Another side of Kailash






ดิฉัน เชรียานะคะ
ก่อนจะกลับ นิวเดลลี

คุณนิชานจะมาเล่าการเดินทางกลับเซกาและขึ้นเครื่องบินที่กรุงกาฐมาณฑุ

ที่ใช้ เวลานั่งรถ แลนด์ ครุยเซอร์ ใช้เวลาเดินทาง 2วันกับ 1 คืน

ไกลพอๆกับเชียงใหม่ไปนราธิวาส

ดิฉันเริ่มมองเห็นว่าคนอ่านที่ไม่ค่อยอยากอ่านนิยายยาวๆเ ริ่มงงว่า

From sand to heaven จะเริ่มอ่านตรงไหน เป็นเรื่องจริงจากไดอารี่ หรือเป็นนิยาย

และที่อ่านๆ อยู่เป็นเรื่องจริงไหม เป็นสิ่งที่น่าคิดบางอย่างในโลกของ

การตรวจสอบได้ นักเขียนจะต้องให้อะไรกับผู้อ่านที่อยู่ในโลกกว้าง

และเป็นนักอ่านที่มีความรู้ความสามารถ

มีชีวิตความเป็นอยู่มี่ตื่นจากความฝัน

และอยู่ในโลกของความเป็นจริงกันแลัว

และผู้อ่านต้องการอ่านอะไร ถ้าจะตอบแบบ มองลงมาจากข้างบน คือ

ที่คิด ที่เขียน เราดูภาพโดยรวม อ่านความคิด ของคนไทยนั่นเอง



เลยถือโอกาสย้ายกลุ่มจากงานบทประพันธ์ เป็นเดินทาง ท่องเที่ยว

จะดูดีกว่า เวลาเด็กๆรุ่นใหม่เข้ามาอ่านจะได้ข้อมูลที่อัปเดท บ้าง

ถ้ามีอะไรเปลี่ยนแปลงก็สามารถบอกกันมาได้

เข้าใจผิด เขียนผิด ก็ส่งสัญญานมาได้ ตัวละคร จึงเป็นชาวเอเชีย

และมีมาเล่าเรื่องอยู่เพียง3 คน คือคุณหมอทิศานาถ

ที่พ่อพาไปเรียนที่อเมริกา

และเขาก็กลับมาดูโลกตะวันออกอีกครั้ง ด้วยความสงสัย กับคำว่า divine


ชารียา ผู้หญิงที่่ มีความรู้ อยู่ในสังคมกึ่งเปิดกึ่งปิด และอยู่ในสังคมไทย


ที่่ผู้หญิงจะเป็นฝ่ายถูกเลือก และ โลกตะวันออกที่เขาต้องกลับมาอีกครั้ง


เหมือนการ Rebirth แต่เสมือนกับว่า เวลานั้น มันหมดไปนานแล้ว...


เรืองนี้เป็นบทประพันธ์ ที่ดิฉันเตรียมไว้ให้คุณๆได้อ่าน มาหลายปีแล้ว


เป็นความตั้งใจที่จะทำงานดีๆให้ทุกคนได้อ่าน มีความรู้สึกเป็นจริงที่มีอยูู่

ในโลกใบนี้ของเราเกียวกับ ผู้คน และชีวิตและการเดินทาง

ความสำเร็จ ส่วนใหญ่เป็นเพียงภาพลวงตาเท่านั้น


และ divine คืออะไรกัน....

และดิฉันตัดสินใจเขียนสดๆ เป็นไดอารี ที่มีคนเขียนที่มองต่างมุม และมีแนวทางชีวิตของคนเอง


3 คนคือคุณหมอทิศานาถ คุณนิชาน วิศวกร ที่มีธุรกิจ

เป็นของตัวเอง และสุภาพสตรีสาวไทย ..ชารียา....


การเดินทางที่แลกด้วยชีวิต ถ้าคุูณมาเขาไกรลาส และได้ต้องใช้ได้การเตรียมตัวเดินนทางเป็นแรมเดือน เพื่อไปสักการะ

ยอดเขาที่นักเดินทางทั่วโลกรู้จักแล้ว แต่...


ไม่ไปมิได้หรือ ???


กลับกรุงนิวเดลลี เขาจะเขียนความรู้สึกอีกครั้งสุดท้ายในคราวต่อไป

แต่ดิฉันอยากจะเล่าให้คคุูณผู้อ่านรู้ที่มาที่ไป ต้องขอโทษที่ไม่มีเวลาแปล

และดิฉัน

ทราบว่าทุกคนมีประสบการณ์อ่านภาษาอังกฤษมาตลอดในโรงเรียนไทย

ถ้าคุณอยากอ่านทุกคนอ่านได้

เพียงแต่มันไม่เร้าใจที่จะอ่านเท่านั้นเลยข้ามไป



มาถึงตรงนี้ คุณต้องยิ้มได้แล้วนะคะ




เพราะสระ อโนดาตมีจริงที่เขาไกรลาส แต่นางกินรี 

ทั้ง7ที่มาถอดปีกถอดหางวางไว้ ร่ายรำและว่ายน้ำ้ อย่างสวย งาม 

มีจริงๆ หรือ 


ทำไมภาพในจินตนาการที่งดงามช่างเหมือนจริงทุกประการ... 

เล่าเรื่องต่อนะคะ

การเดินทางมาเขาไกรลาสของนายแพทย์ทิศานาถบอกได้ว่าเป็นการเดิน

ทาง Pilgrimage ในคณะที่เดินทางมาเขาไกรลาสเพราะวัน กูรูปาร์นิมา

คือวันพระจันทร์เต็มดวง และเป็นฤดูกาลที่เป็นหน้าร้อน แต่ฝนตกตลอด

ระยะทางต้องนอนค้างบนเขา2 คืน ที่ใกล้ๆเขาไกรลาส และสวดมนต์กัน

ผู้นับถือศาสนาฺฮินดูเรียกปาริการ์มา Parikarma ปฏิบัติตนให้ง่ายที่่สุด

การเดิทางมายังเขาไกรลาสเป็นการเดินทาง แค่ครั้งเดียงในชีวิตก็พอแล้ว

และเป็นเส้นทาง ไกลและเป็นส่วนที่สูงสุดในโลก มีความเสี่ยงตายจาก 

Highest altitude ผู้ที่จะเดินทางมาต้องมีการศึกษาให้ดี ในปี2006 

นักไต่เขา มาเสียชีวิตที่หิมาลัย 9 คน หายไปโดยไม่มีร่องรอย 1 คน

แต่การเสียชีวิตขณะมาแสวงบุญยังไม่มี ใครจดสถิติไว้...








The pilgrimage to Kailash and Manasarovar has always been considered the most difficult in Asia. The distances seem unending. The weather is harsh. The temperature could soar to 40 Degrees C and drop to 0 Degrees just in a matter of a few hours. Supplies are virtually non-existent. The pilgrim has to undergo extreme hardship under extreme temperatures. The terrain is not very friendly either. Nevertheless, pilgrims come from all parts of the world, defying all hardships. They trek for 53 km around Kailas and 90 km around Manasarovar at altitudes between 15,000 - 19,000 feet above sea level.


Himalayan range covers the entire northern part of India, nestling five major states of the country within it. The ancient Indian pilgrims who have travelled in these mountains since time immemorial coined a Sanskrit word for the Himalayas meaning “Abode of Snow”.

Some of the reasons why people have been so fascinated by the Indian Himalayas is because of the Hindu pilgrim routes, the low valleys that abruptly rise up in high mountain ranges, the lovely trekking hikes, densely forested areas lying just a mountain range away from barren cold deserts, and the lovely people of the mountains with their unique hospitable lifestyles.




Kailash Yatra

Ramayana and the Mahabharata. The five icy summits of the Panchchuli Range belong to the five Pandava brothers. Uttarakhand’s legendary Gandhamadan, from where Hanuman collected the Sanjeevani herb to revive Lakshman, is believed to be a reference to the ethereal Valley of Flowers, now a notified National Park. Many holy rivers, including the divine Ganga, are born here. The Kullu Valley of Himachal Pradesh, the ‘valley of gods’, alone has over 350 temples. The sleepy little village of Naggar in Himachal is home to four temples — taking the circuitous path to all of them is considered equivalent to doing the Char Dham Yatra! Almost every mountain lake is a revered site, and most passes, windy ridges and icy summits have not only Hindu lore associated with them, but also Buddhist and Sikh legends. In fact, as adventurers will testify, many a trekking trail merely follows an old pilgrimage route.








การเดินทางของบางคนคงจะปลีกวิเวกไปเลย ดิฉันไม่ได้ข่าวคราวของเขาเป็นเวลา นานเป็นดือนทีเดียว มีเเต่เพื่อนวิศวกรชื่อคุณนิชานเล่าเรื่องการเดินทางของเขากับคุณพ่อ และญาติๆจากเดลลี ดิฉันได้รับอีเมลส์ตอนถึงเนปาล และจะเินทางไปทะเลสาบมานาซาโรวาร์ที่ถือว่าเป็นทะเลสาบที่ศักดิ์สิทธ์

ของจิตใจมนุษย์ ( Lake of Mind) และจะเดินทางแบบยารตรา ไปให้ถึงวันกูรูปาร์นิมา คือวันเพ็ญ

แต่นิชานไม่พูดถึง เลยไม่ทราบว่าจะมีพิธีอะไร ตัวดิฉันเองพอทราบว่าหมออจะไป Kailash Yatra ตาโตเลยค่ะ กว่าThe Legend of Kinaree (ตำนานนางกินรีที่ใช้เวลาค้นคว้า ไปได้เพลงประกอบการบูชาไฟของนางกินรีจากเวบไซต์ของมาเลซีย เป้นดนตรีจากเครื่่องดนตรีที่เรียก กามีลัน แต่เป็นของอินโดนีเชีย และมาเลเซียก็บอกว่าเป็นเรื่องวรรณคดี ของชาวฮินดู ในอินเดียในจะออกมาได้ เป็นเรื่องของสัตว์ในเทพนิยาย ทางภาคใต้ของไทยที่มีการรำโนราห์ คนแก่แค่ไหนก็เป็นนามโนราห์ได้เป็นชายแสดงเสียส่วนมาก เป็นแหล่งกำเหนิด ทั้งภาษาและวรรณคดี ตลอดจนเพลงจากวงดนตรีกาลเล่นพื้นบ้าน และวงดนตรี Gamelan ensemble ทีี่เป็นวงดนตรีขนาดใหญ่ ของหลายๆมหาวิทยาลัย หลายๆในประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นวงดนตรี ร่วมกับการร่ายรำ ูคุณจะเห็นเด็กสาวฝรั่งร่ายรำท่าทางแบบนางรำของบาหลี
และเดินสายเล่นทั้งกลางแจ้งและหอประชุม

ของมหาวิทยาลัยได้ไปแสดง ทั่วโลก









Gauri Kund เป็นแอ่งน้ำสีเขียวมรกต มาจากตำนานพระนางปารวตี อัครมเหสีของพระศิวะ ทรงมาอาบน้ำที่นี่ ตำนานวรรณคดีไทยเรียกสระอโนดาต นางกินรีทั้ง7 องค์ก็มาอาบน้ำที่นี่เช่นกัน

คุูณหมอจำตำนานนางกินรีที่ดิฉันเคยรวบรวมและเขียนไว้เมื่อ เดือนมีนาคม 2549 ที่นั่นคือป่าหิมพานต์ ที่อยู่เทือกเขาหิมาลัย คนไทยสนใจตำนานมหาภารตะ 

รามายานะของอินเดียมานานแล้วจนทุกคนคิดว่าเป็นเรื่องที่เกิดและเป็นนิทานพื้นบ้านของคนไทย เพราะ ศาสนาฮินดู หรือพราหมณ์ เป็นส่วนหนึ่งของพุทธศาสนา ด้านพิธีกรรมจนแยกกันไม่ค่อยออก

คนไทยจำนวนมากนับถือพระพรหม ตำนานบอกว่าท่านเป็นผู้สร้างโลก

พระพรหม คือผู้กำเหนิดพระศิวะ คือเป็นพ่อนั่นเอง คนไทยจะตั้งศาลพระพรหม ขนาดใหญ่กว่าศาลพระภูมิมาก เราจะพบได้ที่หน้าโรงแรม ศุนย์การค้า สถานบันเทิงใหญ่ๆ สถานพยาบาล

โดยเราสามารถสวดมนต์อ้อนวอนขอพระพรหม ช่วยเหมือนการอ้อนวอนพระเจ้าในศาสนาอื่นๆ คนไทยจะขอให้สมหวังในความรัก และเมื่อสมหวังก็จะเรียกว่าพรหมลิขิด

และที่น่าแปลกใจนอกจากขอความรักได้ก็ขอความร่ำ่รวยได้อีก ด้วยความเปิดกว้างของพิธีการจนเราแยกไม่ออกและเป็นแนวปฏิบัติ
และเป็นประทัสถานของสังคมเช่นพระราชพิธี จรดพระนังคัลแรกนาขวัญ
ซึ่งเราถือว่าเป็นงานพระราชพิธีที่คนไทยชาวไร่ชาวนารู้สึกเป็นศิริมงคล
งานพิธีของวันสงกรานต ที่ไม่ใช่ของไทยเท่านั้น อินเดีย เนปาล ปากีสถานศรีลังกาเขาก็มีด้วย หรือพระจันทร์วันเพ็ญ ที่เรียกGuru Parnima

เพราะศาสนาพุทธ จะสอนให้เราทำตนเป็นคนดี และให้คุ้มครองป้องกันภัยอันตรายเมื่อเดินทางแต่เราจะไม่ค่อยกล้าขอความรักจากพระ อาจจะเพราะว่าการเป็นพระจะตัดออกจากการเป็นครอบครัว และแยกออกไป แยกความรักเพราะถือว่าเป็นต้นเหตุแห่งทุกข์พระจำงต้องไปอยู่วัด

ศาสนาฮินดูเทพเจ้า คือความหมายของพระมหากษัติย์ซึ่งเป็นเทพสมมุติ

ที่เราถือว่าพระองค์ท่านเป็นพระนารายณ์อวตาร มา

ซึ่งความเชื่อกลายเป็นพิธีปฏิบัติและพิธีการบางอย่างอาจมีผลดีด้านจิตใจ

และบางอย่างก็น่ากลัว บางอย่างก็ดูดี บางอย่างก็เป็นประเพณีสืบต่อ

และต้องมีหลักในการอยู่ร่วมกัน โดยสันติ และสร้างสรรค์ สร้างความสุขร่วมกัน 

มาฟังตำนานนางกินรีที่่ดิฉันค้นคว้ามาดีกว่า แม้แต่ชวา อินโดนีเซีย

ก็จะมียอดเขา สุเมรุ ในความคิดสมัยก่อน จะสูงกว่าเขาไกรลาส และกล่าวกันว่าสูงสุดในโลกจริงๆแล้ว อยู๋ในประเทศอินโดนีเซีย 

และตรงนี้ก็อยู่1 ใน7 แห่ง ของยอดเขาที่สูงที่สุดในโลกเช่นกันแต่ภูเขาหิมาลัยความสูงมาเป็นอันดับหนึ่่ง

ก็คือความสูงอยู่ทียอด Mt. Everest ( 29,035 ft.:8,850)และเป็นของประเทศเนปาล ยอเขาไกรลาสนี้สูง 6,638 เมตร

(21,878 Ft)
อยู่ในประเทศเนปาล ทวีปเอเชีย ได้รับการยอมรับว่าสูงที่สุดในโลก

( อ่า่นว่าพระสุ เมน )เป็นที่ประทับของพระพรหมเช่่นกันและเทพองค์อื่นๆ



ซึ่งสุูงประมาณ3,676 เมตร ( 12,060 Ft.) จากตัวเลขปัจจุบัน


พระศิวะเป็นเทพเจ้าองค์หนึ่งของศาสนาฮินดูที่มีเทพเจ้าหลายองค์ ทั้ง God, goddess, godesses และทุกองค์ก็มีบทบาททั้งดีทั้งร้าย

ทั้งงดงามและน่ากลัว บางทีเป็นหญิงและเป็นชายในองค์เดียวกัน

เช่นความเป็นนักรบกระหายเลือดที่เรียกเจ้าแม่กาลี (Kali) และเปลี่ยนเป็น

พระนางอุมา ที่ชาวอินเดียเรียกว่าเดอร์กา ( Durga)ทีแสนสวยและมีคุณธรรมตลอดมา


ดิฉันคิดว่า


“The gods always play where the lakes are, where the sun’s rays are warded off by umbrellas of lotus leaf clusters, and where clear water paths are made by swans, whose breasts toss the white lotuses hither and thither.” 




ตำนานแห่งนางกินรี





มีเทพนิยายอันโรแมนติกเกี่ยวกับความรักระหว่างมนุษย์
และสิ่งมีชีวิตครึ่งมนุษย์
ครึ่งปักษาที่อาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ นางกินรีทั้ง 7 พระองค์ทรงสรงน้ำอยู่ที่
สระอโนดาตที่มีน้ำใสดุจผลึกแก้ว โดยที่นางกินรีทั้งหมดถอดปีกและหางออก
วางไว้ พรานบุญ นายพรานมือฉมังผู้เป็นพระสหายของพระสุธนได้ขโมยปีกและ
หางของนางมโนราห์ซึ่งเป็นนางกินรีที่มีรูปโฉมงดงามสุด มัดนางด้วยบ่วงบาศแล้ว
นำนางไปเป็นของขวัญแด่พระสุธน ทั้งคู่ตกหลุมรักซึ่งกันและกันในทันทีที่แรกพบ
พระสุธนได้เก็บซ่อนปีกและหางของมโนราห์เพราะกลัวว่าวันหนึ่งเธอจะบินหนีไป
จากเขาและยังได้แต่งตั้งให้นางเป็นพระราชินีอีกด้วย

ที่ปรึกษาของพระเจ้าแผ่นดินรู้สึกไม่พอใจเพราะเขาต้องการให้บุตรสาวของเขาได้
เป็นพระราชินี เมื่อพระสุธนได้ออกไปต่อสู้เพื่อราชอาณาจักร ที่ปรึกษาได้เพ็ดทูล
กับพระมารดาของพระสุธนว่า นางมโนราห์จะนำภัยพิบัติและความเสียหายมาสู่
บ้านเมือง ความตายของนางมโนราห์เท่านั้นที่จะทำให้ความเลวร้ายสูญสิ้นไป
ถึงแม้ว่าสมเด็จพระมารดาของพระสุธนจะรัใคร่นางมโนราห์เพียงใด เพราะเธอเป็น
นางรำที่มีความสามารถมาก แต่สมเด็จพระมารดาเกิดความเป็นห่วงพระโอรสที่จะ
พบกับภัยอันตราย เนื่องจากนางมโนราห์มิใช่มนุษย์จริงๆ ความคิดเห็นทั้งหลาย
ลงตัวอยู่ที่ต้องเผานางมโนราห์ทั้งเป็น





ความฉลาดเฉลียวของนางมโนราห์ เธอร้องขอโอกาสสุดท้ายที่จะเต้นระบำให้กับ
มารดาของพระสุธนเพื่อการบวงสรวงการบูชายัญด้วยไฟ เธอได้ขออนุญาตสวมปีก
และหาง หลังจากที่เธอร่ายรำเสร็จลง เธอมอบจดหมายให้แก่พระสุธนและบินหนี
ไปจากพิธีบูชายัญ ในเนื้อความของจดหมายแจ้งว่า เธอจะรอคอยพระสุธนที่เขา
ไกรลาส แต่พระสุธนกว่าจะได้พบเธอจะต้องใช้เวลารอคอยถึง 7 ปี 7 เดือน 7 วัน
มิฉะนั้นทั้งคู่ก็จะไม่ได้พบกันอีกเลย

พระสุธนออกรบได้รับชัยชนะและกลับมา ทรงพบว่าภรรยาได้บินหนีกลับเขา
ไกรลาสไปเสียแล้ว พระองค์ทรงร้องขอให้พรานบุญนำพระองค์ไปที่ป่าหิมพานต์
การเดินทางนี้ใช้เวลา 7 ปี 7 เดือน และ 6 วัน จึงเดินทางมาถึงเชิงเขาไกรลาส
อย่างไรก็ตาม พระองค์ยังไม่พบนางมโนราห์เพราะปราสาทที่พำนักของเธออยู่บน
ยอดเขาสูง เพื่อที่จะพบเจอเธอได้ทันเวลา พระองค์ทรงเดินทางด้วยวิธีเกาะเท้า
ของนกยักษ์บินขึ้นไปบนปราสาทของนางมโนราห์ 

พระบิดาของนางกินรี ซึ่งเป็นกษัตริย์แห่งราชอาณาจักร นครกินรีทรงมีพระ
ประสงค์ให้พระสุธนได้พิสูจน์ความรักและความจริงใจที่มีต่อมโนราห์ ถ้าเขารักเธอ
จริง เขาควรจะสามารถระบุว่านางมโนราห์เป็นผู้ใด จากนางกินรีพี่น้องทั้ง 7 องค์ที่
มีรูปร่างลักษณะนางกินรีทั้ง 7 องค์ที่คล้ายคลึงกัน พระสุธนเกือบไม่สามารถที่จะ
บอกความแตกต่างได้ แต่พระองค์ทรงจำแหวนหมั้นที่มอบให้กับนางมโนราห์ ได้
และพระองค์ก็ได้เลือกนางมโนราห์จากการสวมแหวนที่พระองค์มอบให้ และ
ท้ายที่สุดพระสุธนและนางมโนราห์ได้อยู่ครองรักร่วมกันตลอดไป



การแสดงรำมโนราห์ในภาคใต้ของประเทศไทยมักจะแสดงโดยชาวบ้านท้องถิ่น
การรำมโนราห์และการแสดงละคร มีทั้งการร่ายรำแบบเดิม(โนราห์แม่บท)และ
แบบแก้ไขใหม่ (โนราห์ตามบท) มโนราห์นั้นเน้นในเรื่องการร่ายรำมากกว่าเรื่องราว
ที่รับมาจากมหากาพย์รามายณะและมหาภารตะ ผู้แสดงทั้งหมดเป็นผู้ชาย แต่งตัว
เพื่อเล่นเป็นบทผู้หญิง





มโนราห์ หรือ โนราห์เป็นการแสดงระบำแบบดั้งเดิมของประเทศมาเลเซีย ผู้มี
ความรู้บางคนในประเทศมาเลเซียเชื่อว่ามโนราห์เป็นศิลปะการแสดงโบราณที่มีต้น
กำเนิดจากภาคใต้ของประเทศไทย และอาจวิวัฒนาการมาจากพิธีการเซ่นสรวง
ของเหล่านายพราน ทุกวันนี้ได้มีการแสดงมโนราห์กันอย่างกว้างขวางในฐานะที่
เป็นรูปแบบศิลปะสำหรับประชาชนทั่วไป คำว่ามโนราห์มาจากชื่อของตัวเอกหญิง



ในนิยายเรื่องมโนราห์ที่เป็นนิยายอิงพระพุทธศาสนา มีการแสดงมโนราห์อยู่สอง
ประเภท ประเภทแรกนั้นแสดงเพื่อเหตุผลทางพิธีกรรมเฉพาะเช่นการแก้บนหรือ
เพื่อเฉลิมฉลองปีใหม่ที่จะมาถึง อีกประเภทคือการแสดงเพื่อความบันเทิง งาน
แต่งงาน งานรื่นเริงต่างๆ มโนราห์นั้นเป็นที่นิยมในเมืองเคดาห์ ปะลิส และ กลันตัน
ในประเทศมาเลเซีย เช่นเดียวกับหลายๆ จังหวัดทางภาคใต้ของประเทศไทย
มโนราห์ยังมีชื่ออื่นๆ คือโนราห์ หรือละครชาตรี เครื่องดนตรีที่ใช้คือ ฉาบ1 คู่ ฆ้อง
ขนาดเล็ก กรับไม้ กลองสองหน้า รูปถัง ปี่ กลองรูปทรงแจกันหน้าเดียว ภาษาที่
ใช้ขึ้นอยู่กับสำเนียงท้องถิ่น นักแสดงชาวกลันตันก็ใช้สำเนียงกลันตัน ชาวปะลิสก็
ใช้สำเนียงไทยและปะลิส ทางภาคใต้ของประเทศไทยก็ใช้สำเนียงท้องถิ่นภาคใต้


ภาพประกอบ
นายจักรพันธุ์ โปษยกฤต
ศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ ปี 2543







There is a romantic fairytale in Southeast Asia about love between a human and a mythological creature, who was half-human, half bird and lived in the Himaphan forest. The seven Kinaree princesses always bathed in the forest at the Anodass pond which had crystal-clear water.

The seven Kinaree princesses removed their wings and tails while they took a bath. Pran Boon, the great hunter and a friend of the king Prasuthon, stole Manorah's wings and tail, caught her with a lasso and offered her as a gift to Prasuthon. Both immediately fell in love. Prasuthon hid the wings and tail of Manorah from her for fear that one day she might fly away from him. The king also appointed her to be queen. 



The royal advisor was dissatisfied because he wanted his daughter to be the queen. When Prasuthon left the city to fight for his kingdom, the royal advisor told Prasuthon's mother that Manorah brought bad luck to and all the omens would disappear after Manorah's death. Although the king's mother loved Manorah, as she was a great dancer; she wanted to protect her son from bad luck, because Manorah was not a pure human. They decided to burn her alive.



Manorah asked for the last chance to dance for her mother-in-law to worship the fire. In order to do this dance, she had to wear her wings and tail. After she completed the dance, she fled and left a message for Prasuthon that she would wait for him at the KrailasMountain but he had to meet her before seven years, seven months and seven days, or else they would have no chance to meet each other again.

Prasuthon was victorious and returned to find that his wife had fled to the KrailasMountain. He asked Pran Boon to lead him to Himaphan forest. The journey took him seven years, seven months and six days to reach the bottom of KrailasMountain. However, he still could not reach her because her palace was on the cliff. In order to meet her in time, he had to catch the foot of a big bird to fly to Manorah's palace.

The king of Nakorn Kinaree kingdom wanted Prasuthon to prove his love and sincerity to Manorah. If he really loved her, he should be able to identify her from six sisters, who all had the same physical features. Prasuthon could not identify Manorah by her physical features, but he could remember the ring he gave to her and which she still wore until the day they would meet each other again. Finally, they meet each other again and stay together forever. 



Manorah folk dance in southern Thailand is often performed by minority ethic groups, Manorah dance and drama includes classical gesture (Norah Maebot) and interpretive gesture (Norah Thambot). Manorah emphasizes the dance rather than the stories which derive from Ramayana and Mahabharata epics. All performers of Manorah are men, who cross-dress to play female roles.



Manorah or Norah is a traditional Malaysian folk dance drama. Some scholars in Malaysia believed that Manorah is a primitive performing art, originating in Southern Thailand, and could have evolved from the ritual of propitiation of hunters. Nowadays, Manorah is largely performed as an art form for the people. 





The word Norah derives from the name of a heroine in the Manorah tale in Buddhist literature. There are two types of Manorah, one is performed for a specific ritual purpose such as the release of a vow or to celebrate the coming of age, the other is performed purely for entertainment and a wedding ceremony or festival. Manorah is popular in Kedah, Perlis and Kelantan in Malaysia, as well as in various provinces in Southern Thailand. It is also known as Norah or Lakorn Chatri. The music instruments used include a pair of hand Cymbals, a pair of small knobbed gongs, a pair of wooden sticks, a barreled-shaped double-headed drum, reed instruments and a single-headed vase-shaped drum. The language that is used depends on the local dialects. Kelantan actors use the Kelantanese dialect, while in Perlis a mix of Thai and Perlis dialects is used. In Southern Thailand the Southern Thai dialect is used

ถ็าคุณอ่านทั้งหมดที่ดิฉันเขียน และเรื่มเข้าใจแล้วว่านางกินรีมาลงอาบน้ำ

ที่สระอโนดาต ถึง7 ตัวจริงๆ และเขาไกรลาสอยู่ที่นี

และวรรณคดีนั้นมำให้คุูณสับสนเพราะไม่ได้อยู่ร่วมสมัย มาทำความรู้จัก

The Himalaya finds extensive mention in Hindu mythology, including in the different Puranas, the Ramayana and the Mahabharata. The five icy summits of the Panchchuli Range belong to the five Pandava brothers. Uttarakhand’s legendary Gandhamadan, from where Hanuman collected the Sanjeevani herb to revive Lakshman, is believed to be a reference to the ethereal Valley of Flowers, now a notified National Park. Many holy rivers, including the divine Ganga, are born here. The Kullu Valley of Himachal Pradesh, the ‘valley of gods’, alone has over 350 temples. The sleepy little village of Naggar in Himachal is home to four temples — taking the circuitous path to all of them is considered equivalent to doing the Char Dham Yatra! Almost every mountain lake is a revered site, and most passes, windy ridges and icy summits have not only Hindu lore associated with them, but also Buddhist and Sikh legends. In fact, as adventurers will testify, many a trekking trail merely follows an old pilgrimage route.

ADI KAILASH YATRA

The circumambulation of the Adi Kailash Range, approaching up the Darma, using the Shin La as the link and returning via the Kuthi Yankti Valley to join the Tibetan pilgrim route down the Kali Ganga is known as the Adi Kailash Yatra. The circuit is rarely completed because the Shin La is a high pass, usually snow-bound. However, increasing numbers of Indian pilgrims trek up to Jollingkong via the Kali Ganga route. Also, thanks to easing of restrictions, foreigners can undertake the journey as well.



Adi Kailash or Chhota Kailash and Parvati Sarovar (Gauri Kund) are consi­dered near equivalent to Mount Kailash and Manasarovar Lake in Tibet. The Adi Kailash Yatra is considered next best to visiting Mount Kailash itself. Along the route is the breathtaking Om Parvat. Snow falls upon this beautiful mountain in the shape of the sacred ‘Om’, which is just as beautifully reflected in Gauri Kund, at its base. This incredible phenomenon will move even the most die-hard cynic.



The route for this pilgrimage is the same as that of the Kailash-Mansarovar Yatra (MEA trek) up to Gunji. From Gunji, Kailash-Manasarovar yatris head for the Lipu Lekh Pass, beyond which lies China. Adi Kailash permit holders need to go to Gunji via Budhi and then trek onwards to Jollingkong, from where Adi Kailash and Parvati Sarovar are a short return trip.

เส้นทางที่ไปของGunji Kund คือทางเดียวกับเขาไกรลาส ไปยัง The Lipu-Lekh pass is situated at an altitude of 17,500 feet in the Pithorgarh district, on the border with Tibet. แต่สามารถเดินมางต่อไปจนถึงแนวชายแดนทิเบต 





รวมทั้งนักปีนเขาจากอเมริกา สเปน ญี่ปุ่น อินเดีย เนปาล ปากีสถานเวียดนามและจีนตลอดจนคนไทย มาเลเซียสิงคโปร์ หิมาลัยนอกจากเทือกเขาที่ยาวที่สุด พาดผ่าน 6 ประเทศ และชายเขาหิมาลัยมาถึงประเทศพม่า ปลายยังเชื่อมต่อมายังภาคเหนือของประเทศไทย แต่เป็นทิวเขาเชื่อมแต่ไม่สูงนักเลยนับว่ายาวถึงประเทศพม่าเท่านั้น 

(เต๋ารีสอร์ทเชียงใหม่มีบทความและบทวิจัย ว่าเทือกเขาดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่เป็นแนวเทือกสุดท้ายของหิมาลายา)

Stupa เป็นเจดีย์ของศาสนาพุทธ มีรอบๆนะเลสาบมานาซาโรวาร์ เป็น
สัญญลักษณ์ของศาสนา









Create Date : 23 กรกฎาคม 2551
Last Update : 3 สิงหาคม 2561 14:03:23 น.
Counter : 7976 Pageviews.

33 comments
  
Wow! It's just like what I saw on the Discovery Chanel.

I often make myself wonder what makes ones risking their lives (and lots of money) for such dangerous expenditure, climbing Mt. Everest.

Tibet is always my dream place to visit. I will just stick around on your blog for now.

Thanks for sharing.
โดย: Phoebe Buffay วันที่: 24 กรกฎาคม 2551 เวลา:6:56:34 น.
  
แวะมาทักทาย ดูรูปแล้ว สวยทุกรูปค่ะ
โดย: สามสิบเอ็ดธันวา วันที่: 24 กรกฎาคม 2551 เวลา:8:11:44 น.
  
สุดยอดเลย สามารถปีนขึ้นได้ขนาดนั้น เป็นแฟงคงนอนกองตงตีนเขาละค่ะ ไปไม่ถึงไหนหลอกค่ะ
แต่คุ้มค่าที่ปีนขึ้นไปนะค่ะ วิวสวยมากทีเดียว
โดย: d_regen วันที่: 24 กรกฎาคม 2551 เวลา:9:25:39 น.
  
ไปปีนมาเองเลยใช่ไหมค่ะ
น่านับถืออ่ะ
โดย: bmyvalentine วันที่: 24 กรกฎาคม 2551 เวลา:11:03:32 น.
  
ภาพสวยจริง ๆ เลยค่ะ ราวกับว่าท้องฟ้าอยู่ใกล้แค่มือเราเอื้อมถึง

แวะมายิ้มให้ก่อน แล้วจะเข้ามาอ่านทุกตัวหนังสืออีกครั้งค่ะ
โดย: girlroom13 วันที่: 24 กรกฎาคม 2551 เวลา:11:48:24 น.
  
ภาพสวยงามมากเลยค่ะ เหมือนได้ไปเที่ยวด้วยเลย
โดย: แม่น้องคะน้าจัง (Kana Jan ) วันที่: 24 กรกฎาคม 2551 เวลา:11:57:03 น.
  
สุดยอดไปเลยครับ ...ทั้งภาพถ่าย ทั้งภาพวาด ทั้งเนื้อเรื่อง และการเดินทาง

เมื่อเร็วๆนี้ เพื่อนผมเขาพิชิตยอดเขาเอเวอร์เรสสำเร็จเป็นคนไทยคนแรก แต่ผมยังไม่เห็นข่าวเลย ลิขสิทธิ์เป็นของประเทศเวียดนาม ทราบแต่เพียงเท่านี้นะครับ

ชอบภาพวาดเกี่ยวกับหญิงสาวของคุณจักรพันธุ์ โปษยกฤต
วาดได้งดงามมากที่สุด

บล๊อคนี้อ่านแล้วได้ความรู้หลากหลายดีจัง ชอบอะ
โดย: MM (ongchai_maewmong ) วันที่: 24 กรกฎาคม 2551 เวลา:23:06:21 น.
  


เหมือนได้อ่านบันทึกของเขานะ เอ ชื่ออะไรนะ....

เหมือนที่เขาพูดถึงเงินSupport เวียดนามเขาถือว่า

นักปีนเขา ต้องมีวินัยต่อชีวิตตัวเอง ที่สุด

ดีใจแทนเขาด้วยนะคะ หนังสือ Summit Aconcagoa ที่ Agentina 2003 ที่ดิฉันเขียนให้เพื่อน Ivan Schatz แพทย์ที่ Pomona valley Ca. สำนักพิมพ์ไทยยังเมินเลยว่าใครจะอ่าน ทำไมไม่พิมพ์เอง

Ohh NOOO>>>>>
เขียนมา2 ปี
โดย: Cheria (SwantiJareeCheri ) วันที่: 24 กรกฎาคม 2551 เวลา:23:33:14 น.
  
เข้าไปดูเรื่องและภาพของคุณSwantiJareeCheriทางซ้ายมือแล้ว โห เยอะจัง น่าสนใจทั้งนั้นเลย ...

เพลงนี้เพราะจังครับ คุ้นๆอะ ชอบบรรเลง Instrumental เหมือนกันเลยครับ ฟังสบายดี


ส่วนเรื่องเพื่อนที่พิชิตยอดเขาเอเวอร์เรสสำเร็จนั้น เขาปีนไปกับชาวเวียดนาม ซึ่งเวียดนามจัดรายการเรียลลิตี้ โชว์ รับสมัครชาวเวียดนามมาแข่งกัน และเวียดนามปีนสำเร็จ2คน คนไทย1คน หลังจากที่เขากลับมาประเทสไทย ผมก็ยังไม่เห็นข่าวนะ หรือว่าผม ไม่ได้ดูทีวี ไม่ได้อ่านหนังสือพิมพ์หรือว่าเขาไม่เห็นว่าเป็นเรื่องน่าสนใจ ก็เลยไม่มีข่าวนะครับ
โดย: MM (ongchai_maewmong ) วันที่: 24 กรกฎาคม 2551 เวลา:23:59:14 น.
  
แวะมาทักทายค่ะ เขียนได้น่าเที่ยวนาอ่านเช่นเคยนะคะ
โดย: rambujan วันที่: 25 กรกฎาคม 2551 เวลา:4:16:36 น.
  
ว้าวสุดยอดเลยนะคะเนี่ย
มีทั้งสาระเเละความรู้

ขอบคุณมากๆที่ไปเยี่ยมบล็อคนะคะ
โดย: yu เองคะ วันที่: 25 กรกฎาคม 2551 เวลา:10:00:11 น.
  
กำลังตาม ๆ อยู่ค่ะ กว่าจะรู้จักรู้แจ้ง
คงต้องตาม ๆ กันอีกสักพัก


Thanks for sharing ค่ะ
โดย: kangsadal วันที่: 25 กรกฎาคม 2551 เวลา:11:02:55 น.
  
ได้ความรู้ หอบกลับไปเพียบเลย..ดีจัง..

ขอบคุณมากๆนะคะที่แวะเข้าไปที่บล๊อก มีความสุขมากๆค่ะ
โดย: Why England วันที่: 25 กรกฎาคม 2551 เวลา:16:36:40 น.
  
ขอบคุณนะคะคุณเชรียา...
ปอติดามทริปของ จขบ.นี้มาสองทริปค่ะ เพราะเพิ่งเจอลิ้งค์ก็ตามมาจากบล๊อกอื่น...ปอเองก็เป็นคนที่ชอบอ่าน แลสนใจในเรื่องของเทพของอินเดีย พอสมควร ...
อยากทราบว่า สระอโนดาดกว้างแค่ไหนคะ ในรูปปอดูไม่ออกเลยค่ะ เห็นสีเขียวจัดมากเลย ท่ามกลางภูเขา โดเด่นมากนะคะ แล้วบ่อเล้กๆ ที่อยู่คู่กันนั่น เป็นส่วนหนึ่งของสระอโนดาดหรือป่าวคะ..

สระนี้ คือสระที่กินรี หรือ มโนราห์ ในวรรณคดี เรือ่ง พระสุธน มโนราห์ ลงมาสรงน้ำจริงๆ หรือคะ น่าอัศจรรย์นะคะ...

ดีใจที่ได้มาเห็นสถานที่ ที่ชั่วชีวิตนี้ เราคงไม่มีโอกาสได้ไปถึงค่ะ...ภูมิใจแทนผู้เดินทางนะคะ



ปอเอากาแฟมาเสริฟแก้หนาวด้วยค่ะ ...
Have a nice day...
โดย: Butterflyblog วันที่: 25 กรกฎาคม 2551 เวลา:17:13:18 น.
  


อิอิ
เกือบลืมกาแฟค่ะ แง่มๆๆ
โดย: Butterflyblog วันที่: 25 กรกฎาคม 2551 เวลา:17:13:46 น.
  
เห็นแล้วอึ้งสวยมากๆเลยค่ะ แต่ถ้าต้องปีนเข้าสูงแบบนี้ตายก่อนเลยเรา แง่ๆ แต่สวยจริงๆเลยค่ะได้ได้ไปสักครั้งคงประทับใจไม่มีวันลืม
โดย: stila วันที่: 25 กรกฎาคม 2551 เวลา:19:24:33 น.
  
ขอบคุณนะค่ะที่ชมว่าบล๊อกสวย แต่ถ้าพูดถึงข้อมูลล่ะก็เทียบบล๊อกนี้ไม่ติดเลยล่ะ

ข้อมูลเยอะดีมากๆเลยอ่ะคะ จริงๆนะ เข้ามาเยี่ยมบล๊อกนี้ทีไร อ่านครั้งเดียวไม่เคยจบ ต้องค่อยๆทยอยเข้ามาเก็บข้อมูลเรื่อยๆ

เทคแคร์นะค่ะ
โดย: du&ich วันที่: 26 กรกฎาคม 2551 เวลา:2:27:49 น.
  
โดย: teansri วันที่: 26 กรกฎาคม 2551 เวลา:4:38:40 น.
  
มาชมประเทศที่ไม่ได้มีโอกาสไป น่าสนใจมาก เเต่ต้องขอเวลาศึกษาหน่อยค่ะ
ขอบคุณภาพสวยๆ ไม่เคยเห็นมาก่อน เเปลกดีค่ะ
โดย: ยูกะ (YUCCA ) วันที่: 26 กรกฎาคม 2551 เวลา:13:30:09 น.
  


แวะมาเสริฟชาร้อนค่ะ

Take Care...
โดย: Butterflyblog วันที่: 26 กรกฎาคม 2551 เวลา:18:24:49 น.
  
ยินดีตี้ได้ฮู้จักครับ

หันฮูปตี้บล้อกนี้
บอกได้คำเดียวว่างามขนาดเลยครับ

โดย: ก๋า เก็กเสียง (กะว่าก๋า ) วันที่: 26 กรกฎาคม 2551 เวลา:19:25:39 น.
  
หุหุหุ

ใคร่ไปแอ่วซานฟรานครับ
แต่ถ้าจะไปได้ก้าประตูหายยาก่อนเน้อครับ 5555

โดย: ก๋า เก็กเสียง (กะว่าก๋า ) วันที่: 26 กรกฎาคม 2551 เวลา:21:16:04 น.
  
ภาพสวยๆ จริงค่ะ อยากมีโอกาสได้เห็นกับตาตัวเองเนอะ

ขอบคุณที่แวะไปทักทายนะค่ะ
โดย: รักษ์ IP: 87.102.77.106 วันที่: 26 กรกฎาคม 2551 เวลา:22:59:25 น.
  
beatiful story
beatiful photos
โดย: butterfly (BUTTERFLY'S STORY ) วันที่: 26 กรกฎาคม 2551 เวลา:23:42:52 น.
  
ฮิฮิ ตามไปเที่ยวผ่านภาพด้วยคนค่ะ อยากไปมั่งจัง
โดย: ลูกสิงโต วันที่: 26 กรกฎาคม 2551 เวลา:23:48:15 น.
  
สวัสดีค่ะ เนื้อเรื่องน่าสนใจและชวนติดตามมากค่ะ ภาพภูเขาก็สวยมากกกกกก ขอบคุณที่เล่าให้ฟังและนำให้ชมจ้ะ

ขอบคุณสำหรับเพลงเพราะ ๆ ที่ฝากไว้ที่บล๊อก และไปเยี่ยมเยียนกันนะคะ ช่วงที่จขบ เดินทาง ตอนนี้ถึงที่หมายแล้วค่ะ มีภาพและเรื่องราวมาฝากเช่นกัน

สำหรับคำถามที่ถามไว้เกี่ยวกับแบ็คกราาวน์นนะคะ-background image

https://www.bloggang.com/mainblog.php?id=fulgurant&month=28-06-2008&group=10&gblog=5



โดย: fulgurant วันที่: 27 กรกฎาคม 2551 เวลา:1:48:22 น.
  
สวยมากเลยค่ะ
อยากไปเห็นด้วยตามากเลย
โดย: fahtsuki วันที่: 27 กรกฎาคม 2551 เวลา:8:38:10 น.
  


ปอมาเยี่ยมค่ะ
เอากาแฟมาฝากให้อุ่นๆ ค่ะ งุงิ

Take care....^ ^
โดย: Butterflyblog วันที่: 27 กรกฎาคม 2551 เวลา:14:49:43 น.
  
Just see photos and will come back to read carefully again ka ^^
โดย: ostojska วันที่: 27 กรกฎาคม 2551 เวลา:23:56:04 น.
  
เชรียา...
ได้ติดตามอ่านเรื่องราวของคุณแล้ว..
ไม่เคยคิดเลยนะว่าคุณเป็นหญิงไทยที่ไม่รักนวลสงวนตัว
ชอบแบบฉบับของเชรียาที่เป็น...ผู้เขียนทำได้ดีแล้ว..
อันนี้ตอบแทนคนอ่าน..

เป็นรูปแบบงานเขียนที่แปลกใหม่จริงๆ..ติดตามอ่านอยู่ค่ะ
และได้รู้ว่าสระอโนดาดมีจริงก็วันนี้....
โดย: ผู้หญิงที่มาจากโลกสีคราม (girl from sea ) วันที่: 28 กรกฎาคม 2551 เวลา:2:24:49 น.
  
มีเวลาได้อ่านตั้งแต่ต้นจนจบแล้วค่ะ วันก่อนนั้นอ่านคร่าว
เรื่องพระสุธนกับนางมโนราห์อ่านแล้วได้ความรู้จังค่ะ ไม่เคยทราบมาก่อน

ศาสนาพุทธกับฮินดู พราหมณ์ อยู่เคียงข้างกันมา จนทำให้บางคนนั้นสับสน เช่นตั้งศาลพระภูมิ ศาลเจ้าที่ เป็นต้น

ดีใจและยินดีที่ได้รู้จักนักเขียนหนังสือนะคะ เพราะชอบอ่านหนังสือค่ะ



โดย: fulgurant วันที่: 28 กรกฎาคม 2551 เวลา:2:39:13 น.
  


ปอเอากาแฟมาฝากค่ะ
คุณเชรียา สบายดีนะคะ

เทคแคร์ค่ะ...
โดย: Butterflyblog วันที่: 28 กรกฎาคม 2551 เวลา:11:00:25 น.
  
เห็นแล้วอยากไปสัมผัสที่นั่นบ้างจังครับ
โดย: พี่รี่+ต๊อก วันที่: 28 กรกฎาคม 2551 เวลา:17:17:09 น.
ชื่อ :
Comment :
 *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

SwantiJareeCheri
Location :
  

[ดู Profile ทั้งหมด]
 ฝากข้อความหลังไมค์
 Rss Feed
 Smember
 ผู้ติดตามบล็อก : 2 คน [?]



New Comments
กรกฏาคม 2551

 
 
1
2
4
9
11
12
14
16
17
18
19
20
21
22
24
25
26
27
28
31
 
 
23 กรกฏาคม 2551
All Blog