิปต์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ รัสเซีย เป็นต้น นอกจากนี้ หน่วยงานเทคโนโลยีวิศวกรรมกลาโหมและการค้าของตุรกีกำลังจะก้าวสู่แถวหน้าของโลกในการสงครามยุคใหม่ด้วยการพัฒนากามิกาเซ่โดรน ชื่อว่า “คาร์กู (Kargu)” ที่แปลว่า เหยี่ยว มีน้ำหนักเบาประมาณ 7 กิโลกรัม ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ 4 ใบพัด ลักษณะไม่ต่างกับโดรนถ่ายภาพทั่วไป และคาร์กูยังถูกออกแบบไว้ใช้เป็นระเบิดเคลื่อนที่ สามารถติดตั้งหัวรบได้สามรูปแบบ ได้แก่ 1) กระสุนระเบิดทวิประสงค์ (ที่มีการบรรจุสะเก็ดสังหาร) 2) กระสุนระเบิดเจาะเกราะ (สำหรับทำลายเป้าหมายประเภทยานเกราะ) และ 3) กระสุนระเบิดเพลิงที่เหมาะสำหรับกำจัดเป้าหมายในอาคารหรือบังเกอร์
 
 


Create Date : 24 สิงหาคม 2564
Last Update : 24 สิงหาคม 2564 18:12:01 น. 0 comments
Counter : 685 Pageviews.

ชื่อ : * blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
  *ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
 
space

สมาชิกหมายเลข 6461014
Location :


[ดู Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 1 คน [?]






space
space
[Add สมาชิกหมายเลข 6461014's blog to your web]
space
space
space
space
space