Kathmandu Nepal (3)












The eyes of wisdom

The Symbol of Nepal

THE EYES OF THE BUDDHA
These penetrating little eyes are known as the Wisdom Eyes of the Buddha and can be found atop Buddhist shrines and stupas all over Asia. The Eyes of the Buddha are usually placed on every side of a Buddhist stupa, signifying Buddha’s omnipotence and ability to watch over all four corners of the Earth. Above the Wisdom Eyes is placed a bindhu (dot) on the forehead where the third eye is located, symbolizing Buddha’s spiritual wisdom and enlightenment. The three eyes of the Buddha remind practitioners to have exterior and interior vision, two eyes look out onto the world and one eye peers into the interior world. The squiggle underneath the eyes that looks like a question mark is also significant. This is actually the Sanskrit character for the number 1, and symbolizes the non-duality and unity of all things. There is also another aspect of the Eyes of the Buddha that is rarely mentioned, the concept of darshan. Darshan comes from the Sanskrit दर्शन and means “to see” or “vision.” Darshan has many different meanings and usages, but one I find significant is the idea of both seeing and being seen by a deity. Hindus believe that when they are giving thanks and worshiping at the feet of an idol, they are both seeing a physical representation of the god but also the god is able to see them through the image. Considering the Indian origins of Buddhism and the extreme popularity of the Eyes of the Buddha in Nepal, I believe that darshan is being exemplified by the fact that we see the Buddha and the Buddha sees us. Today, the Wisdom Eyes of the Buddha are so prevalent and popular in Nepal that it has been adopted as the default symbol of the country itself.

ที่ตั้ง ตั้งอยู่บนที่สูงทางทิศใต้ของเทือกเขาหิมาลัย มีอาณาเขตติดกับแคว้นทิเบตของประเทศจีนทางตอนเหนือและทิศใต้ติดกับอินเดีย

พื้นที่ 147,181 ตารางกิโลเมตร

เมืองหลวง กรุงกาฐมาณฑุ (Kathmandu)

เมืองสำคัญต่างๆ
จานักปูร (Janakpur)เป็นเมืองด้านการท่องเที่ยว ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเนปาล
โภคครา (Pokhara) เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยว ทางตอนกลางของประเทศ
ลุมพินี (Lumbini) เป็นสถานที่ประสูติของพระพุทธเจ้า ทางตอนใต้ ติดอินเดีย

ภูมิอากาศ มีพายุฝนในฤดูร้อนและมีอากาศเย็นจัดในฤดูหนาว

ประชากร 28.3 ล้านคน (กรกฎาคม 2549)

อัตราการเพิ่มของประชากร ร้อยละ 2.5 (ปี 2549)

เชื้อชาติ มองโกลอยด์จากทิเบต และอินโด-อารยันจากทางตอนเหนือของอินเดีย และชนเผ่าต่างๆ เช่น กูรุง (Gurung) ลิมบู (Limbu) เนวาร์ (Newar)ไร (Rai) เชอร์ปา (Sherpa) และ ทามัง (Tamang)
ภาษา ภาษาเนปาลีเป็นภาษาราชการ

ศาสนา ฮินดูร้อยละ 90 พุทธร้อยละ 8 และอิสลามร้อยละ 2

16 Days Kailash Manas Sarovar Itinerary
(Most Popular Route)


















การเดินทางด้วยเครื่องบินจากอินเดียมายังเมือง กาฐมาณฑุ จะใช้เวลาประมาณชั่งโมงครึ่ง กาฐมาณฑุ เป็นเมืองที่นักเดินทางรู้ดีว่า

จะจัดการเดินทางให้ตรงกับความต้องการได้อย่างไร

จากการเป็นแหล่งกำเนิด Asian Arts ที่งานศิลปมีความงดงาม

ระดับพิพิธภัณฑ์ที่มีชื่อเสียง ที่มีเรื่องราวของศาสนา




ทั้งศาสนาพุทธ ที่เรียกวัชรญาณที่เป็นนิกายย่อยจากมหายาน

และมีศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีโบราณ ประชาชนชาวเนปาลที่นับถือศาสนาพุทธนิกายวัชรญาณ
และศาสนาฮินดู

 ที่นี่งานบรอนซ์ สำริด มีชื่อเสียงระดับโลก งานแกะสลักไม้ งานผ้าหรือลูกปัด หรืออัญมณี และเมืองนี้ได้รับการขนานนามว่า
เมืองแห่งอัญมณี ( The city of Gem )



The carving represents the "eight precious things" on one side, the animals of the zodiac on the opposite one and the Bodhisattvas on the outer face.
วันที่มาเป็นเวลาบ่ายจัดแล้ว มีฝนปรอย ท้องฟ้ากาฐมานฑุ สดใสด้วยแสงแดดยามบ่ายสลับฝน เป็นเมืองที่สายการบินทั่วโลกมาแวะเยือน




















เนปาล เป็น ประเทศที่ได้ชื่อว่ามียอดเขาสูงติดอันดับโลกถึง 8 แห่ง เป็นทางผ่านของนักไต่เขา เทือกเขาหิมาลัย ไปยังยอดสูงที่เรีกว่าPEAK ในประเทศเนปาลเองที่มีถึง 9 ยอด

Peak climbing in Nepal

Island Peak Climbing
Mera Peak Climbing
Lobuche Peak Climbing
Pisang Peak Climbing
Singu Chuili Peak Climbing
Tharpu Chuli Climbing
Naya Kanga Peak Climbing
Pachermo Peak Climbing
Ramdung Peak Climbing

แต่ละแห่งก็ต้องเป็นนักไต่เขาโดยอาชีพ และ คนแต่ละคนก็จะทำสถิติตนเองไว้คนละหลายครั้ง

ที่ทราบมานักไต่เขาเจ้าบ้านเนปาลี ทำSummit ได้8 ครั้ง

Popular Trekking In Nepal

การเดินเขาที่นิยมในเนปาล

- Annapurna Circuit Trek
- Annapurna Sanctuary
- Ghorepani Poonhill Trek
- Jomsom Muktinath
- Narphu Valley Trek
- Mustang Lomanthang
- Makalu Sherpani Col



Everest Area

Everest Base Camp


- Mountain & Monasteries
- Jiri to Everest B. Camp
- Gokyo EBC into Chola
- Phaplu EBC Classic
- Panch Pokhari Trek
- Arun to Everest B.Camp



Ganesh Himal off thebeaten Trek

- Langtang Gosaikunda
Ganja La pass
- Helambu Trek

- Langtang Gosainkunda Helambu (Combine Trek)



Upper Mustang Trek

Mustang Image

Rolwaling Valley Trek
Round Manaslu Circuit
Chepang Hill Trail Trek
Tamang Heritage Trail
Gurung Heritage Trail
Walungchug Gola Trek
Gokyo Renjo La Pass
TIBET - Mt. Kailash Tour

การเดินทาง ไปธิเบต และเขาไกรลาส ที่ผมจะเดินทางผ่านประเทศเนปาลไปยังธิเบตนี่แหละที่เรียกกันว่า Parikarma Treak

เป็นการเดินไต่เขาที่ผู้ที่นับถือศาสนาฮินดู มีความไฝ่ฝันว่าในชีวิตจะต้องมาให้ไดัสักครั้งหนึ่ง และเริ่มมีการจัดทำการเดินทางท่องเที่ยวมาเป็นเวลากว่า50 ปีแล้ว





ไปยังทิเบตTibet
โดยมีช่องทางผ่านไปยังยอดเขา เอฟเวอเรสท์ อยู่ 3-4 ช่องเขา แล้วแต่สภาพภูมิอากาศ และมีการเดินทางแบบ Trekking

จากกลุ่มการจัดการท่องเที่ยว ที่มีความสามารถทั่วโลก มารวมตัวกัน 







Nepal :From Thai Airways Fleet of B777 : Nakhon Pathom

Cr. Dr. Rangsit Thongsmakr. August 2017





Kathmandu Nepal :  Victor R.2017















Create Date : 28 มิถุนายน 2551
Last Update : 31 สิงหาคม 2561 10:16:11 น.
Counter : 1966 Pageviews.

12 comments
  
เพื่อนชาวสก๊อต...ก็ไปมาแต่เค้าเป็นนักเดินป่านะ

ชอบจังเลยอะ...วัฒนธรรมเค้าสวยดีนะ
โดย: เด็กแมว (UStogetheR ) วันที่: 1 กรกฎาคม 2551 เวลา:5:37:27 น.
  
แวะมาเยี่ยม และตามไปเที่ยวด้วยคนค่ะ
สถานที่และสิ่งของ รวมไปถึงผู้หญิงเนปาล
ดูมีมนต์ขลังมากๆ เลยค่ะ

โดย: My LeOZaA วันที่: 1 กรกฎาคม 2551 เวลา:6:39:02 น.
  
เนปาล... อยากไปมากเลยครับ

วันนี้เข้ามาเจอFontตัวเท่าหม้อแกงแต่รูปเล็กจัง รบกวนช่วยแก้ขนาดfontด้วยครับจะทำให้อ่านง่ายขึ้นครับ

เหมือนคุณเชอเรียจะพยายามสร้างลิงค์ในบล็อกแต่ยังไม่เสร็จใช่ไหมครับ

สุดท้ายคือผมคุ้นๆว่า วัชรยานเป็นนิกายย่อยของมหายานซึ่งเป็นนิกายที่นับถือกันมากในธิเบต.. ไม่ใช่นิกายย่อยของหินยาน... หรือผมจำผิดหว่า.. รบกวนตรวจสอบด้วยครับ

ข้อความก่อนหน้าของผมโดนแบนครับ รบกวนช่วยดูด้วยครับ เหตุเนื่องจากผม ผมพิมพ์คำว่า หินยาน ด้วยสระอี ครับ และเพิ่งนึงได้ว่าเขียนคำว่า "ยาน" ผิดเป็น "ญาณ" ด้วย ขอโทษทีครับ
โดย: bite25 วันที่: 1 กรกฎาคม 2551 เวลา:10:09:23 น.
  
ยินดีและดีใจมากๆเลยค่ะที่เข้าไปเยี่ยมที่บล็อค รู้สึกเป็นปลื้มมากๆที่ได้เจอคนที่ชอบเขียน และชอบเที่ยวเหมือนกัน เนปาลก็เป็นอีกประเทศที่อยากไปนอกเหนือจากอินเดีย แจ่มมากค่ะที่ไปเที่ยวแล้วเขียนเรื่องออกมาได้
เมื่อก่อนก็เคยทำหนังสือ และเคยอยู่คอลัมน์กิน-เที่ยว ประมาณนี้ แต่ทุกครั้งที่ต้องส่งต้นฉบับรู้สึกว่าเราต้องกลั่นสมองโดยมีเวลาปิดเล่มปิดตัวกำหนด ก็เลยโดดออกมาทำในสิ่งอื่นๆที่ตัวเองชอบ แต่ก็ไม่เคยทิ้งเรื่องการเขียนเลย..
ถ้าอยากทำหนังสือหรือรวมเล่มคุยกันได้นะคะ ไม่แน่นะบนแผงอาจมีหนังสือของผู้หญิงสองคนที่มีฝันใกล้ๆ กัน สำหรับเรื่องงานพิมพ์นั้นคุณคุยถูกคนแล้วค่ะ...
โดย: ผู้หญิงที่มาจากโลกสีคราม (girl from sea ) วันที่: 1 กรกฎาคม 2551 เวลา:17:07:42 น.
  
มาเยี่ยมเหมือนกันนะครับ
โดย: MM (ongchai_maewmong ) วันที่: 1 กรกฎาคม 2551 เวลา:17:48:55 น.
  
สวัสดีค่ะนัทแวะมาขอบคุณที่กรุณาแวะเข้าไปทักทายกัน พูดถึงเนปาล อยากไปเหมือนกันนะเนี่ย...
โดย: Why England วันที่: 1 กรกฎาคม 2551 เวลา:18:50:15 น.
  
เป็นจุดหมายอีกแห่งหนึ่งที่อยากไปเยือนมากๆค่ะ แค่ครั้งหนึ่งในชีวิต ขอแค่ได้แวะไปถ่ายภาพก็ยังดี

แต่เรื่องไต่เขา คงไม่ไหวนะคะ
เพราะนอกจากจะเดินไม่ไหวแล้ว ยังกลัวความสูงอีกต่างหาก
โดย: mungkood วันที่: 1 กรกฎาคม 2551 เวลา:20:44:33 น.
  
แวะมาตอบก่อนไปนอนค่ะ
มังคุดไป SF ไปเที่ยวค่ะ
หมดวัยจะเรียนแล้ว
ตอนนี้แก่เต็มทน ทำงานเก็บเงิน แล้วก็ทำตามฝันอย่างเดียวเลยค่ะ
โดย: mungkood วันที่: 1 กรกฎาคม 2551 เวลา:22:07:53 น.
  
หวัดดีค่ะ เนปาลเป็น 1 ในประเทศที่อยากไปเที่ยวมากๆค่ะ สวยเเละเป็นธรรมชาติมาก
โดย: sailamon วันที่: 2 กรกฎาคม 2551 เวลา:11:36:13 น.
  
ยินดีที่ได้รู้จักค่ะ ขอบคุณที่เข้าไปอ่านบล๊อกนะจ๊ะ
เมื่อวานจิตตกนิดหน่อยเลยเขียนถึงกิ้งกือซะงั้น

ได้เข้ามาอ่านบล๊อกนี้แล้ว น่าสนใจจังมีที่เที่ยวเยอะแยะไปหมดเลย เนปาลก็น่าเที่ยวเนอะ
เคยมีคนชวนไปเหมือนกันแต่สถานการณ์บ้านเมืองยังไม่สงบเท่าไหร่ ก็เลยเปลี่ยนเป็นไปเขมรซะงั้น 555

แอ๊ดไว้นะคะ จะได้เข้ามาอ่านอีก
โดย: The bitter sweet person วันที่: 2 กรกฎาคม 2551 เวลา:12:23:02 น.
  
คงไม่มีโอกาสได้ไปแน่นอนค่ะ แต่ก็เข้ามาอ่านเผื่อฟลุคมีโอกาส (เอ๊ะยังไง )

ขอบคุณด้วยนะคะที่แวะไปบล็อกส้มค่ะ
โดย: ส้มแช่อิ่ม วันที่: 2 กรกฎาคม 2551 เวลา:16:23:13 น.
  
ขอบคุณที่แวะไปเยี่ยมที่บล็อกนะคะ

เนปาลเหรอค่ะสนใจมากๆเลย แต่ไม่รู้จะมีโอกาสได้ไปเห็นกับตารึเปล่า แต่ชมจากที่นี่ก็อิ่มความรู้แล้วคะ
โดย: du&ich วันที่: 3 กรกฎาคม 2551 เวลา:23:01:12 น.
ชื่อ :
Comment :
 *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

SwantiJareeCheri
Location :
  

[ดู Profile ทั้งหมด]
 ฝากข้อความหลังไมค์
 Rss Feed
 Smember
 ผู้ติดตามบล็อก : 2 คน [?]



New Comments
มิถุนายน 2551

1
4
5
8
9
10
12
14
15
17
19
20
22
24
25
27
29
 
 
28 มิถุนายน 2551
All Blog