" เรื่องราวต่างๆเป็นดั่งทองคำในเทพนิยาย เมื่อคุณแจกจ่ายไปมากขึ้น คุณก็ได้รับกลับมามากขึ้น " พอลลี แมคไกวร์
Group Blog
 
<<
ตุลาคม 2552
 123
45678910
11121314151617
18192021222324
25262728293031
 
12 ตุลาคม 2552
 
All Blogs
 
014. วัดฉางข้าวน้อยใต้ ต.ป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน



พระเจดีย์ครูบาคางเป็ด วัดฉางข้าวน้อย อ.ป่าซาง จ.ลำพูน


วัดฉางข้าวน้อยใต้

ต.ป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน




549. วัดฉางข้าวน้อยใต้





550. ซุ้มประตู ทางเข้า - ทางออก วัดฉางข้าวน้อยใต้






552. วัดฉางข้าวน้อยใต้ และ ต้นยางนาใหญ่ (จะเรียกว่ายักษ์ได้ไหมเนี่ย)






551. ถนนสายลำพูน - ลี้

: วัดฉางข้าวน้อยใต้ มี ที่อยู่ฝั่งตรงข้ามกับถนน เยื้องไปทางทิศเหนือประมาณ 100 เมตร เป็นที่ตั้งของ พระเจดีย์ พระอุโบสถ ศาลาบำเพ็ญุบุญ และ เมรุ




553. ต้นยางนาใหญ่ (มหึมา) หน้า วัดฉางข้าวน้อยใต้





554. ต้นยางนา แห่ง วัดฉางข้าวน้อยใต้





555. วัดฉางข้าวน้อยใต้ และ ต้นยางนาใหญ่





556.วัดฉางข้าวน้อยใต้ และ ต้นยางนาใหญ่





557.วัดฉางข้าวน้อยใต้





558. ฉางข้าวน้อยใต้ ซอย. 6





559. โครงการนี้น่าสนใจ อยู่ที่ ฉางข้าวน้อยใต้ ซอย. 6





560. ศาลาการเปรียญ วัดฉางข้าวน้อยใต้





561. ประตู ทางเข้า-ทางออก วัดฉางข้าวน้อยใต้ ด้านทิศใต้





562. ศาลาการเปรียญ วัดฉางข้าวน้อยใต้





563. ศาลาการเปรียญ วัดฉางข้าวน้อยใต้




564. ศาลาการเปรียญ วัดฉางข้าวน้อยใต้ อยู่ระหว่างการปรับปรุงพื้นใหม่





565. ศาลา...





566.




567. หอระฆัง





568.




569.





570.




571.




572. พระวิหาร แห่ง วัดฉางข้าวน้อยใต้




573.





574. พระวิหารแห่งวัดฉางข้าวน้อยใต้





575. พระวิหาร แห่ง วัดฉางข้าวน้อยใต้





576. นาคเบื้องขวา พระวิหารแห่งวัดฉางข้าวน้อยใต้





577.นาคเบื้องซ้าย พระวิหารแห่งวัดฉางข้าวน้อยใต้





578. ภาพเหนือประตูวิหาร วัดฉางข้าวน้อยใต้





579. ประุตู พระวิหารแห่งวัดฉางข้าวน้อยใต้





580. พระวิหาร แห่ง วัดฉางข้าวน้อยใต้





581. พระวิหาร แห่ง วัดฉางข้าวน้อยใต้





582.





583. พระเจดีย์ อยู่ ติดกับ พระวิหาร





584. พระเจดีย์หลังพระวิหาร วัดฉางข้าวน้อยใต้




585. บริเวณ วัดฉางข้าวน้อยใต้





586.เมื่อจะเข้าวัดก็เรียกว่า "ประตูทางเข้า"
เมื่อจะออกจากวัด ก็เรียกว่า "ประตูทางออก"


เราจะไปยัง ฝั่งตรงข้ามของถนนจาก วัดฉางข้าวน้อยใต้ เยื้องไปทางเหนือประมาณ 100 เมตร เพื่อไป บูชาพระเจดีย์ พระอุโบสถ และ เมรุ ของ วัดฉางข้าวน้อยใต้





551. พระเจดีย์ แห่ง วัดฉางข้าวน้อยใต้ อยู่ฝั่งตรงกันข้ามเยื้องไปทางทิศเหนือประมาณ 100 เมตร.





589. พระเจดีย์ครูบาคางเป็ด แห่ง วัดฉางข้าวน้อยใต้




590. พระเจดีย์ครูบาคางเป็ด แห่ง วัดฉางข้าวน้อยใต้ ด้านทิศใต้




592. พระเจดีย์ครูบาคางเป็ด แห่ง วัดฉางข้าวน้อยใต้ ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้




593. พระเจดีย์ครูบาคางเป็ด แห่ง วัดฉางข้าวน้อยใต้ ด้านทิศตะวันตก





594. พระเจดีย์ครูบาคางเป็ด แห่ง วัดฉางข้าวน้อยใต้ ด้านทิศตะวันตก





595. พระเจดีย์ครูบาคางเป็ด แห่ง วัดฉางข้าวน้อยใต้ ด้านทิศตะวันตก





595. พระเจดีย์ครูบาคางเป็ด แห่ง วัดฉางข้าวน้อยใต้ ด้านทิศตะวันตก




596. พระเจดีย์ครูบาคางเป็ด แห่ง วัดฉางข้าวน้อยใต้




596. พระพุทธรูป ด้านทิศตะวันตก แห่ง พระเจดีย์ วัดฉางข้าวน้อยใต้





597. พระเจดีย์ครูบาคางเป็ด แห่ง วัดฉางข้าวน้อยใต้ ด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ





598. พระเจดีย์ครูบาคางเป็ด แห่ง วัดฉางข้าวน้อยใต้ ด้านทิศเหนือ





599. พระเจดีย์ครูบาคางเป็ด แห่ง วัดฉางข้าวน้อยใต้ ด้านทิศเหนือ





600. สิงห์คู่ แห่ง พระเจดีย์ครูบาคางเป็ด วัดฉางข้าวน้อยใต้ ด้านทิศเหนือ

: จะเห็นว่า สิงห์เบื้องขวา (รูปซ้ายของท่านผู้อ่าน) จะเป็น "สิงห์คาบนาง"
เรื่อง "สิงห์คาบนาง" ก็เป็นเรื่องหนึ่งที่น่าอ่าน เพราะสนุกสนาน เร้าใจเช่นกัน





601. สิงห์คู่ แห่ง พระเจดีย์ครูบาคางเป็ด วัดฉางข้าวน้อยใต้ ด้านทิศตะวันออก

:สิงหราช เบื้องซ้าย เป็น "สิงห์คาบนาง" เช่นกัน





602. พระเจดีย์ครูบาคางเป็ด วัดฉางข้าวน้อยใต้ ด้านทิศตะวันออก

:อยู่ฝั่งนี้ ไม่ต้อง "ต้องแสงตะวัน" ไม่ทราบเหมือนกันว่า ทำไมแสงแดดแม้แต่ในยามบ่ายจึงได้ "ร้อนแรง" ถึงเพียงนี้




603. พระพุทธรูป แห่ง พระเจดีย์ วัดฉางข้าวน้อยใต้ ด้านทิศตะวันออก





604. ยักษ์ แห่ง แห่ง พระเจดีย์ วัดฉางข้าวน้อยใต้ ด้านทิศตะวันออก

:คนที่มักโกรธ ตายไปจะมีความเป็นไปได้สูงที่กลับไปเกิดเป็นยักษ์




605. ด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้




606. สิงห์คู่ แห่ง พระเจดีย์ครูบาคางเป็ด วัดฉางข้าวน้อยใต้ ด้านทิศใต้




607. ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้่





608. สิงห์คู่ แห่ง พระเจดีย์ครูบาคางเป็ด วัดฉางข้าวน้อยใต้ ด้านทิศตะวันตก




609. พระเจดีย์ครูบาคางเป็ด วัดฉางข้าวน้อยใต้ ด้านทิศตะวันตก





610.ศาลาอนุสรณ์ ๒๕๗ ปี ครูบากัณธา (ครูบากางเป็ด)




624. ศาลาอนุสรณ์ ๒๕๗ ปี ครูบากัณธา (ครูบากางเป็ด)
วัดฉางข้าวน้อยใต้ 24 เมษายน พ.ศ.2547

:คำว่า "กาง" เป็นคำเมือง หมายถึง "คาง"
เดี๋ยวจะเข้าใจว่า คำว่า "กาง" ว่าเหมือนกับ กางจ้อง หรือ กางร่ม


เรื่องราวของครูบางคางเป็ด

พระครูบาเจ้ากัณฑา เรวัจจะ

วัดฉางข้าวน้อย อ.ป่าซาง จ.ลำพูน

ครูบากัณฑา เรวัจจะ(ครูบาคางเป็ด) เกิดที่เมืองสิบสองปันนา ประเทศจีนปัจจุบัน ได้อพยพเดินทางมาสู่ลานนาประเทศ(ภาคเหนือ) เนื่องด้วยพระเจ้ากาวิละเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ ๑ หลังจากกอบกู้อิสรภาพจากพม่าเมื่อครั้งเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่๒ได้ยกทัพไปตีหัวเมืองต่างๆในสมัย “เก็บผักใส่ส้า เก็บข้าใส่เมือง”ได้กวาดต้อนเอาผู้คนจากแคว้นสิบสองปันนามาเป็นจำนวนมากมาตั้งรกรากที่เวียงป่าซางซึ่งมีฐานะเป็นเมืองหน้าด่านรวบรวมพลเมือง เมื่อพลเมืองและกำลังพลทุกอย่างพร้อมจึงยกพลจากเวียงป่าซางเข้าสู่เมืองเชียงใหม่ โดยเหลือประชาชนบางส่วนอาศัยอยู่ที่เวียงป่าซางเดิม กลุ่มคนเหล่านี้มีเชื้อสายไทยใหญ่ ฮ่อเขิน ลื้อ ยอง ลาว ปะปนกันอยู่ จนมาถึงเชื้อชาติยองทุกวันนี้

สำหรับครูบากัณฑา (ครูบาคางเป็ด) ได้เดินทางจากแค้วนสิบสองปันนาเมื่อยามเด็ก และมาอาศัยอยู่กับบิดามารดาที่บ้านฉางข้าวน้อยใต้ สาเหตุที่ได้นามว่าครูบาคางเป็ด เนื่องด้วยยามเด็กได้ช่วยเหลืองานบิดาโดยนำควายไปเลี้ยง เมื่อนำควายไปเลี้ยงครั้งใด แม่น้าจะห่อข้าวกับหัวเป็ดหรือคางเป็ดให้เป็นอาหารกลางวันทุกวัน จนเกิดความสงสารตัวเอง แต่ไม่รู้จะทำอย่างไร จึงได้รวบรวมคางเป็ดที่แม่น้า(แม่เลี้ยง)ให้เป็นอาหารกลางวันเก็บรักษาไว้ ยามว่างๆก็หยิบคางเป็ดมาพิจารณาว่า “เหตุใดหนอ เหตุใดหนอ แม่น้าจึงห่อคางเป็ดให้กินทุกๆวัน เราไม่ใช่ลูกที่แท้จริง “แม่น้า” จึงไม่รัก ไม่อยากให้เราอยู่รวมกัน” ครูบาจึงตัดสินใจออกจากบ้าน ด้วยบุญบารมี ที่ได้สะสมมาในอดีต จึงได้ตัดสินใจออกบวช เด็กชาย


กัณฑาได้เข้าฝากตัวเป็นลูกศิษย์ครูบามหาสามี วัดฉางข้าวน้อยใต้ ท่านครูบามหาสามีได้บรรพชาให้เป็นสามเณรกัณฑา ได้เล่าเรียนพระธรรมวินัย อักขระพระกรรมฐาน จนมีความรู้ความสามารถ เมื่ออายุครบ ๒๑ ปี ได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ ปฏิบัติธรรม เจริญพระกัมมัฎฐาน สมาธิภาวนาอย่างเคร่งครัด ถือวัตรฉันมื้อเดียว เมื่ออุปสมบทเป็นพระภิกษุใหม่ ท่านครูบาได้นำเอาคางเป็ดที่ได้เก็บรักษาไว้เมื่อครั้งเป็นเด็ก มาพิจารณายกจิตขึ้นสู่พระกัมมัฏฐานจนเกิดความเบื่อหน่ายในชีวิต เห็นโทษของวัฏสงสาร เพียรปฏิบัติธรรมอย่างเอาจริงเอาจัง จนดวงตาเห็นธรรม เกิดวิมุตติ ญาณทัสนะรู้แจ้งในกฎพระไตรลักษณ์ ท่านได้ศึกษาเล่าเรียนจนเป็นพหูสูตร ดังนั้นท่านจึงรำลึกถึงคุณของคางเป็ดที่ทำให้ท่านบรรลุธรรม


ท่านครูบาจึงนำคางเป็ดมาลงรักและชาด ปิดทองคำเปลวจนทั่ว แล้วเก็บรักษาคางเป็ดเหล่านั้นไว้เป็นกัมมัฎฐาน เป็นเครื่องรำลึก ท่านจึงได้นามว่า ครูบาคางเป็ด


ท่านครูบากัณฑา เรวัจจะ(ครูบาคางเป็ด) มรณภาพด้วยอาการอันสงบ ตามวิถีทางแห่งพระอริยเจ้าเมื่ออายุได้ ๗๐ ปี ศรัทธาประชาชน พากันทำบุญ ประชุมเพลิง ตามประเพณี เมื่อไฟที่เผาดับลง ชาวบ้านเห็นแสงสว่างขึ้นลงบริเวณที่เผาร่างท่านครูบาเป็นเวลาหลายวัน เป็นที่อัศจรรย์ ศรัทธาชาวบ้านพากันไปดูที่กองไฟ ปรากฏว่าอัฐิของท่านครูบากลายเป็นเม็ด จึงรวบรวมอัฐิพระธาตุ พร้อมทั้งคางเป็ดของท่านครูบาบรรจุไว้แห่งเดียวกัน ณ บริเวณที่เผาร่างท่าน โดยก่อเป็นสถูป ต่อมาพวกพม่าได้ก่อเป็นเจดีย์ขึ้นเรียกว่า เจดีย์ครูบาคางเป็ด อยู่ตรงข้ามวัดฉางข้าวน้อย อ.ป่าซาง จ.ลำพูน

ที่มาของข้อมูล://forums.212cafe.com/korn123/board-8/topic-3.html

:Moonfleet
กาง เป็นคำเมือง หมายถึง คาง ไม่ได้หมายถึง กางจ้อง หรือ กางร่ม
แม่น้า หมายถึง แม่เลี้ยง




628. อัตตชีวิประวัติ ครูบากัณฑา เรวัจจะ





622. ศาลาอนุสรณ์ ๒๕๗ ปี ครูบากัณธา (ครูบากางเป็ด)





629. บริเวณภายใน ศาลาอนุสรณ์ ๒๕๗ ปี ครูบากัณธา (ครูบากางเป็ด)




630. บริเวณภายใน ศาลาอนุสรณ์ ๒๕๗ ปี ครูบากัณธา (ครูบากางเป็ด)





611. พระอุโบสถ แห่ง วัดฉางข้าวน้อยใต้ อยู่ด้านทิศตะวันตกของถนนลำพูน-ลี้






612. พระอุโบสถแห่งวัดฉางข้าวน้อยใต้ ต.ป่าซาง อ.ป่าซางจ.ลำพูน (ทิศใต้)





613. พระอุโบสถแห่งวัดฉางข้าวน้อยใต้ ด้านทิศเหนือ





614. พระอุโบสถแห่งวัดฉางข้าวน้อยใต้ ด้านทิศเหนือ




615. แนวบอกเขต ด้าน ทิศตะวันออกของพระอุโบสถ

พัทธสีมา
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

สีมา หมายถึงเขตหรือแดนที่กำหนดไว้สำหรับทำสังฆกรรมของสงฆ์ เป็นเขตชุมนุมสงฆ์โดยเฉพาะ ซึ่งพระสงฆ์กำหนดว่าผู้อยู่ในเขตนั้นจะต้องร่วมกันทำสังฆกรรมโดยความพร้อมเพรียงกัน

พัทธสีมา หมายถึงสีมาหรือเขตอดนที่พระสงฆ์ผูกไว้แล้ว คือพระสงฆ์ร่วมกันกำหนดให้เป็นเขตทำสังฆกรรมตามพระวินัย เรียกพิธีกรรมที่กำหนดอย่างนั้นว่า ผูกสีมา โดยทั่วไปเรียกพัทธสีมาว่า โบสถ์ หรืออุโบสถ

เขตหรือแดนที่จะผูกเป็นพัทธสีมานั้นจะต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการก่อน เพราะต้องเป็นเขตแยกต่างหากจากเขตแดนบ้าน ซึ่งเรียกว่า วิสุงคามสีมา






617. แนวบอกเขต ด้าน (เข้าใจว่าเป็น) ทิศใต้ของพระอุโบสถ






618. แนวบอกเขต ด้าน ทิศตะวันออก ของพระอุโบสถ





616. พระอุโบสถ หรือ โบสถ์ วัดฉางข้าวน้อยใต้





619. เมรุ แห่ง วัดฉางข้าวน้อยใต้




620. ศึกชิงภพ

ถ้าก่อนตาย จิตอยู่ในบุญกุศล ร่าเริง เบิกบาน ใสสว่าง สุคติเป็นที่ไป
ถ้าก่อนตาย จิตอยู่ในอกุศลธรรม เศร้าหมอง มืดมน .........เป็นที่ไป

ขอให้มี ความองอาจ ร่าเริง เบิกบาน ใสสว่าง ในยามที่ร่างกายแตกดับ ดวงจิตจะได้มีไปสู่สุขคติ มี ดุสิตบุีรีเขตวงคศ์บุญพิเศษอาณาเขตแห่งพระโพธิสัตว์เป็นต้น





621. บริเวณของวัดฉางข้าวน้อยใต้ มีความสะอาดมาก ดูแลดีมาก ครับ




623. พระเจดีย์ครูบากางเป็ด สวยงาม งดงาม สง่างาม

ท่านได้มาบูชาพระเจดีย์ครูบากางเป็ดแล้วหรือยัง ?




632.




634.




633.




631. พระเจดีย์ครูบากางเป็ด แห่ง วัดฉางข้าวน้อยใต้
ต.ป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน




Moonfleet ได้มาเยือน วัดฉางข้าวน้อยใต้ ต.ป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน
วันจันทร์ ที่ 12 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2552





นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ นครแห่งชีวิตและความมั่งคั่ง


Create Date : 12 ตุลาคม 2552
Last Update : 13 ตุลาคม 2552 9:38:55 น. 2 comments
Counter : 4078 Pageviews.

 
วัดสวยงามมากค่ะ

ได้ความรู้มากเลยค่ะ


โดย: tuk-tuk@korat วันที่: 13 ตุลาคม 2552 เวลา:19:29:03 น.  

 
ดีใจจัง ที่มีส่วนในการเรียบเรียงประวัติวัดนี้ ถ้าไม่เสาะแสวงหามาป่านนี้ก็ยังคงไม่มีใครหาได้ สมัยอยู่วัดฉางข้าวน้อยใต้(ป่ายาง) เหนื่อย ท้อแท้ มากมาย แต่ก็ทนๆๆ จนศาลาในป่าช้าเสร็จ เขียนป้ายหน้าศาลาให้เขา เขียนรายชื่อเจ้าภาพศาลาทั้งหมดเสร็จ ไม่นึกไม่ฝันว่าจะได้มาอ่านประวัติวัดที่ตนเองเคยเรียบเรียงไว้ ชื่นใจจังวันนี้ อิอิ..อยากรู้ละซิว่าใคร ไปถามชาวบ้านป่ายางเองเต๊อะ...บายขอบคุณครับ


โดย: ปอ IP: 223.205.40.224 วันที่: 23 กันยายน 2555 เวลา:1:24:17 น.  

ชื่อ :
Comment :
  *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

moonfleet
Location :
เชียงใหม่ Thailand

[ดู Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 25 คน [?]




ไม่มีสิ่งใดจะเกิดขึ้นมาได้ หากไม่เคยเป็นความฝันมาก่อน
New Comments
Friends' blogs
[Add moonfleet's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.