Divine darshan ( 11 )




Paryang village in Zhongba County, Shigatse in Tibet en route mount Kailash. 







2nd July: Drive to Prayang

From Saga, we left for Prayang. Ankur and me were shifted to another Land cruiser (no 6) with an aged couple fromDelhi for reasons best known to the coordinator despite the fact that in the beginning it had been decided, that we will stick to our own vehicles. It was not a Land Cruiser actually, but a very old Mitsubishi Pajero. The driver also looked as jaded as his vehicle. The shockers were almost non-existent and soon the dusty track was proving very tough to handle. Still to keep pace with rest of the crew, our driver was driving at good speed.
Suddenly on a curve, he lost control of the vehicle and we almost went into the river flowing along the side the road. For 5 seconds I missed my heart beat. The vehicle swirled as if it had no control and was almost diving into the river. The vehicle was tilted at 45 degrees. I could not decide whether to open the door and run out fast, as it might begin to tumble. I just took chance and followed Ankur, who by that time had come out. The elderly couple, who were sleeping.
throughout, was thankfully awake now and had also come out from other side. But they were hardly bothered. They said that life and death hardly made any difference to them. Of course it made difference to us. We still want to live and enjoy life in our family and friends company. Thank God for saving us. We truly believed that we were in God's hands now, even though we are always in his hands, we just don't realize it, unless something dramatic and scary like this happens. This is when most of us realize that miracles do exist. I took some photographs of the tilted vehicle for remembrance and to boast to my friends of the misadventure we have been through. Two Land cruisers helped the Pajero to get it back on the track. It was certainly a vintage SUV driving among a cross desert rally. The stay at Prayang was near a small pond, in big open area, surrounded by small hills. I was happy to be staying in tents. Our camp of around 20 tents looked very small if we see it with the whole setting of mountain ranges, streams and the desert plains. The beauty of pond and surroundings was spoiled by the constant camping at it sides. Humans spoil nature where ever they interfere. The litter all around was very disheartening. The only option of waste disposing garbage was digging up pits. But still it was not a solution for non-biodegradable waste. The Chinese government must do something quickly to handle this problem. Other wise the whole place will be filled of garbage. We did practice there also, to check our stamina. We had regained 70 % of our fitness and lost some weight. For the first time all were camping together and it looked like an adventure trip. Chacha was worried that he might feel cold inside the tent at night, because he felt it's not tightly closed to keep the chilly winds outside. In the morning, he said, he did not feel cold but uncomfortable because of sleeping bag and no light. We again reminded our group leader, Mr. Subhash, of our resolve to do Parikarma around Mt. Kailash, to which he readily agreed.






//www.silkroadguide.com/tibet-holy-mountains-tour.htm



จากเซกา เราเดินทางต่อไปปาร์ยาง Ankur และผม ถูกส่งไปให้ไปรถแลนด์ครูเซอร์อีกคันหนึ่ง (รถหมายเลข6) ซึ่งมีคู่สามีภรรยาที่มีอายุจากเดลลี นั่งมาด้วย . เหตูผลที่ทราบจากผู้ประสานงาน นอกเหนือข้อเท็จจริง คือยานพาหนะที่เราได้จองไว้ คันนี้ไม่ใช่รถแลนด์ครูเซอร์ แน่ๆ แต่กลับเป็นรถมิตซูบิชิปาเจโร เก่าแสนเก่า ที่เจ้าของมองว่าเหมือนหยกมีค่า ระบบโช้ก เกือบจะไม่ทำงาน เมื่อไป เจอถนนฝุ่น ก็รู้สึกว่าจะควบคุมรถลำบาก ต้องรักษาจังหวะ และตามคันอื่นไป แต่คนขับก็ขับได้ดี ตรงทางโค้งทันใดนั้น คนขับก็ไม่สามารถควบคุมรถได้ เราเกือบตกลงไปในแม่น้ำที่ไหลเชี่ยวที่ไหลตรงด้านข้างของถนน รถเอียงประมาณ45 องศา ผมไม่ทราบว่าจะทำอย่างไร ว่าจะเปิดประตูและวิ่งออกไปอย่างรวดเร็ว เพราะกลัวว่ามันจะตกลงมาอีก ผมถือโอกาสที่ Ankur ออกจากตัวรถผมก็ได้ตามออกไปคู่สามีภรรยาทั้ง2คน ที่นอนหลับมาตลอด ขอบคุณที่ทำให้เขาตื่น และออกมาอีกด้านหนึ่ง แต่ทั้งสองก็ยังพูดกวนๆ ว่าการเกิดหรือตายไม่สำคัญ แต่แน่ละกับพวกเราที่ยังอยากมีชีวิตอยู่และยังอยากมีครอบครัวและเพื่อนพ้อง เราเริ่มเชื่อว่าเราอยู่ในการปกปักรักษาของท่าน แต่เราไม่เคยรู้มาก่อน จนการทั่งเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝัน เราจึงรู้ว่าความมหัศจรรย์มีจริง ผมถ่ายรูป รถไว้ดูเพื่อความทรงจำและเอาไว้อวดเพื่อนๆ ว่าได้เดินทางเจอสิ่งที่ไม่คาดฝันรถแลนด์ครูเซอร์2 คันมาช่วยรถปาเจโรให้เข้าที่เดิม มันช่างเป็นรถโบราณ ที่เอาไว้ใช้ข้ามทะเลทรายซะจริงๆ






ตอนที่อยู่ที่ปาร์ยางอยู่ใกล้กับแอ่งน้ำ เป็นที่โล่งกว้าง




ล้อมรอบด้วยเขาเตี้ยๆผมมีความสุขมากตอนพักอยู่ในเต้นท์ แคมป์ของเรามีเต้นท์ประมาณ20 เต้นท์มันดูเล็กมากเมื่อเทียบกับแนวของภูเขามลำธารน้ำไหล และที่ราบทะเลทรายความงดงามของแอ่งน้ำถูกทำลายด้วยฝีมือของคนที่มาตั้งแคมป์บริเวณนี้ มนุษย์เป็นนักทำลายสิ่งแวดล้อม ไม่ว่ามนุษย์จะไปอยู่ที่ไหน ขยะก็จะอยู่ที่นั่น ช่างน่าเศร้าใจเสียจริงๆ


มีสิ่งเดียวที่เขาจะทำได้ด้วยการขุดดินถมขยะก็ยังไม่ใช่วิธีแก้ปัญหายังไม่มีการใช้ชีวภาคกำจัดขยะรัฐบาลจีนต้องทำอะไรที่จะเข้ามารองรับความเสียหายนี้ มิเช่นนั้นผืนดินทั้งหมดบริเวณนี้ก็จะเต็มไปด้วยขยะ เราได้ฝึกออกกำลังกายด้วย ฝึกเช็คความอดทนเราทำมากกว่า70% ของการออกกำลังกาย และลดน้ำหนัก ซึ่งเป็นครั้งแรกที่เรามาแคมป์ด้วยกันที่เป็นการผจญภัย
Chacha เขายังห่วงและกังวลว่าอาจจะหนาวภายในเต้นท์เพราะว่ามันปิดไม่ค่อยสนิท
และมีลมเย็นด้านนอกผ่านเข้ามา .ในตอนเช้าเขาบอกว่าไม่ค่อยหนาว แต่ไม่ชินกับถุงนอน และการไม่มีแสงไฟ เราได้เตือนคุณสุบัสหัวหน้าทัวร์ว่าเราพร้อมจะทำพิธีปริกามาเขาไกรลาสได้แล้ว ซึ่งเขาก็พร้อมและเห็น




3rd July, Drive to Manassarovar lake: finally





The day we have been waiting for long and for which we had suffered
all the hardships had finally arrived. We just hoped that everything goes on smoothly from now on.

We had light breakfast, due to fear of altitude sickness and some tea. The drive to Manasarovar Lake was not as beautiful as the drive from Nyalam to Se Papaga.Moreover Papa was still not well and I was cursing, who so ever was responsible for his condition, as nobody was given time to acclimatize, which is absolutely must.


The first glimpse was of holy Mt. Kailash instead of Manas sarovar Lake. Even though till now, we were mostly unlucky on the tour, we felt very lucky to get absolutely clear darshan of the snow clad peak of Mt. Kailash. We could make out easily that this is Mt. Kailash, as its shape is distinct from other mountains in that range and also it's the highest peak in its range.



Its elevation is 21,778 ft in Trans – Himalayas range. There have been no recorded attempts to climb Mt. Kailash, as it is considered off limits to climbers. It is the most significant peak in the world that has not seen any known climbing attempts. It is the source of some of the longest rivers in Asia- the Indus River, the Sutlej River, a tributary of the Indus River and the Brahamputra River. In Hindu mythology, it is considered to be the abode of Lord Shiva. The whole mountain is made of black granite. Kailasa means crystal in Sanskrit. It has got four faces

The first sight was heart moving and I just prayed for the well being of my family and friends. It was as if Lord Shiva was in front of you and you were praying to him, to fulfill all your desires. We could also see Manas sarovar Lake from there, at a distance. It had a range of snow clad peaks on its left, with white clouds dressing them up and Mount Kailash , with small peaks on the right, at a distance. We were eager to reach Manasarover lake, so we told our driver, "Chalo Chalo ".




Within few minutes we were on the banks of the divine lake,which looked more like an ocean with bluish green sparking waters.

The name Manas sarovar literally means lake of the mind. According to Hindu mythology, Lord Brahma is said to have created this lake from his mind. To the west of lake is Lake Rakshastal and towards the north is Mount Kailash. It is the highest fresh-water lake in the world. Lake mansarover is relatively round in shape. The circumference is 88 km, depth is 90 m and it occupies a total area of 320sqkm. The lake freezes in winter and melts only in spring. Bathing in Mansarovar its water is believed to cleanse all sins

So, we just could not wait to take a dip and drink its water. Even the sun was shining brightly, hence the water and the weather was not that chilly.

Without thinking much, just taking off our heavy jackets and t-shirts, we took the dip in whatever decent we could manage. Guruji was also looking very cheerfuland enthusiasticwhile taking the dip and so was everybody.There was no trace of ill health or fatigue on anybody's face. This is what we had dreamt of, for the last one month. Even an elderly person, around 75 years was showing enthusiasm of a 5 year old and shouting with joy.

Of course it is a life time achievement for most of us. For me it was my absolutely good fortune and blessings of the almighty and not an achievement. I felt that it was God who had called me and made it possible for me to have such wonderful "Darshan" of him.

I felt blessed, even though I wondered why, as I have done nothing great or good in life so far. I had heard stories from people , who had visited before, that they could not see the Mount Kailash peak, because clouds had covered the peak and had to return without " darshan


Darshan means : when u feel u have seen GOD or seeing GOD

The clouds actually covered the peak after sometime; just like the doors are closed in the temples and you can't get "darshan" after that. As if Mother Nature had its own way of covering God and protecting him from any "Buri Nazar".

After having divine darshan and washing away our sins, we settled down in our tents, which were very close to the lake.

I just wanted to walk along the banks of the lake. The scenario was changing every minute. The lake was changing its color every minute. From Silver it was turning Golden, as the Sun was setting or was it the light of Lord Shiva that was descending behind Mansarovar!!!

Manas sarovar!!!!




So I decided to take a walk alone, along the lake. The whole scenery looked heavenly and the canvas was huge. It was like if you had to design heaven, you could not have designed as well as that. Not only was it peaceful but also very quiet, as there was no light, sound, air pollution. The area is still not splolt by human intervention. So you could see the clear sky and the crystal clear water. Even the air was fresh and clear from any pollutants The walk was like as if I was waking in heaven and I wanted to absorb every moment of it in me and my camera. But I guess it's not possible, maybe I could capture only 1 % of it in me, but its memories will remain with me forever.

The divine view of the sun setting was wonderful. The golden rays starting from the bottom of the lake had now started falling on the clouds. The clouds were now looking golden instead of white and grey. It was truly magical and I clicked my digital camera feverishly, to capture those golden moments. It was so peaceful, heavenly and divine that everyone again prayed from their hearts for the well being of their close ones As it got dark, we decided to get back to our camp. There was no light, so we took out our torches. The wind was chilly and blowing hard. The tour operator had given us Down Jackets, which proved to be very helpful in protecting us from those chilly and freezing winds. At night because of these winds, the temperature can drop down even to -10 deg Celsius. But not to worry, the sleeping bags and tents are designed to protect you from such drops in temperatures. The months of May, June, July are the hottest months of the Tibetan plateau. The rains are also very occasional, because the Himalayas block the monsoons from coming to this side. Because of very scanty rains and such high altitude, it's a desert with no trees and rocky and sandy mountains. The clouds seem so close that you feel like catching them. The peaks are not so high, that you feel as if you can climb then a couple of hours. The mood at the camp had changed from disappointment and frustration to of utter joy and calm. People were looking happy and relaxed, for the mission was truly accomplished, for most of them. For us, Ankur, Chacha, Chachi, my cousin Sargam and me, only half the mission was truly complete. The next half of the mission for us was to do the 40 km long Parikarma around Mount Kailash. The Parikarma was not only important for us because of mythological beliefs but also because for me and Ankur it was very adventurous.



The challenge of trekking at such a high altitude, among a landscape which looked like wild west and crossing the 19200 ft Dolma pass, crossing streams and glaciers and covering 40 kms of tough trek in a short time gave us a kick. We wanted to make sure that the parikarma was on, so we contacted Mr. Subhash, group leader, to enquire about the next day's program. Thankfully Mr. Subhash's elder brother, Mr. Vikas, showed interest and prepared the list of 13 people , out of 53 people who wanted to do parikarma. He, along with Swami Rajkumar went to Guruji to ask for his permission and blessings. We also prepared a list of people who wanted to do parikarma by horse and paid 900 Yuan per horse for it (1 Yuan = 5.6 INR ) . The Tibetan guide, around 9 pm, left for Darchen to arrange for horses and Yaks.
Yaks were required to carry our luggage and tents. Still at night we prayed for the arrangement of horses and yaks, because without them our parikarma was not possible.

3 กรกฎาคม, และแล้วเราก็นั่งรถมายังทะเลสาบ มานาซาโรวาร์



วันที่เรารอคอยอย่างยากลำบาก และเนิ่นนาน ก็มาถึงแล้วและมีความหวังว่าทุกอย่างจะราบรื่นจากนี้ต่อไปเราทานอาหารเบาๆ, เนื่องจากกล้วการป่วยจากการขึ้นที่สูง และจิบน้ำชา การขับรถไปยัง ทะเลสาบ มานาซาโรวาร์ ไม่สวยเท่า Nyalam ไปยัง Sega
Papa ที่อาการไม่ดี ผมก็เกรงว่าจะแย่ลงไปอีก แล้วใครจะมีหน้าที่ดูแลสถานการณ์เหล่านี้

เพราะไม่มีใครคิดจะหยุดพักให้ร่างกายปรับสภาพที่เรียกว่า acclimatize เพื่อปรับสภาพร่างกายซึ่งจำเป็นมากในตอนนี้ และดูจะไม่ม่ใครคำนึงถึงเลยความรู้สึกที่ผ่านแวบเข้ามาภูเขาไกรลาสเป็นที่สักการะ แทนที่ทะเลสาบมานาซาโรวาร์. จากเวลานั้นถึงตอนนี้ก็ตาม

เราไม่ค่อยจะโชคดีในการท่องเที่ยว แต่เราก็เห็นด้านที่เรียกว่า darshan
และสามารถมอง ยอดเขาไกรลาสในมุมที่สุงสุดได้ชัดเจน รูปร่างหน้าตาของเขาไกรลาส เราจะบอกได้เลยว่าเป็นลูกไหน โดยรูปร่างที่ต่างจากเขาลูกอื่นๆ และยังสูงสุดในเทือกเขานี้
ความสูงถึงยอดเขาไกรลาสคือ 21,778ฟุต ในเทือกเขาทรานหิมาลายา

ยังไม่มีสถิติปีนเขาไกรลาส และเป็นข้อจำกัดสำหรับนักปีนเขา และความสูงที่สุดในโลกที่ยังไม่เคยมีใครพยายามจะปีน และยังเป็นต้นกำเหนิดของแม่น้ำสินธุ ที่เป็นแม่น้ำสายยาวที่สุดในเอเชียที่ยังมีแม่น้ำ อื่นๆสาขาแยกออกไปในตำนานของศาสนาฮินดู คือ แม่น้ำ Sutlej
( แม่น้ำแดง) แม่น้ำBrahmaputraที่นี่เป็นที่ประทับของศาสดาชีวะ ภูเขาทั้งหมดเป็นแกรนิตสีดำ ไกรลาสา

มีความหมายว่าเป็นผลึกแก้วในสันสกฤตและภูเขาลูกนี้มีสี่ด้าน

การพบเห็นเขาไกรลาสครั้งแรก ผมรู้สึกหัวใจเต้นแรง...... และผมได้สวดมนตใให้กับครอบครัว และเพื่อนๆที่เป็นที่รัก มีความรู้สึกราวกับว่าองค์ศาสดาพระศิวะ สถิตย์อยู่ตรงหน้าเราตรงนี้ ที่นี่และเราสวดอ้อนวอนต่อท่าน เพื่อเดิมความหวังและปรารถนาของเรา

และเราสมารถมองเห็นทะเลสาบ มานาซาโรวาร์ จากตรงนี้ จากระยะที่เห็น จะมีหิมะที่ห่อหุ้มเป็นแนวยาว ไปทางซ้าย และมีก้อนเมฆปกคลุมยอดเขาราวกับจับวาง ด้ายอดเขาเตี้ยๆอยู่ด้านขวา และสามารถเลยไปยังทะเลสาบได้ เราได้บอกให้เขาไปตาม ที่เรียกว่า

"Chalo Chalo ".(ไปตรงนั้น) ไม่กี่นาที เรามาถึงฝั่งของทะเลสาบที่พระเจ้าประทานมา ดูเหมือนจะใหญ่กว่าทะเลซะอีก และมีแสงส่องประกายวิบวับสีมรกต ชื่อของทะเลสาบ Manassarovar ในภาษาวรรณคดี มีความหมายว่า Lake of Mind
ทะเลสาบที่รวมของจิตใจ ที่มาจากการศึกษาหลักของศาสนาฮินดูว่า

พระพรหมสร้างทะเลสาบนี้จากจิตใจของท่าน ไปทางตะวันตกก็ยังมีทะเลสาบชื่อ Rakshastal อยู่ทางทิศเหนือของเขาไกรลาส และเป็นทะเลสาบน้ำจืดที่ใหญ่ที่สุดในเอเชีย ซึ่งมานาซาโลวาร์ก็อยู่ใกล้ๆกัน เส้นรอบวงประมาณ 88 กม. มีอาณาเขตกว้าง320 ตางรางกิโลเมตร น้ำจะจับตัวเป็นน้ำแข็ง ในฤดูหนาว และละลายในฤดูใบไม้ผลิการลงอาบน้ำและดื่มกินในทะเลสาบนี้มีความเชื่อกันว่าเพื่อชำระล้างบาปได้


เราคงจะรอคอยเวลาไม่ได้แล้วถึงเวลาต้องแช่น้ำและดื่มกินแม้ว่าดวงตะวันจะส่องแสงแรงแค่ไหน และน้ำในขณะนั้นก็ไม่ค่อยเย็นไม่ต้องคิดอะไรมาก แค่ถอดเสื้อแจ็กเกต และเสื้อเชิ้ตออกไป แช่อยู่ในน้ำอยู่นานเท่าที่เราจะอยู่ได้

Guruji ดูสดชื่นมากมากและมีเรี่ยวแรง เวลาแช่อยู่ในน้ำเช่นคนอื่นๆ ไม่มี
ร่องรอยความเจ็บป่วยหรือเหนื่อยอ่อน ในหน้าตาของทุกคนเพราะความฝันที่จะมาถึงวันนี้เป็นเวลาแรมเดือน คนที่มาอายุที่75 สงเสียงตะโกนสนุกสนานเหมือนคนอายูได้5 ขวบเวลาเล่นน้ำ ใช่แล้วนี่เป็นความสำเร็จที่ได้มาสู่ความสมหวังของผู้ที่มาทุกคน สำหรับตัวผมแล้วถือว่า มันเป็นโชคลาภแห่งอนาคต ที่ต้องขอบคุณต่อพระผู้เป็นเจ้า มันไม่ใช่เพียงแต่ความพยายามของเรา

ที่ทำให้วันนี้เป็นไปได้ช่างเป็นความกรุณา (Darshan) จากพระองค์ ผมรู้สึกเหมือนได้รับพร อย่างไรก็ตาม ผมก็ตระหนักว่า ทำไมผมไม่เคยทำอะไรยิ่งใหญ่เช่นนี้มาก่อนนะ ผมเคยได้ยินคนที่ได้มาสักการะที่นี่มาก่อน เขาไม่ได้เห็นยอดเขาไกรลาสเลยเพราะก้อนเมฆปกคลุมหนา และกลับไป โดยปราศจากคำว่า Darshan


ก้อนเมฆมักจะคลุมตรงยอด เหมือนประตูโบสถ์เราไม่สามารถ ได้รับ darshan เหมือนมารดรแห่งธรรมชาติที่ปกป้องดูแลบุตรของเธอ ให้ปลอดภัยจาก Buri Nazar
ต่อจากการ ทำพิธี divine darshan และชำระล้างบาป เรากลับไปที่เต้นต์พัก ที่ไม่ไกลนักจากทะเลสาบ เพียงการเดินเรียบฝั่งไปยังทะเลสาบ ทิวทัศน์แวดล้อมเปลี่ยนไปทุกขณะจิต จากสีเงิน เปลี่ยนเป็นสีทองจากสีของพระอาทิตย์ หรือการส่องแสงที่เกิดจากองค์พระศิวะที่ลงมาอยู่ด้นหลังของทะเลสาบ ดังนั้นผมจึงตัดสินใจเดินกลับตามลำพัง ตามแนวทะเลสาบ ทิวทัศน์ที่เห็น เหมือนสวรรค์ เเละเหมือน ผืนผ้าใบขนาดใหญ่

เหมือนกับคุณได้ออกแบบตกแต่งสวรรค์ คุณไม่ต้องทำดีมากขนาดนั้นหรอก มันช่างสงบสุขและเงียบ ไม่มีแสง ไม่มีสี ไม่มีอากาศ่เสีย พื้นที่แถวนี้ ต้องไม่ใช่มนุษย์เข้ามาสร้าง คุณสามารถเห็น่ท้องฟ้าชัดเจน และน้ำใสราวกับแก้วคริสตัล แม้กระทั่งอากาศที่แสนสะอาดปราศจากมลภาวะการเดินเหมือนเดินบนสวรรค์และผมอยากจะซึมซับทุกอย่าง ในตัวเองและเก็บภาพไว้ด้วยกล้องถ่ายรูป แต่ผมคิดว่ามันเป็นไปไม่ได้เลย มันเป็นเพียงการจับภาพได้1% เท่านั้น แต่ความทรงจำของผมจะจำทุกอย่างไว้ตลอดไป



ภาพทิวทัศน์ที่พระเจ้าจัดให้ตอนพระอาทิตย์ตกช่างเยี่ยมยอดจริงๆ ท้องฟ้าเป็นสีทอง แทนสีขาวและสีเทาผมกดชัตเตอร์กล้องถ่ายรูปอย่างเป็นบ้าเป็นหลัง ที่จะจับภาพสีทองของเวลานั้น
มันช่างสงบสุขเป็นสวรรค์ที่พระเจ้าประทานให้
ที่ทุกคนจะต้องสวดสรรเสริญจากดวงใจให้คนใกล้ชิดมีสุขภาพดี เมื่อถึงใกล้ค่ำ เราตัดสินใจเดินกลับแคมป์ ไม่มีแสงไฟ เราเอาคบไฟออกมาใช้ ป้องกันความเย็น และความหนาวจากลม
ในเวลากลางคืน อุณหภูมิสามารถลดลงถึง-10องศาเซลเซียส แต่ไม่ต้องกังวล ถุงนอนเต้นท์ออกแบบมาเพื่อป้องกันคุณอยู่แล้ว จากการลดลงของอูณหภูมิ ในเดือน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม เป็นเดือนที่ร้อนที่สุดของที่ราบสูงทิเบต ฝนก็ไม่ค่อยตก เพราะเทือกเขาหิมาลัยจะกั้นลมมรสุมที่เข้ามาด้านนี้ เพราะการขาดแคลนฝนของการกดอากาศในที่สูง เป็นทะเลทรายที่ไม่มีต้นไม้ ภูเขาหิน และภูเขาหินทราย เมฆเหมือนจะอยู่ต่ำเหมือนจะจับต้องได้ ยอดเขาก็ไม่สูงเท่าไร เหมือนคุณจะปีนป่ายขึ้นไปได้ในเวลาไม่กี่ชั่วโมง 
อารมณ์ของผู้ร่วมเดินทางเปลี่ยนแปลงจากความรู้สึกผิดหวัง และคับข้องใจเปลี่ยน เป็นสนุกสนาน และสงบ ทุกคนดูมีความสุข และผ่อนคลาย สำหรับภาระกิจ ที่สำเร็จแล้วทั้งหมด สำหรับเรา Ankur, Chacha, Chach และญาติของผม Sargamและตัวผมเอง รู้สึกว่าภารกิจแค่ครึ่งเดียวสมบูรณ์ ภาระกิจอีกครึ่ง



คือการทำปาริการ์มาอีก40กิโลเมตร รอบๆเขาไกรลาส ปาร์ริกามาไม่ได้มีความสำคัญเพียง ความเชื่อก่อนเก่า แต่ตัวผมและ Ankur ชอบผจญภัยมากๆ ความท้าทายของการไต่่เขา ดังเช่นความกดอากาศในที่สูง ภาพของท้องที่เหมือนกับด้านตะวันตกที่เดินทางลำบาก และการข้ามที่มีความสูง19200ฟุต ที่เรียก Dolma pass ที่ต้องข้ามกระแสน้ำ และธารน้ำแข็ง กว่าจะได้ระยะทาง40 กิโลเมตร ของการเดินไต่เขาที่ยากในเวลาสั้นๆเรามีความรู้สึกเหมือนถูกเตะ ราต้องการจะทำให้แน่ใจว่าปาริการ์มายังต้องทำอยู่ เราจึงติดต่อคูณสุบัส หัวหน้ากลุ่มเดินทางให้แจกแจงเกียวกับโปรแกรมของการเดินทางวันต่อไป ต้องขอบคุณคุณวิลาส พี่ชายของคุณสุบัสเขาเเจ้งสิ่งที่น่าสนใจต่อคน13คน จากทั้งหหมดที่มา ที่อยากจะไปทำพิธีปาริการ์มาเขาจะไปกับ Swami Rajkumar ไปยัง Guruji และถามถึงการขออนุญาต
และขอพร เราก็เตรียมคนที่จะไปปาริการ์มาโดยการขี่ม้าที่ต้องจ่าย900 หยวนต่อม้า1ตัว
(1 Yuan = 5.6 INR )

ไกด์ชาวทิเบต จะมาประมาณ9 โมง เราจะเดินทางไปหมู่บ้านชื่อ Darchen 
จัดแจงม้าและจามรี 










4th July, Parikarma Day

We got up early in the morning, enthusiastic but yet not sure of our parikarma and just hoped that everything got arranged. There was bad news again. The Tibetan guide came and showed his helplessness in arranging the horses and Yaks, because of busy season The organizational problems were more challenging then any other hurdles which we were facing. Since we had to do Parikarma in 2 and half days, instead of normal 3 days, so as to cover lost days, doing it without horses for ladies and elderly people was a very big risk. So either we had to cancel it or go without ladies and aged people.



Getting things oraganized was not our problem. It was the joint responsibility of the Tibetan guide and the Nepali operator. The payment of yaks and porters was included in the package cost. We had also conveyed our deep desire to do the parikarma from the day one to them.

We got up early in the morning, enthusiastic but yet not sure of our parikarma and just hoped that everything got arranged.
So it was entirely their job, in which they had failed miserably.
Chacha got into his act, and fired Mr. Vikash and Subhash, as only he can. Not using bad words, but strong and logical words, he could convince and move them to try there best, for parikarma.
Chacha said "If divine wants you to do Parikarma, nobody can stop you ".

I still remember his words , because that was perhaps the TRUTH, maybe the divine was testing our will power and resolve to overcome the obstacles and still do Parikarma.



With no other option, it was decided that people who can go on foot will only continue Parikarma, after Darchen, if we don't get horses there. So Chachi, Sargam, me and Ankur, along with 9 other people left in our Landcruisers for Darchen. The group also included the Spanish lady, Ganga, who was about forty years of age and whose name was included at the last moment.

We were hoping to get horses and yaks at Darchen, a very remote chance. It was maybe just a 5 % chance, considering the heavy season, where booking is required, and that too 2 days in advance.



Still we were taking our chances, as we really wanted to do Parikarma .
God still wanted to test us more, no animals available.
We decidedto proceed further in our vehicles till Ashtapad and try our luck there. It was the last point till where vehicles could go and our last chance.

Walking for around 1 km with our baggage, chachi realized, it
was not possible for her to do parikarma on foot. She was feeling very heartbroken and praying to God to send some help. Her prayers were answered; a nomad came asking "Ghoda". Chachi on hearing this nearly jumped on him, asking him to give horses and Yaks. Her enthusiasm and devotion was great and more than any one of us.
Something we all can learn from her.





4 กรกฎาคมจะเป็นวัน ปาริการ์มา
เราตื่นเช้า มีความกระตือรือร้น แต่ก็ไม่แน่ใจกับพิธีปาริกามา ได้แต่ตั้งความหวังทุกอย่างคงเป็นไปด้วยดี มีข่าวร้ายอีกแล้ว ไกด์ชาวทิเบตมาที่แคมป์และบอกว่าช่วยไม่ได้ที่จะหาม้าและจามรี เพราะเป็นฤดูกาลที่ยุ่งมาก ปัญหาในหน่วยงานนี้ท้าทายมากกว่าปัญหาอื่นๆที่เราเคยเจอ เพราะเราต้องทำการปาริกามาในเวลา 2 วันครึ่ง แทนที่จะใช้เวลา 3 วันตามปกติเพื่อชดเชยวันที่ขาดหายไป โดยที่ไม่มีม้าสำหรับสุภาพสตรีและคนมีอายุนั้นเป็นความเสี่ยงอย่างมาก ไม่อย่างนั้นเราอาจต้องล้มเลิกหรือไปโดยที่ไม่มีสตรีและคนสูงอายุได้เดินทางไป อีกด้วย การทำทุกอย่างให้ราบรื่นไม่ใช่ปํญหาของเรา มันเป็นความรับผิดชอบ ของไกด์ชาวธิเบต และผู้ประสานงานชาวเนปาลี. การจ่ายค่าจามรีเเละ คนเลี้ยงรวมอยู่ในราคาแพกเก็ตแล้ว เราได้แสดงความประสงค์ที่จะได้ทำปริกามาตั้งแต่วันแรกที่ถึง ซึ่งตรงนี้เป็นข้อผูกพันจากงานของเขา ที่เขาได้ทำพลาดน่าเสียใจจริงๆ Chacha ได้มีบทบาทตอบโต้ คุณวิลาส และคุณสุบัส เท่าที่จะทำได้ ไม่ใช่คำหยาบ แต่เป็นคำที่แสดงอำนาจและมีตรรกะ ซึ่งเขาสามารถ
บอกให้พยามอย่างที่สุดก็แล้วกันให้พวกเราได้ทำปาริการ์มา We were very disheartened. เรารู้สึกใจหายใจคว่ำ ChaCha กล่าวว่า ถ้าDivine ต้องการให้เราทำ ปาริการ์มา ใครก็ไม่สามารถหยุดเราได้ ผมยังได้ยินคำพูดของเขาก้องในหู บางที่นั่นบางทีอาจจะเป็นความจริง บางที Divine อาจจะทดสอบจิตใจของเราว่าเราจะแก้ไขหรือจะเอาชนะ
อุปสรรค ว่ายังอยากจะทาพิธีปาริการ์มาอยู่ไหม ดังนั้นซาชิ ,ชาร์กัม ,ผม และคนอีก9 คนได้เดินทางไป Darchen ในกลุ่มประกอบด้วยผู้หญิงสาวชาวสเปน ชื่อของเธอคือ Ganga ได้รับการเข้าร่วมเดินทางในช่วงเวลานั้น




เรามีความหวังที่จะได้ม้ากับจามรีที่ Darchen ช่างเป็นความหวังที่ห่างไกล ดู
จากเป็นเวลาของการท่องเที่ยว ใครๆก็เข้ามาจองกันทั้งนั้น และต้องจองล่วงหน้า2วัน เราต้องฉวยโอกาสของเราก่อน ถ้าเราอยากจะทำพิธีปาริการ์มาจริงๆ พระเจ้าคงอยากทดสอบเรามากกว่านี้, ไม่มีม้าและจามรีเหลือให้เราสัก ตัวเลยเราตกลงเดินทางต่อด้วยรถของเรานี่แหละจนถึง หมู่บ้านชื่อ Ashtapad และลองเสี่ยงดู เเละเป็นจุดสุดท้ายที่รถของเราจะไปได้ และเป็นโอกาสสุดท้ายเราเดินประมาณ1 กม.พร้อมสัมภาระ, chachi รู้ว่าเป็นไปไม่ได้ที่ จะเดินปาริการ์มาด้วยการเดินเท้าความรู้สึกเหมือนหัวใจสลายที่เดียว และสวดมนต์อ้อนวอน และเธอก็ได้รับคำตอบ ชาวเผ่าคนหนึ่งมาถามถึง GHODA Chachi แทบจะกระโดดใส่เขา ถามอ้อนวอนให้เขาให้เช่ามาและจามรีความกระตือรือร้นของเธอและการอุทิศตัวยิ่งใหญ่กว่าเราทุกคน....



https://bloodyexplorer.com/tag/darchen/

Thank you for all pictures...




Create Date : 13 กรกฎาคม 2551
Last Update : 18 สิงหาคม 2560 18:00:56 น.
Counter : 1975 Pageviews.

24 comments
  
อ่านแล้วเพลินเลย ภาษาอังกฤษดีจังค่ะ อยากเขียนได้แบบนี้จัง คงตกใจเหมือนกันนะคะช่วงรถ got stuck..

ขอบคุณที่ไปเยือนที่บล็อกและยินดีที่ได้รู้จักค่ะ
โดย: Tristy วันที่: 15 กรกฎาคม 2551 เวลา:22:44:47 น.
  
ตื่นเต้นและน่าสนุกมากเลยค่ะ แม่ข้าวปั้นชาตินี้คงไม่มีโอกาสเที่ยวแบบนี้หรอกค่ะ น่าอิจฉาจัง
โดย: fuku วันที่: 16 กรกฎาคม 2551 เวลา:17:54:03 น.
  
สักครั้งในชีวิต ต้องไปเที่ยวแบบนี้ให้ได้เลยค่ะ (ขอฝึกความอึดก่อน)
โดย: ลูกสิงโต วันที่: 16 กรกฎาคม 2551 เวลา:18:51:48 น.
  
come back to read and see the beautiful photos...so beautiful
โดย: butterfly (BUTTERFLY'S STORY ) วันที่: 17 กรกฎาคม 2551 เวลา:1:24:44 น.
  
หนทางมันทรหดเจองๆๆ
โดย: [7th Heaven] วันที่: 17 กรกฎาคม 2551 เวลา:4:37:00 น.
  
วิวสวยากเลยค่ะ
โดย: Skydiary IP: 118.6.40.98 วันที่: 17 กรกฎาคม 2551 เวลา:5:20:03 น.
  
โอ้ววววว

ท่าทางน่าสนุกจังเลย

ปล.ขอบคุณที่แวะไปที่บล๊อคนะคะ


โดย: +LuxuryPeanut+ วันที่: 17 กรกฎาคม 2551 เวลา:7:38:19 น.
  
It's really interesting to read about your experience.
ทรหดสุด ๆ

Thanks for visiting my blog.
โดย: เจ้าเจี๊ยบจอมเจื้อยแจ้ว วันที่: 17 กรกฎาคม 2551 เวลา:15:33:55 น.
  
ขอบคุณมากค่ะที่ไปเยี่ยมที่บล็อก
thank you so much to visit my blog
it very excited when the truck almost go in the river. very nice pictures I like them alot, thank you
โดย: took&lee&gail วันที่: 17 กรกฎาคม 2551 เวลา:17:05:07 น.
  
วิวสวยมากเลยครับ
โดย: Crono วันที่: 17 กรกฎาคม 2551 เวลา:17:40:45 น.
  
นับว่า เป็นการเดินทางที่น่าประทับใจมากเลยค่ะ ครั้งนึงในชีวิตทีเดียว วิวสวยมากค่ะ ขอบคุณที่เอามาแบ่งปันกันค่ะ
โดย: วินนี่ย์หมีพูห์ วันที่: 17 กรกฎาคม 2551 เวลา:19:45:07 น.
  
Hello! , thank you very much that visit go to greet,
be glad that get know, request have the safety
in the life,
โดย: กาแฟสดกะพรรณไม้งาม วันที่: 17 กรกฎาคม 2551 เวลา:21:28:28 น.
  
Wow!!!
เที่ยวแบบนี้ดีจังเลยค่ะ
โดย: kangsadal วันที่: 17 กรกฎาคม 2551 เวลา:21:33:46 น.
  
ตามมาบอกว่าเป็นเพลงแนวนิทานชาดกแฝงแนวสอนคติธรรม จังหวะไทยเดิมแบบลิเก ชื่อชุด ดาวลูกไก ของ พร ภิรมย์ ท่านบวชเป็นพระมาตั้งแต่ปี 2524 เพื่อถวายแด่องค์สมเด็จพระนเรศวรจนถึงทุกวันนี้ค่ะ เป็นเพลงที่ได้รับแผ่นเสียงทองคำเมื่อปี 2509 ฮี่ๆๆ เรายังไม่เกิดเหมือนกัน ได้อีกครั้งเมื่อปี 2534 นะไม่แน่ใจ พอดีอารมณ์อยากอนุรักษ์เพลงไทยน่าฟังและมีคติเกิดขึ้นน่ะค่ะเลยนำมาใส่ในบล็อก.....

ขอบคุณที่ไปเยี่ยมบล็อก ภาพท่องเที่ยวน่าสนุกนะคะ
โดย: Just a life วันที่: 17 กรกฎาคม 2551 เวลา:22:04:56 น.
  
สุดยอดค่ะ
ชอบจริงๆวิวเเละการเดินทางเเบบนี้
โดย: Hana* วันที่: 18 กรกฎาคม 2551 เวลา:19:02:14 น.
  
โอ้โห สุดยอดประสบการ์ณน่าทึ่งจริงๆ ค่ะ

เห็นแล้วอยากแบกเป้ไปเที่ยวแบบนี้บ้างจัง

สวยค่ะ สวยมากๆ ด้วย

โดย: ป้ามะลิกับลุงมะระ วันที่: 18 กรกฎาคม 2551 เวลา:19:15:10 น.
  
เป็นประสบการณ์ที่น่าภูมิใจ น่าอัศจรรย์ใจ และคุ้มค่ามากๆ ทางด้านจิตใจเลยทีเดียวนะคะ ....

แวะมาเยี่ยมทักทายค่ะ
เอากาแฟเย็นมาฝาก คลายร้อนจากทะเลทราย
ขอให้มีความสุขมากๆ นะคะ

ปล.เพลงเพราะมากๆ ค่ะ


โดย: Butterflyblog วันที่: 18 กรกฎาคม 2551 เวลา:20:02:04 น.
  
แป่วววววววววว
กรำ จิงเรย ...ขอโทดค่า
ปอลืมไปง่า นึกว่าทะเลทราย แง่วๆๆๆ
หนาวแย่เรย งิงิ
.....
พรุ่งนี้ เอากาแฟร้อนมาฝากชดเชยให้นะคะ แหะๆ....
ขออนุญาตแอดบล๊อกไว้ก้อแล้วกันค่ะ แง่มๆๆๆ..
โดย: Butterflyblog วันที่: 18 กรกฎาคม 2551 เวลา:20:47:11 น.
  
สวยจังเลยค่ะ ยังไงก็ขอบคุณที่มาเยี่ยมกันที่บล็อกนะคะ แล้วจะมาเยี่ยมใหม่นะคะ บาย
โดย: sopida1981 วันที่: 19 กรกฎาคม 2551 เวลา:0:45:14 น.
  



วันนี้เอาโกโก้ร้อนๆ มาฝากค่ะ แง่มๆๆๆ
(แก้ตัวๆ) แวะมาเยี่ยมค่ะ
Have a nice day...^ ^
โดย: Butterflyblog วันที่: 19 กรกฎาคม 2551 เวลา:13:10:45 น.
  
โดย: Cheria (SwantiJareeCheri ) วันที่: 19 กรกฎาคม 2551 เวลา:15:13:00 น.
  
ขอบคุณสำหรับของฝากค่ะ
เข้ามาฟังเพลงอีกครั้ง....
ทำนองแบบนี้เพราะดีจังค่ะ ฟังแล้วจินตนาการล่องลอย....

โดย: Butterflyblog วันที่: 19 กรกฎาคม 2551 เวลา:15:51:01 น.
  
ขอบคุณนะคะสำหรับกำลังใจที่แวะไปให้ที่บล็อค

หวานอาจจะอ่านผ่านๆอะนะ แต่ว่ารูปภาพเนี่ยสวยๆทั้งนั้นเลย ชอบมองภาพวิวแบบนี้มากคะมองแล้วสบายใจ

การเดินทางนี่ท่าทางจะมันส์สุดๆไปเลยนะคะเนี่ย
โดย: Enjoysweet วันที่: 19 กรกฎาคม 2551 เวลา:21:36:29 น.
  
Owwwwwwwwwwwwwwwwww

such a cool palce!!!!!!!!!!

I would like to introduce my bro..his name is Linden
โดย: dogamania วันที่: 20 กรกฎาคม 2551 เวลา:1:38:15 น.
ชื่อ :
Comment :
 *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

SwantiJareeCheri
Location :
  

[ดู Profile ทั้งหมด]
 ฝากข้อความหลังไมค์
 Rss Feed
 Smember
 ผู้ติดตามบล็อก : 2 คน [?]



New Comments
กรกฏาคม 2551

 
 
1
2
4
9
11
12
14
16
17
18
19
20
21
22
24
25
26
27
28
31
 
 
13 กรกฏาคม 2551
All Blog