ใดๆในโลกล้วนเป็นสิ่งสมมติ
 
 

Review ข้อเท็จจริง ความรู้สึกกับการเข้าคิวรอkrispy kreamเป็นคนแรกๆในเมืองไทย

CREDIT จากPANTIP

 เป็นกระทู้เขียนเองจากประสบการณ์จริง เอามาcopyลง เพื่อเก็บไว้เป็นที่ระลึก

//topicstock.pantip.com/food/topicstock/2010/09/D9743639/D9743639.html

สืบเนื่องจากกระทู้เมื่อวาน
//www.pantip.com/cafe/food/topic/D9737511/D9737511.html และการเข้าคิวรอที่สถานที่จริง

ได้ มีผู้แสดงความคิดเห็นมากมายในกระทู้ รวมกับที่ผมเจอคนผ่านไปผ่านมาที่พารากอนพูดและถามถึง ผมจึงขออนุญาตไล่ลำดับเป็นประเด็น และชี้แจงข้อสงสัยที่คาดว่าจะเกิดขึ้นกับบางคนนะครับ



คนที่ได้ที่หนึ่งมารอตั้งแต่เมื่อไหร่?

ห้าง เปิดวันจันทร์ครับ 10.00 น.โดยประมาณ โดยที่Staffก็ไม่ได้คาดคิด มัวแต่วุ่นวายกับการก่อสร้างร้านที่ทำแทบจะไม่ทันอยู่ ดังจะเห็นได้จากรูปในกระทู้เก่าว่า ป้ายเข้าคิวยังเป็นป้ายกระดาษ เก้าอี้ก็ยังไม่มี กว่าเก้าอี้จะมาคือเวลา 16.00 น.นะครับ นั้นคือคนที่ได้ที่หนึ่งเขาต้องยืนรออย่างทรหดพอสมควร

เข้าห้องน้ำได้ไหม?

เข้าได้ครับ เวลาห้างก็เข้าในห้าง เวลาห้างปิดก็ต้องไปเข้าที่ห้องน้ำพนักงานในที่จอดรถชั้นใต้ดิน ไปเข้าได้ชั่วโมงละ 20 นาที

ไม่กลัวแซงคิวกันเหรอ?

ไม่ กลัวครับ เพราะที่ 1 2 และ3 ความแตกต่างของเวลามันชัดเจน และถ้าคุณได้เป็นลำดับแรกๆ ใครที่มาต่อคิวก็ต้องรู้ว่าเราคือคนที่มาก่อน ลำดับ 4-100 เป็นรางวัลที่เหมือนกัน ดังนั้นถ้าที่ 1 2 3 และ 4 ไม่มีปัญหากันย่อมไม่เกิดอะไรขึ้นครับ หากคุณเป็นอันดับแรกๆได้แล้ว ถามหน่อยว่าคุณจะยอมถอดใจออกจากคิวเหรอครับ ก็แค่นั่งรอไปเรื่อยๆ

เป็นหน้าม้าหรือเปล่า?

ถ้า เป็นหน้าม้าแล้ว ผมจะได้อะไรเป็นพิเศษครับ รางวัลที่ได้ก็แค่โดนัทอาทิตย์ละโหล แค่ค่าโฆษณาออกสื่อเขายังแพงกว่านี้ไม่รู้กี่ร้อยเท่า บริษัทเขาจะกั๊กรางวัลไปเพื่ออะไรครับ กินฟรีหนึ่งปีก็แค่หมื่นกว่าบาท ที่สองก็หกพันกว่าบาท

ทำไมถึงยอมมาเข้าคิว?

มีคนเดินไปเดินมา หรือความเห็นในกระทู้มาพูดว่า พวกผมอยากกินฟรีขนาดนั้นเลยเหรอ คำตอบคือ ไม่ได้ขนาดนั้นครับ ลำดับที่1เคยกินมาแล้ว แต่2กับ3ไม่เคยทานมาก่อน ได้ยินแต่ชื่อ สิ่งที่ผมต้องการคือความสะใจที่ได้ทำอะไรในชีวิตแบบนี้สักครั้งครับ เราก็เป็นส่วนหนึ่งของปรากฎการณ์พิเศษนี้ในเมืองไทย  แล้วผมก็ไม่ผิดหวังจริงๆที่อดทนรอมาได้นานขนาดนี้  ยิ่งที่1 เขาได้รับโอกาสที่มีค่ามากกว่ามูลค่าโดนัทที่เขาได้มากมายนัก แต่ผมไม่สามารถพูด ณ ที่นี้ได้ คนลำดับแรกๆเท่านั้นถึงจะได้เห็น

บางอย่างเงินก็ซื้อไม่ได้ครับ

ถึงจะมีคนเอาเงินมาให้เราสละคิว ก็ทำไม่ได้ เพราะคนที่เข้าคิวทุกคนเป็นพยานกันเองว่าใครที่อดทนมาด้วยกันตลอด ถ้าใครสละสิทธิ์ ลำดับต่อไปก็ต้องขึ้นมาแทน ไม่มีใครเข้าคิวแทนกันได้แน่นอนครับ  ยกตัวอย่างการได้ลงสื่อ ได้เป็นส่วนหนึ่งของวันแรกของKrispy Kreamในไทย ถึงใช้เงินมากกว่ารางวัลที่ได้มาก็ซื้อไม่ได้ครับ ต้องได้มาด้วยความพยายามส่วนตัวจริงๆ

มีคนชอบถามว่า สามคนแรกมาด้วยกันหรือเปล่า?

อัน ดับหลังๆน่ะใช่ครับ มีมาด้วยกันตอนดึกๆหลายคน แต่5อันดับแรก ต่างคนต่างมาครับ เพราะมาแต่เนิ่นๆอย่างนี้ ไม่มีใครบ้าจี้ด้วยแน่นอน แต่ถามว่าทำไมถึงดูสนิทกันจากรูปถ่าย  ก็ตลอดคืนมันมีการแสดง ไม่ได้หลับไม่ได้นอนครับ หันหน้าซ้ายขวาก็ต้องเจอหน้ากันเอง ได้คุยกันเป็น10ชั่วโมงอยู่ มันก็จะไม่ดูสนิทกันได้อย่างไรครับ แต่พอซื้อโดนัทเสร็จก็ต่างคนต่างแยกย้ายครับ

ผมไม่อาจต้านทานความคิด ของแต่ละบุคคลได้ แต่ผมเจอบางคนตอนเช้า ก็รู้สึกเศร้าจิต อารมณ์เสียมาอย่างแรง หาว่าพวกผมเป็นหน้าม้ามาต่อคิว ทำการตลาดหลอกๆ เอาเปรียบผู้บริโภค ฯลฯ ทั้งๆที่เขาไม่มาถามพวกผมสักคำเลยว่า พวกกลุ่มแรกๆที่มาเข้าคิวก็รู้สึกว่ายุติธรรมดี แต่ละลำดับมีช่องว่างของเวลาที่ชัดเจน  แต่พอคุณรู้สึกว่าพลาด ก็จะบอกว่า “รู้งี้………” เป็นประจำครับ

ผมก็พลาดโอกาสมาเยอะ จากประสบการณ์ที่ผิดพลาด จึงทำให้ผมวางแผนเตรียมตัวหาข้อมูลอย่างดี จึงสามารถเอาชนะมาได้ครับ สำคัญที่สุดคือใจต้องแน่วแน่ครับ เพราะแค่บอกว่าจะมาก็จะมีแต่เสียงคนไม่ค่อยเห็นด้วยดังมาเต็มไปหมด  

สุดท้าย นี้ผมอยากจะเล่ามุมเล็กๆที่น่ารักของ Staff และเจ้าของKrispy Kream Thailandนะครับ ชื่ออะไรผมไม่ทราบ แต่ว่าดูแลซื้อข้าวปลาอาหารให้พวกที่รอตั้งแต่วันจันทร์ที่27ทุกคนเป็นอย่าง ดี มีอาหาร น้ำ เครื่องดื่มเสริฟ์เต็มที่ กลัวพวกเราไม่อิ่ม ตอนดึกๆก็ไปหาอาหารกล่องมาให้กิน มีซื้อยาทากันยุงด้วย เพราะหลังจากห้างปิด เราต้องไปนั่งรอกันหน้าประตูกระจกพารากอนครับ  หลายอย่างพวกนี้เป็นสิ่งน่ารักๆ ที่ผมเชื่อว่าการเข้าคิวที่เมืองนอก เจ้าของกิจการคงจะไม่ดูแลเราดีอย่างนี้แน่นอน ถือว่าเป็นเซอร์ไพรส์พอสมควรครับ ตอนแรกผมก็นึกว่าก็คงใช้เวลาพักแต่ละชั่วโมงไปหาอะไรกินก่อนห้างปิดก็คงจะ เพียงพอแล้ว ที่ไหนได้ ดูแลดีมาก จนกะไม่ให้กินโดนัทตอนเช้าเลยครับ

มาตั้งแต่ร้านยังไม่มีวี่แววจะเสร้จ

ได้ที่ 1 2 3 ตั้งแต่ 4โมงเย็นของวันที่ 27 กันยา
และรักษาลำดับเหนียวแน่น จนเปิดร้าน

ถ้ามาไกลได้ถึงขนาดนี้แล้ว ใครจะยอมสละสิทธิ์ใช่ไหมครับ

ลำดับ 4 ผู้แสนดี

คนที่อยู่ตอนเย็นได้ทานกาแฟของKrispy Kream เป็นกรณีพิเศษด้วยครับ เรียกว่าเป็นแผนปฎิบัติการณ์กะไม่ให้พวกเราหลับครับ เดี่ยวจะหงอย

มี เหตุการณ์เกิดขึ้นเมื่อรู้ว่าเราจะต้องรับเสร็จในวันรุ่งขึ้น พี่เขาจึงกลับไปจะเปลี่ยนกางเกงที่รถ แต่ปรากฎว่าฝนตกหนักมาก หลบไม่ทัน ทำเสื้อผ้าเปียกไปหมด

แต่เจ้าของก็ใจดีครับ นำเสื้อที่ควรจะแจกในวันรุ่งขึ้นมาแจกให้พี่เขาใส่ก่อน เพราะเดี๋ยวจะไม่สบาย

ตอนกลางคืน ห้างไม่ให้อยู่ข้างใน เพราะคงกลัวความเสียหาย และอาจจะมีการสูญหายของทรัพย์สินได้ พวกเราจึงต้องไปนั่งข้างนอกห้างครับ นั่งอยู่หน้าประตูกระจก ดูเขาซ่อมร้านไป ระหว่างนั้นก็มีคนทยอยมาทีละเล็กน้อย แต่ก็ยังไม่ถึง40คิวนะครับ แต่ว่าหลังจาก 6 โมงเช้าแล้วคนก็เริ่มมา และเจ้าหน้าที่ก็เกณฑ์เราไปเข้าคอก ซึ่งก็ต้องยืนอีก4ชั่วโมงกว่าๆ จนกว่าร้านจะเปิด

รูปที่เห็นเป็นเจ้าหน้าที่กำลังแจกอาหาร เครื่องดื่มให้เราครับ แถมยังมียากันยุงเสียด้วย
เพราะว่ายุงเยอะจริงๆครับ ไม่คอ่ยมีใครได้หลับหรอกครับ เพราะมีดนตรีปลุกใจกันไม่ให้พวกเรานอน

บรรยากาศตอน ตี 2 ยังไม่มีวี่แววจะเสร็จ
แต่ไม่รู้ว่าเขาเกณฑ์คนมาจากไหนมากมาย อัดคืนเดียวเสร็จหมดในตอนเช้าเลยครับ

แถมให้อีกรูป ตอนรอก่อนห้างปิด ฉากข้างหลังเป็นการตัดต่อเพื่อความสวยงามครับ
ลำดับ 1 ถึง 4





 

Create Date : 18 เมษายน 2558   
Last Update : 18 เมษายน 2558 12:53:15 น.   
Counter : 2801 Pageviews.  


มหากาพย์อุลตร้าแมน ตอนที่ 4/6 (ไม่ได้เขียนเอง Credit Henshin Club

Original Link //henshinclub.com/index.php/topic,427.45.html

ตอนที่ ๑๓ กำเนิดอุลตร้าแมนดัดแปลง และความสับสนของลิขสิทธิ์อุลตร้าแมนในไทย (2543 – 2550)

ช่วงนี้แหละครับที่ลุงสมโพธิแกตีความเอาเองว่าแกมีสิทธิเอาอุลตร้าแมนมาทำตัวใหม่ได้ อันเป็นที่มาของ อุลตร้าแมนมิลเลนเนียม และ ดาร์คอุลตร้าแมน

ส่วนทางฝั่งซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ก็พยายามแยกอุลตร้าแมนเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มหนึ่งคือกลุ่มที่ไชโยชนะยกแรกอันประกอบด้วย อุลตร้าแมน โซฟี่ เซเว่น แจ็ค เอซ ทาโร่ เจ้าพ่อ และ เจ้าแม่อุลตร้า อีกกลุ่มคืออุลตร้าแมนที่เหลือตั้งแต่เลโอเป็นต้นมา อันเป็นปัญหาของสิทธิ์อุลตร้าแมนในไทยเป็นอย่างยิ่ง เพราะอุลตร้าแมนตัวใหม่ๆก็โดนสมโพธิไล่จับ ไล่ฟ้องไปหมด โดยลุงอ้างว่าอุลตร้าแมนตัวใหม่ก็ดัดแปลงมาจากอุลตร้าแมนตัวต้นแบบ ทางตัวแทนฝั่งญี่ปุ่นก็ฟ้องร้องไชโยตามมาอีกหลายคดี


บริษัท ซึบูราญ่า โปรดัดชั่น จำกัด อ้างว่า นายสมโพธิ แสงเดือนฉาย ได้สิทธิเฉพาะผลงานอุลตร้าแมนบางส่วนที่สร้างสรรค์ขึ้นจนถึงปีพ.ศ. 2519 เท่านั้น และได้แต่งตั้งบริษัท โพร-ลิงค์ จำกัด เป็นตัวแทนจำหน่ายสิทธิผลงานอุลตร้าแมนทีก้า อุลตร้าแมนไดน่า อุลตร้าแมนไกญ่า อุลตร้าแมนคอสมอส และอุลตร้าแมนคิดส์ ในประเทศไทย ซึ่งสร้างสรรค์ขึ้นภายหลังจากปี 2519 และอ้างว่านายสมโพธิ แสงเดือนฉาย ไม่มีสิทธิใดๆในผลงานอุลตร้าแมนดังกล่าว รวมทั้งได้แต่งตั้งนายสัมโพธิ เทียนทอง กรรมการผู้จัดการ บริษัท โพร-ลิงค์ จำกัด เป็นผู้รับมอบอำนาจในการดำเนินการฟ้องร้องจับกุมผู้ละเมิดลิขสิทธิ์และจำหน่ายสินค้าอุลตร้าแมนดังกล่าว



พี่สัมโพธิ เทียนทอง กรรมการผู้จัดการ บริษัท โพร-ลิงค์ (ที่ 2 จากขวามือ) ตอนนั้นยังหน้าตายิ้มแย้ม

ในปี 2544 ไชโยทำ อุลตร้าแมน ไลฟ์โชว์ อิน แบงคอค (อุลตร้าแมนตัวใหม่ “มิลเลนเนี่ยม”) ที่อิมแพค เมืองทองธานี ซึ่งผมเองได้มีโอกาสเข้าไปดูงานแบบใกล้ชิดอยู่หลายครั้งในฐานะหนึ่งในสปอนเซอร์และต้องยอมรับว่า แมทชิ่ง เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ ที่เข้ามารับงานทำการแสดงออกมาได้ดีมาก ทั้งแสง สี เครื่องยิงแสงเลเซอร์จากอุลตร้าแมน





บัตรชมไลฟ์โชว์ทำออกมาสวยดี
 


โกโมร่าส่งเสียงคำรามพ่นไฟ (จริงๆ) บนอัศจรรย์ไม่ห่างไปจากนั่งผู้ชมมากนัก (แต่แบบนี้เค้าห้ามที่ญี่ปุ่น) หรือทีมสู้สัตว์ประหลาดโรยตัวลงมาจากเพดานของอิมแพ็ค เหมือนกับว่าอิมแพ็คกำลังโดนโกโมร่าโจมตี ฯ

ตอนที่ ๑๔ ทำความรู้จักกับ อุลตร้าแมน มิลเลนเนียน อุลตร้าแมนดัดแปลงสัญชาติไทย
 


ในจำนวน 3 อุลตร้าแมนดัดแปลง คงไม่มีตัวไหนที่เป็นประเด็นมากไปกว่าเจ้าตัวแรก “อุลตร้าแมนมิลเลนเนียม” นี่แหละ
 


ULTRAMAN MILLENNIUM (อุลตร้าแมนมิลเลนเนี่ยม)


 
ข้อมูลจากแผ่นพับของไชโย (สำหรับผู้อ่านที่รู้จักคาแร็คเตอร์ตัวนี้ดีแล้ว ก็ข้ามไปข้างล่างเลยครับ)

ลักษณะสำคัญของมิลเลนเนียม

ดวงตาสีฟ้า ปุ่มคัลเลอร์ไทเมอร์แบบแบน และลวดลายบนลำตัวที่เป็นเสมือนเกราะอ่อน คือส่วนสำคัญที่ทำให้อุลตร้าแมนมิลเลนเนียมแตกต่างจากพี่น้องอุลตร้าคนอื่นๆ ใบหน้าที่ละม้ายอุลตร้าแมน ยังคงแสดงความเมตตาสะท้อนออกมาทางดวงตาสีฟ้า ปุ่มคัลเลอร์ไทเมอร์ลักษณะพิเศษที่สามารถเปลี่ยนแปลงรูปร่างเพื่อปลดปล่อยพลังงานมหาศาล และเป็นประตูมิติเชื่อมโลกของอุลตร้าแมน และโลกมนุษย์เข้าด้วยกัน ลวดลายที่เป็นเกราะอ่อนยังคงแฝงความลับพิเศษของอุลตร้าแมนมิลเลนเนียมไว้มากมาย ทั้งอาวุธ ท่าไม้ตาย และพลังพิเศษอันไร้ขีดจำกัด

ความเป็นมา

อุลตร้าแมนมิลเลนเนียมมาเพื่อปกป้องโลกจากสุสานมิติครั้งวิกฤตการณ์ดาร์คอุลตร้า และการจุติของภูติธรรมชาติเอลโบ หลังจากการต่อสู้ในครั้งนั้นก็ทำให้มิลเลนเนียมได้รับการยอมรับจากเหล่าพี่น้องอุลตร้าแมน ให้เป็นนักรบอุลตร้าอย่างสมบรูณ์ เขายังเดินทางไปยังหมู่ดาวต่างๆ พร้อมกับพัฒนาฝึกฝนท่าไม้ตายใหม่ๆ อย่างไม่หยุดยั้ง และเมื่อใดที่โลกมีมหันตภัยครั้งใหม่เขาก็จะกลับมา




มนุษย์ต่างดาวเอลโบ (ไม่ได้โผล่ในงานไลฟ์โชว์ครั้งแรก)

ข้อมูลจำเพาะ

มาโลกครั้งแรก ค.ศ. 2001
ความสูง 40 เมตร
น้ำหนัก 40,000 ตัน
อายุ 2,600 ปี
อุปกรณ์แปลงร่าง วาร์ปเชนเจอร์

ท่าไม้ตาย
1. แสงลูน่าบลาสท์
2. โอไรออนแอโรว์
3. ดับเบิ้ลอาร์มช็อต
4. ครอสคัทเตอร์
5. เอ็กซตรีมวายด์ช็อต

ในแผ่นพับไม่ได้บอกว่ามิลเลนเนียมเป็นมวยไทยด้วย แต่ในการแสดงบนเวที มิลเลนเนียมใช้วิธีการต่อสู้แบบที่เราคุ้นเคยแล้วเอาชนะบัลตั้นไม่ได้ เลยต้องเอาวิชามวยไทย (มีเสียงปี่พาทย์ประกอบ) มาใช้จนเอาชนะได้

การปรากฏตัวครั้งแรกต่อสายตาผู้ชมในเมืองไทยของอุลตร้าแมนมิลเลนเนียม แถมด้วยการต่อสู้กับมนุษย์ต่างดาวบัลตั้น



ชื่อ มิลเลนเนียม คงมาจากปี 2000 ที่ทางไชโยออกแบบอุลตร้าแมนตัวใหม่ ช่วงนั้นใครๆก็บ้าคำว่า “สหัสวรรษ หรือ มิลเลนเนียม” เพราะชาวโลกกำลังก้าวข้ามไปสู่สหัสวรรษใหม่
ในงานเปิดตัวไลฟ์โชว์ที่เมเจอร์รัชโยธิน ผมไม่มีรูปที่ถ่ายกับมิลเลนเนียมแต่ยังไงก็จำได้ว่าชุดมิลเลนเนียมนั้น “ก้นย้วยและเป้ายาน” จริงๆ (ส่วนงานไลฟ์โชว์ผมได้นั่งหน้าตามตั๋วสปอนเซอร์ ก็เห็นชุดขาดเหมือนกัน)



ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ จึงฟ้องสมโพธิ ว่าได้ละเมิดลิขสิทธิ์โดยอุลตร้าแมนมิลเลเนี่ยม เกิดจากการเลียนแบบส่วนต่างๆของอุลตร้าแมนหลายตัวที่นายสมโพธิไม่ได้มีลิขสิทธิ์
อาทิเช่นหู ทางซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ บอกว่านำมาจาก Ultraman ดวงตาสี้ฟ้าจาก Ultraman Powered ส่วนปุ่มแสดงพลังมาจาก Ultraman Agul รวมทั้งส่วนหัวและลักษณะนิสัยที่มาจาก Ultraman Cosmos (ธรรมะธัมโม ไม่อยากฆ่าสัตว์ตัดชีวิต)


 
แต่ผมว่าหลักๆเอามาจากพาวเวอร์ดตัวเดียวแหละครับ ทีกระจายหลายตัวแค่เพิ่มน้ำหนักการฟ้อง



 
“เราจะเห็นว่าอุลตร้าแมนที่ทางคุณสมโพธิทำขึ้นมานั้น มีการเลียนแบบและดัดแปลงมาจากอุลตร้าแมนหลายตัวที่ไม่ได้อยู่ในสัญญาที่คุณสมโพธิอ้างเลย เพราะถ้าพิจารณาดีๆ จะเห็นว่า หลายต่อหลายส่วนนำมาจากอุลตร้าแมนที่ผลิตขึ้นมาภายหลังทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นอุลตร้าแมนพาวเวอร์ด หรืออุลตร้าแมนคอสมอส”

ซึ่งสมโพธิ ได้โต้แย้งคัดค้านและได้ลงประกาศโฆษณาอ้างสิทธิในผลงานอุลตร้าแมนที่สร้างสรรค์ขึ้นใหม่ รวมถึงผลงานอุลตร้าแมนคอสมอสว่าเป็นการทำซ้ำดัดแปลงมาจากผลงานอุลตร้าแมนที่สร้างสรรค์ขึ้นก่อนหน้าปีพ.ศ. 2519 และให้บริษัท ซึบูราญ่า โปรดัดชั่น จำกัด รวมถึงบริษัท โพร-ลิงค์ จำกัด ผู้กระทำการเผยแพร่และผู้สนับสนุนหยุดการเผยแพร่ผลงาน "อุลตร้าแมนคอสมอส" ทันที และหากยังมีผู้ละเมิดสิทธิ์ ก็จะดำเนินคดีเด็ดขาดในทุกกรณี อันเป็นผลให้บริษัท ซึบูราญ่า โปรดัดชั่น จำกัด และบริษัท โพร-ลิงค์ จำกัด ได้ยื่นฟ้องนายสมโพธิ แสงเดือนฉาย เป็นจำเลยต่อศาอาญา กรุงเทพใต้ ฐานโฆษณากล่าวอ้างข้อความเท็จอันเป็นการหมิ่นประมาท รวมอีก 2 คดี


 
ตอนที่ อุลตร้าแมนคอสมอสในทีวีซีรี่ส์มีร่างใหม่ที่เรียกว่า Space Corona ฟอร์ม ทาง TIGA โทรมาบอกผมว่าทางโน้นก็อปลายเส้นบนตัวมิลเลนเนียมไปใช้ พอได้ดูก็เห็นว่าก็อปหรือดัดแปลงลายเส้นของมิลเลนเนียมไปจริงๆ เรียกว่า ก็อปกันไปก็อปกันมานั่นแหละ



หรือว่าอุลตร้าแมนตัวใหม่ล่าสุด อุลตร้าแมนกิงกะ ก็ดูเหมือนจะก็อปลายเส้นบนหน้าอกของเอลิทมาอีก


 


อจ. โทรุ กับโบรชัวร์ อุลตร้าแมนมิลเลนเนียม ตอนที่แวะมาเมืองไทย (ไม่รู้ว่าจริงๆในใจท่านเวลาที่เห็นหน้าตาและรูปร่าง มิลเลนเนียม จะคิดยังไง) 

 

ตอนที่ ๑๕ “ดาร์ค อุลตร้าแมน” อุลตร้าแมนด้านมืดคนแรก ก่อน “เบริอัล” เสียอีก
 




DARK ULTRAMAN ดาร์คอุลตร้าแมน

ลักษณะสำคัญ

แผงพลังงานที่เชื่อมโยงจากใบหูทั้งสองข้างมาถึงบริเวณหน้าอกดูคล้ายปกเสื้อ คือสิ่งแสดงความภาคภูมิใจ และศักดิ์ศรีทั้งมวลของอดีตนักรบแห่งดาวอุลตร้าผู้นี้ ลวดลายบนลำตัวที่คล้ายกับเกราะอ่อนแบบเดียวกับอุลตร้าแมนมิลเลนเนียมแสดงให้เห็นถึงความสามารถที่ได้รับการซุกซ่อนไว้มากมาย ท่าทีที่เคร่งขรึมบ่งบอกถึงประวัติการต่อสู้อันโชกโชน แต่เหตุการณ์ใดกันที่ทำให้ประกายเจิดจ้านี้มืดมิดจนปานนั้น

ความเป็นมา

แม้ว่าดาร์คอุลตร้าแมนจะเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการโจมตีโลก ของบัลตั้นเซย์จินเมื่อหลายปีก่อน และพ่ายแพ้ให้กับอุลตร้าแมนมิลเลนเนียมไปในที่สุด เป็นที่รู้กันไปทั่วจักรวาลแล้วว่าเขากลับมาเป็นอิสระอีกครั้งหนึ่ง แต่ไม่มีใครบอกได้ว่าเขาจะกลับมาในฐานะของวีรบุรุษ “นักรบอุลตร้า” หรือจะกลับมาในฐานะผู้นำของเหล่าร้ายแห่งจักรวาล ในยามที่โลกกำลังก้าวเข้าสู่มหันตภัยร้ายแรง การตัดสินใจของดาร์คอุลตร้าแมน ย่อมเป็นตัวแปรสำคัญในศึกใหญ่ครั้งนี้

ข้อมูลจำเพาะ

มาโลกครั้งแรก ค.ศ. 40,000 ปีก่อน
ความสูง 45 เมตร
น้ำหนัก 45,000 ตัน
อายุ 70,000 ปี

ท่าไม้ตาย

1. โคโรน่าเอ็กซ์ติงชั่น
2. เนบิวล่าเอ็กซโพลชั่น
3. สไปรัสสตาร์ดัสท์



ถ้าไม่เก็บโบรชัวร์ในงานเอาไว้ ผมคงลืมไปแล้วว่าดาร์คอุลตร้าแมนมีชื่อจริงว่า “อุลตร้าแมนโซล” และดูเหมือนว่าจะเป็นดีไซน์ที่ดีที่สุดในอุลตร้าแมนสัญชาติไทยทั้ง 3

ในไลฟ์โชว์ การปรากฏตัวของดาร์คอุลตร้าแมน ทำได้ตระการตาดี มาดูคลิปดาร์คอุลตร้าแมนใช้โคโรน่าเอ็กซ์ติงชั่นสู้กับพี่น้องอุลตร้ากัน




และ สุดท้าย...อุลตร้าแมนอีลิท (หรือเอลิท)


 

ULTRAMAN ELITE  อุลตร้าแมนเอลิท

ลักษณะสำคัญ

เอลิทเป็นอุลตร้าแมนที่มีลำตัวสีแดง สีปุ่มคัลเลอร์ไทเมอร์แบบแบนเช่นเดียวกับมิลเลนเนียม ลักษณะเด่นคือใบหน้าที่มีดวงตาสีฟ้าขนาดใหญ่ รูปทรงของดวงตามีลักษณะแตกต่างจากพี่น้องอุลตร้าตนอื่นๆ เป็นลักษณะเฉพาะที่จำแนกอุลตร้าแมนเอลิทได้อย่างชัดเจน เกราะอ่อนของเอลิทเป็นเกราะที่เชื่อมโยงไปถึงลำตัวด้านหลัง ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะอีกประการหนึ่ง

ความเป็นมา

เอลิทเป็นอุลตร้าตัวตนใหม่ ผู้ปรับสมดุลระหว่างมนุษย์และจุลชีวิต เอลิทสามารถเคลื่อนไหวในทุกมิติได้เร็วที่สุดในหมู่พี่น้องอุลตร้า ดวงตาและลวดลายที่แลดูคล้ายเสื้อเกราะบริเวณหน้าอกของเอลิท ทำให้เขามีเอกลักษณ์ที่แตกต่างจากพี่น้องอุลตร้าคนอื่น จุดกำเนิดของอุลตร้าแมนเอลิทมีความเกี่ยวพันกับพี่น้องอุลตร้า และภารกิจรักษาสมดุลแห่งธรรมชาติและจักรวาล คงต้องติดตามกันต่อไปว่าอุลตร้าแมนเอลิทจะมีความเก่งกาจซุกซ่อนอยู่ขนาดไหน



ข้อมูลจำเพาะ

มาโลกครั้งแรก ค.ศ. 2004
ความสูง 42 เมตร
น้ำหนัก 42,000 ตัน
อายุ 2,400 ปี

ท่าไม้ตาย

1. เอลิท พันช์
2. เอลิท อุลตร้า ฟิสท์
3. เอลิท ซูเปอร์ คิก
4. เอลิท สเปเซียม

ผมชอบแซวว่าชื่อนี้คงตั้งมาจากการประชุมในอีลิทผับชื่อดังยุคนั้น

ดีไซน์มันเลยแนวอุลตร้าแมนไปหน่อย คล้ายๆจะเอาฮีโร่ฝั่งตะวันตกมาผสม ดูหัวมังกุดท้ายมังกรยังไงชอบกล...ไม่ถูกใจจอร์จ


© Tsuburaya Pro/Tsuburaya Chaiyo/Licensed by TIGA
ตอนที่ ๑๕ “ดาร์ค อุลตร้าแมน” อุลตร้าแมนด้านมืดคนแรก ก่อน “เบริอัล” เสียอีก
 




DARK ULTRAMAN ดาร์คอุลตร้าแมน

ลักษณะสำคัญ

แผงพลังงานที่เชื่อมโยงจากใบหูทั้งสองข้างมาถึงบริเวณหน้าอกดูคล้ายปกเสื้อ คือสิ่งแสดงความภาคภูมิใจ และศักดิ์ศรีทั้งมวลของอดีตนักรบแห่งดาวอุลตร้าผู้นี้ ลวดลายบนลำตัวที่คล้ายกับเกราะอ่อนแบบเดียวกับอุลตร้าแมนมิลเลนเนียมแสดงให้เห็นถึงความสามารถที่ได้รับการซุกซ่อนไว้มากมาย ท่าทีที่เคร่งขรึมบ่งบอกถึงประวัติการต่อสู้อันโชกโชน แต่เหตุการณ์ใดกันที่ทำให้ประกายเจิดจ้านี้มืดมิดจนปานนั้น

ความเป็นมา

แม้ว่าดาร์คอุลตร้าแมนจะเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการโจมตีโลก ของบัลตั้นเซย์จินเมื่อหลายปีก่อน และพ่ายแพ้ให้กับอุลตร้าแมนมิลเลนเนียมไปในที่สุด เป็นที่รู้กันไปทั่วจักรวาลแล้วว่าเขากลับมาเป็นอิสระอีกครั้งหนึ่ง แต่ไม่มีใครบอกได้ว่าเขาจะกลับมาในฐานะของวีรบุรุษ “นักรบอุลตร้า” หรือจะกลับมาในฐานะผู้นำของเหล่าร้ายแห่งจักรวาล ในยามที่โลกกำลังก้าวเข้าสู่มหันตภัยร้ายแรง การตัดสินใจของดาร์คอุลตร้าแมน ย่อมเป็นตัวแปรสำคัญในศึกใหญ่ครั้งนี้

ข้อมูลจำเพาะ

มาโลกครั้งแรก ค.ศ. 40,000 ปีก่อน
ความสูง 45 เมตร
น้ำหนัก 45,000 ตัน
อายุ 70,000 ปี

ท่าไม้ตาย

1. โคโรน่าเอ็กซ์ติงชั่น
2. เนบิวล่าเอ็กซโพลชั่น
3. สไปรัสสตาร์ดัสท์



ถ้าไม่เก็บโบรชัวร์ในงานเอาไว้ ผมคงลืมไปแล้วว่าดาร์คอุลตร้าแมนมีชื่อจริงว่า “อุลตร้าแมนโซล” และดูเหมือนว่าจะเป็นดีไซน์ที่ดีที่สุดในอุลตร้าแมนสัญชาติไทยทั้ง 3

ในไลฟ์โชว์ การปรากฏตัวของดาร์คอุลตร้าแมน ทำได้ตระการตาดี มาดูคลิปดาร์คอุลตร้าแมนใช้โคโรน่าเอ็กซ์ติงชั่นสู้กับพี่น้องอุลตร้ากัน




และ สุดท้าย...อุลตร้าแมนอีลิท (หรือเอลิท)


 

ULTRAMAN ELITE  อุลตร้าแมนเอลิท

ลักษณะสำคัญ

เอลิทเป็นอุลตร้าแมนที่มีลำตัวสีแดง สีปุ่มคัลเลอร์ไทเมอร์แบบแบนเช่นเดียวกับมิลเลนเนียม ลักษณะเด่นคือใบหน้าที่มีดวงตาสีฟ้าขนาดใหญ่ รูปทรงของดวงตามีลักษณะแตกต่างจากพี่น้องอุลตร้าตนอื่นๆ เป็นลักษณะเฉพาะที่จำแนกอุลตร้าแมนเอลิทได้อย่างชัดเจน เกราะอ่อนของเอลิทเป็นเกราะที่เชื่อมโยงไปถึงลำตัวด้านหลัง ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะอีกประการหนึ่ง

ความเป็นมา

เอลิทเป็นอุลตร้าตัวตนใหม่ ผู้ปรับสมดุลระหว่างมนุษย์และจุลชีวิต เอลิทสามารถเคลื่อนไหวในทุกมิติได้เร็วที่สุดในหมู่พี่น้องอุลตร้า ดวงตาและลวดลายที่แลดูคล้ายเสื้อเกราะบริเวณหน้าอกของเอลิท ทำให้เขามีเอกลักษณ์ที่แตกต่างจากพี่น้องอุลตร้าคนอื่น จุดกำเนิดของอุลตร้าแมนเอลิทมีความเกี่ยวพันกับพี่น้องอุลตร้า และภารกิจรักษาสมดุลแห่งธรรมชาติและจักรวาล คงต้องติดตามกันต่อไปว่าอุลตร้าแมนเอลิทจะมีความเก่งกาจซุกซ่อนอยู่ขนาดไหน



ข้อมูลจำเพาะ

มาโลกครั้งแรก ค.ศ. 2004
ความสูง 42 เมตร
น้ำหนัก 42,000 ตัน
อายุ 2,400 ปี

ท่าไม้ตาย

1. เอลิท พันช์
2. เอลิท อุลตร้า ฟิสท์
3. เอลิท ซูเปอร์ คิก
4. เอลิท สเปเซียม

ผมชอบแซวว่าชื่อนี้คงตั้งมาจากการประชุมในอีลิทผับชื่อดังยุคนั้น

ดีไซน์มันเลยแนวอุลตร้าแมนไปหน่อย คล้ายๆจะเอาฮีโร่ฝั่งตะวันตกมาผสม ดูหัวมังกุดท้ายมังกรยังไงชอบกล...ไม่ถูกใจจอร์จ


© Tsuburaya Pro/Tsuburaya Chaiyo/Licensed by TIGA

ตอนที่ ๑๖ ไชโยโห่ฮิ้ว...ไชโย 2 : ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์  0

ข่าวสะท้านวงการฮีโร่ญี่ปุ่นเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2546 (2003) เมื่อศาลชั้นต้นญี่ปุ่นตัดสินคดีว่า สัญญาอนุญาตใช้สิทธิ์ระหว่างซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ (โดยนายโนโบรุ ซึบูราญ่า) กับ นายสมโพธิ แสงเดือนฉาย “เป็นของจริง” โดยตัดสินจากตราประทับ หรือ ฮังโค (判子) ที่มีความสำคัญเหนือลายมือชื่อ และไม่นำเอาหลักฐานการตรวจลายมือชื่อ (ซึ่งก็ไม่ได้พิสูจน์อย่างเพียงพอ) มาประกอบการพิจารณา ทั้งนี้เพราะวัฒนธรรมญี่ปุ่นเค้าเป็นอย่างนั้นกันมานมนาน นักธุรกิจทุกคนต้องมีตราประทับที่เรียกเป็นทางการว่า inkan (印鑑) หรือเรียกแบบทั่วๆไปว่า Hanko ติดตัวอยู่เสมอ ประกอบกับตราประทับบริษัทซึบูราญ่า เอ็นเตอร์ไพรส์ ก็เป็นของจริง จึงสรุปได้ว่ามีความตั้งใจจะทำสัญญาโดยสมบูรณ์

สมัยผมทำงานอยู่บริษัทญี่ปุ่นเมื่อ 30 ปีก่อน ผมก็มีไอ้หลอดแบบนี้อยู่อันนึง ตอนลาออกก็คืนเขาไป แต่พอมีโอกาสได้ไปญี่ปุ่นก็สั่งร้านทำไว้อันนึง (เป็นภาษาอังกฤษ) เก็บไว้เป็นที่ระลึก

จดหมายรับรองสิทธิของคาซูโอะเป็นการยืนยันรับรองเจตนารมณ์ว่าเกิดขึ้นตามผลของสัญญาจริงโดยไม่มีการโต้แย้ง
 
มีอยู่เรื่องหนึ่งที่ศาลญี่ปุ่นถือว่าเป็นหลักฐานประเด็นเล็ก แต่ผมเก็บเอามาเล่าให้ฟัง กล่าวคือ..

..สมโพธิให้การว่าก่อนทำหนังสือสัญญา เขาได้โทรศัพท์นัดหมายโนโบรุผ่านเลขาโนโบรุที่ชื่อ อิงะราชิ แต่ในความเป็นจริงอิงะราชิลาออกไปก่อนหน้า 1 ปีแล้ว อิงะราชิเองก็เบิกความยืนยันว่าไม่ได้รับรู้เรื่องดังกล่าวแต่อย่างใด แถมสมโพธิยังบอกว่า 2 วัน ก่อนลงนามในสัญญา (อังคารที่ 2 มีนาคม 2519) ตนเองเข้าพบกับโนโบรุพร้อมกับนายนิคม (ล่ามแปลภาษา) แต่จากบันทึกกองตรวจคนเข้าเมือง นายนิคม เข้าญี่ปุ่นวันที่ 3 มีนาคมจึงเป็นไปไม่ได้ และสุดท้ายหลังลงนามในสัญญา โนโบรุเอาใส่ซองจดหมายที่มีที่อยู่ใหม่ของซึบูราญ่า เอ็นเตอร์ไพรส์หลังจากวันลงนามไปแล้ว 6 ปี ศาลพิจารณาว่าเหตุการณ์เกิดขึ้นนานกว่า 20 ปี ความทรงจำย่อมเลอะเลือน ส่วนซองจดหมายก็เป็นไปได้ว่า นายสมโพธิเก็บเอาซองใหม่มาใช้เพราะยังไปมาหาสู่กับโนโบรุหลังทำสัญญา

ข้อความในหนังสือ “ความลับยอดมนุษย์” เอามาอ้างอิงไม่ได้เพราะเขียนขึ้นหลังจากที่ศาลตัดสินไปแล้ว ซึ่งแกคงปรับความจำใหม่เลยเขียนทำนองว่า นิคมไปกับลุงก่อนหน้าหนึ่งวัน แต่ผมก็ยิ่งสงสัยใหญ่ว่า ถ้าผมไม่รู้ภาษาอังกฤษและยิ่งไม่รู้ภาษาญี่ปุ่น ผมกำลังเดินทางไปรับสัญญาโดยไม่ได้อ่านก่อน ผมจะไห้ผู้ช่วยไปแค่หนึ่งวันก่อนหน้า (โดยที่ผมเดินทางไปก่อน) เชียวหรือ แต่อย่างว่าครับ ลุงแกคงอ้างว่าสัญญาไม่มีราคา...

 


ดังนั้นก็เลยสรุปว่าทางไชโยมีสิทธิ์โดยสมบูรณ์สำหรับภาพยนตร์ทีวีซีรีส์ 7 เรื่องได้แก่ อุลตร้าคิว อุลตร้าแมน 5 เรื่องและ จัมโบ้ เอ อีก 1 เรื่อง รวมถึงภาพยนตร์โรงใหญ่ที่ร่วมสร้างกันอีก 2 เรื่อง นอกประเทศญี่ปุ่น

แต่สำหรับอุลตร้าแมนเรื่องอื่นหรือการสร้างสรรค์อุลตร้าแมนตัวใหม่ๆและ/หรือภาพยนตร์ที่เกี่ยวข้องยังเป็นสิทธิของ ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ทั้งในและนอกประเทศญี่ปุ่น

และศาลก็สั่ง ปฏิเสธคำกล่าวอ้างว่านายสมโพธิเป็นผู้ร่วมค้นคิดอุลตร้าแมน ปฏิเสธการเป็นเจ้าของสิทธิ์อุลตร้าแมนทั้งในและนอกญี่ปุ่น และ ห้ามไชโยฯกล่าวอ้างว่าตนเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์

ดังนั้น ไชโยฯได้สิทธิหนังอุลตร้าแมนที่ระบุในสัญญานอกประเทศญี่ปุ่น แต่ลุงยังเที่ยวอ้างอยู่เรื่อยเปื่อยว่าเป็นคนร่วมให้กำเนิดอุลตร้าแมนโดยเอารูปหากินรูปนั้นมาโชว์อยู่ตลอด

ในญี่ปุ่นเล่ากันในหมู่นักออกแบบว่า โทรุ นั้นชมชอบรูปสลักไม้พระโพธิสัตว์ (พระศรีอริยเมตไตรย) มิโรคุ วัดโคริวจิ ในเกียวโต โดยเฉพาะรอยยิ้ม ซึ่งเขานำมาใส่ไว้ในใบหน้าของอุลตร้าแมน หาใช่พระพักตร์ของพระอัฏฐารสสมัยสุโขทัย ตามที่สมโพธิกล่าวอ้างแต่อย่างใด

จากนั้นลุงสมโพธิแกเลยย่ามใจเริ่มฟ้องดะไปหมด ตั้งแต่ หนังทีวีอุลตร้าแมนทีก้า ที่ช่อง 3 ซื้อลิขสิทธิ์มาจากญี่ปุ่น อุตส่าห์เอามาฉายตอนเช้าวันธรรมดาและเลี่ยงไปใช้ชื่อว่า “นักสู้สองพลัง” ต้นปี 2544 ก็โดนสมโพธิไล่ฟ้องย้อนหลัง

....ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ยื่นฏีกาต่อศาลสูงญี่ปุ่น

ตอนที่ ๑๖ ไชโยโห่ฮิ้ว...ไชโย 2 : ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์  0

ข่าวสะท้านวงการฮีโร่ญี่ปุ่นเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2546 (2003) เมื่อศาลชั้นต้นญี่ปุ่นตัดสินคดีว่า สัญญาอนุญาตใช้สิทธิ์ระหว่างซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ (โดยนายโนโบรุ ซึบูราญ่า) กับ นายสมโพธิ แสงเดือนฉาย “เป็นของจริง” โดยตัดสินจากตราประทับ หรือ ฮังโค (判子) ที่มีความสำคัญเหนือลายมือชื่อ และไม่นำเอาหลักฐานการตรวจลายมือชื่อ (ซึ่งก็ไม่ได้พิสูจน์อย่างเพียงพอ) มาประกอบการพิจารณา ทั้งนี้เพราะวัฒนธรรมญี่ปุ่นเค้าเป็นอย่างนั้นกันมานมนาน นักธุรกิจทุกคนต้องมีตราประทับที่เรียกเป็นทางการว่า inkan (印鑑) หรือเรียกแบบทั่วๆไปว่า Hanko ติดตัวอยู่เสมอ ประกอบกับตราประทับบริษัทซึบูราญ่า เอ็นเตอร์ไพรส์ ก็เป็นของจริง จึงสรุปได้ว่ามีความตั้งใจจะทำสัญญาโดยสมบูรณ์

สมัยผมทำงานอยู่บริษัทญี่ปุ่นเมื่อ 30 ปีก่อน ผมก็มีไอ้หลอดแบบนี้อยู่อันนึง ตอนลาออกก็คืนเขาไป แต่พอมีโอกาสได้ไปญี่ปุ่นก็สั่งร้านทำไว้อันนึง (เป็นภาษาอังกฤษ) เก็บไว้เป็นที่ระลึก

จดหมายรับรองสิทธิของคาซูโอะเป็นการยืนยันรับรองเจตนารมณ์ว่าเกิดขึ้นตามผลของสัญญาจริงโดยไม่มีการโต้แย้ง
 
มีอยู่เรื่องหนึ่งที่ศาลญี่ปุ่นถือว่าเป็นหลักฐานประเด็นเล็ก แต่ผมเก็บเอามาเล่าให้ฟัง กล่าวคือ..

..สมโพธิให้การว่าก่อนทำหนังสือสัญญา เขาได้โทรศัพท์นัดหมายโนโบรุผ่านเลขาโนโบรุที่ชื่อ อิงะราชิ แต่ในความเป็นจริงอิงะราชิลาออกไปก่อนหน้า 1 ปีแล้ว อิงะราชิเองก็เบิกความยืนยันว่าไม่ได้รับรู้เรื่องดังกล่าวแต่อย่างใด แถมสมโพธิยังบอกว่า 2 วัน ก่อนลงนามในสัญญา (อังคารที่ 2 มีนาคม 2519) ตนเองเข้าพบกับโนโบรุพร้อมกับนายนิคม (ล่ามแปลภาษา) แต่จากบันทึกกองตรวจคนเข้าเมือง นายนิคม เข้าญี่ปุ่นวันที่ 3 มีนาคมจึงเป็นไปไม่ได้ และสุดท้ายหลังลงนามในสัญญา โนโบรุเอาใส่ซองจดหมายที่มีที่อยู่ใหม่ของซึบูราญ่า เอ็นเตอร์ไพรส์หลังจากวันลงนามไปแล้ว 6 ปี ศาลพิจารณาว่าเหตุการณ์เกิดขึ้นนานกว่า 20 ปี ความทรงจำย่อมเลอะเลือน ส่วนซองจดหมายก็เป็นไปได้ว่า นายสมโพธิเก็บเอาซองใหม่มาใช้เพราะยังไปมาหาสู่กับโนโบรุหลังทำสัญญา

ข้อความในหนังสือ “ความลับยอดมนุษย์” เอามาอ้างอิงไม่ได้เพราะเขียนขึ้นหลังจากที่ศาลตัดสินไปแล้ว ซึ่งแกคงปรับความจำใหม่เลยเขียนทำนองว่า นิคมไปกับลุงก่อนหน้าหนึ่งวัน แต่ผมก็ยิ่งสงสัยใหญ่ว่า ถ้าผมไม่รู้ภาษาอังกฤษและยิ่งไม่รู้ภาษาญี่ปุ่น ผมกำลังเดินทางไปรับสัญญาโดยไม่ได้อ่านก่อน ผมจะไห้ผู้ช่วยไปแค่หนึ่งวันก่อนหน้า (โดยที่ผมเดินทางไปก่อน) เชียวหรือ แต่อย่างว่าครับ ลุงแกคงอ้างว่าสัญญาไม่มีราคา...

 


ดังนั้นก็เลยสรุปว่าทางไชโยมีสิทธิ์โดยสมบูรณ์สำหรับภาพยนตร์ทีวีซีรีส์ 7 เรื่องได้แก่ อุลตร้าคิว อุลตร้าแมน 5 เรื่องและ จัมโบ้ เอ อีก 1 เรื่อง รวมถึงภาพยนตร์โรงใหญ่ที่ร่วมสร้างกันอีก 2 เรื่อง นอกประเทศญี่ปุ่น

แต่สำหรับอุลตร้าแมนเรื่องอื่นหรือการสร้างสรรค์อุลตร้าแมนตัวใหม่ๆและ/หรือภาพยนตร์ที่เกี่ยวข้องยังเป็นสิทธิของ ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ทั้งในและนอกประเทศญี่ปุ่น

และศาลก็สั่ง ปฏิเสธคำกล่าวอ้างว่านายสมโพธิเป็นผู้ร่วมค้นคิดอุลตร้าแมน ปฏิเสธการเป็นเจ้าของสิทธิ์อุลตร้าแมนทั้งในและนอกญี่ปุ่น และ ห้ามไชโยฯกล่าวอ้างว่าตนเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์

ดังนั้น ไชโยฯได้สิทธิหนังอุลตร้าแมนที่ระบุในสัญญานอกประเทศญี่ปุ่น แต่ลุงยังเที่ยวอ้างอยู่เรื่อยเปื่อยว่าเป็นคนร่วมให้กำเนิดอุลตร้าแมนโดยเอารูปหากินรูปนั้นมาโชว์อยู่ตลอด

ในญี่ปุ่นเล่ากันในหมู่นักออกแบบว่า โทรุ นั้นชมชอบรูปสลักไม้พระโพธิสัตว์ (พระศรีอริยเมตไตรย) มิโรคุ วัดโคริวจิ ในเกียวโต โดยเฉพาะรอยยิ้ม ซึ่งเขานำมาใส่ไว้ในใบหน้าของอุลตร้าแมน หาใช่พระพักตร์ของพระอัฏฐารสสมัยสุโขทัย ตามที่สมโพธิกล่าวอ้างแต่อย่างใด

จากนั้นลุงสมโพธิแกเลยย่ามใจเริ่มฟ้องดะไปหมด ตั้งแต่ หนังทีวีอุลตร้าแมนทีก้า ที่ช่อง 3 ซื้อลิขสิทธิ์มาจากญี่ปุ่น อุตส่าห์เอามาฉายตอนเช้าวันธรรมดาและเลี่ยงไปใช้ชื่อว่า “นักสู้สองพลัง” ต้นปี 2544 ก็โดนสมโพธิไล่ฟ้องย้อนหลัง

....ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ยื่นฏีกาต่อศาลสูงญี่ปุ่น


<noembed /><noembed /><noembed /><noembed /><noembed /><noembed /><noembed /><noembed /><noembed /><noembed /><noembed /><noembed /> </body><!--End main--></p><br><br><center></center><br> <p align=center>&nbsp;</p> <table width=100% border=0> <tr> <td width=50%>Create Date : 26 พฤษภาคม 2556 </td> <td>&nbsp;</td><td>&nbsp;</td> <td rowspan='3' valign='bottom'><div align=right> <table border=0 cellspacing=0> <tr> <td><a href='//www.bloggang.com/viewblog.php?id=assuming&date=26-05-2013&group=5&gblog=26'>0 comment </a> </td> </tr> </table></div> </td> </tr> <tr> <td width=50%>Last Update : 26 พฤษภาคม 2556 19:52:29 น.</td> <td>&nbsp;</td><td>&nbsp;</td> </tr> <tr> <td width=50%>Counter : 7450 Pageviews.</td> <td></td><td>&nbsp;</td> </tr> <tr> <td colspan=4><span style='float:left;'></span><div align=right> <table border=0 cellspacing=0 align='right'> <tr> <td><table align='right'><tr><td></td><td><div id="fb-root"></div> <script async defer crossorigin="anonymous" src="https://connect.facebook.net/en_US/sdk.js#xfbml=1&version=v5.0&appId=456560244395068&autoLogAppEvents=1"></script><div class="fb-share-button" data-href="https://www.bloggang.com/viewfb.php?id=assuming&amp;month=26-05-2013&amp;group=5&amp;gblog=26" data-layout="button" data-size="small"><a target="_blank" href="https://www.facebook.com/sharer/sharer.php?u=https%3A%2F%2Fwww.bloggang.com%2Fviewfb.php%3Fid%3Dassuming%26month%3D26-05-2013%26group%3D5%26gblog%3D26&amp;src=sdkpreparse" class="fb-xfbml-parse-ignore">Share</a></div></td><td><style>.twitter-count-horizontal{ width:90px !important; }</style><a href="https://twitter.com/share" class="twitter-share-button" data-url="//www.bloggang.com/mainblog.php?id=assuming&month=26-05-2013&group=5&gblog=26" data-via="bloggangdotcom">Tweet</a><script>!function(d,s,id){var js,fjs=d.getElementsByTagName(s)[0];if(!d.getElementById(id)){js=d.createElement(s);js.id=id;js.src="https://platform.twitter.com/widgets.js";fjs.parentNode.insertBefore(js,fjs);}}(document,"script","twitter-wjs");</script><div class="fb-like" data-href="https://www.bloggang.com/mainblog.php?id=assuming&amp;month=26-05-2013&amp;group=5&amp;gblog=26" data-width="" data-layout="button_count" data-action="like" data-size="small" data-share="false"></div><span> <script type="text/javascript" src="//media.line.me/js/line-button.js?v=20140411" ></script> <script type="text/javascript"> new media_line_me.LineButton({"pc":false,"lang":"en","type":"a","text":"","withUrl":true}); </script> </span></td><td></td></tr></table></td> </tr> </table></div> </td> </tr> </table> </td> </tr> </table> </td> </tr></table></p></td> <td align="right" background="../template/theme/8/images/right.gif"><img src="../template/theme/8/images/everyday_frame_10.gif" width=18 height=18 alt=""></td> </tr> <tr> <td height="31"><IMG SRC="../template/theme/8/images/everyday_frame_13.gif" WIDTH=57 HEIGHT=31 ALT=""></td> <td background="../template/theme/8/images/everyday_frame_15.gif"><IMG SRC="../template/theme/8/images/everyday_frame_15.gif" WIDTH=28 HEIGHT=31 ALT=""></td> <td><IMG SRC="../template/theme/8/images/everyday_frame_17.gif" WIDTH=56 HEIGHT=31 ALT=""></td> </tr> </table><br> <!-- <table width=100% border=0> <tr> <td width=50%>Create Date : 26 พฤษภาคม 2556 </td> </tr> <tr> <td width=50%>Last Update : 26 พฤษภาคม 2556 19:52:29 น.</td> <td></td><td>&nbsp;</td> <td><div align=right> <table border=0 cellspacing=0> <tr> <td><a href='//www.bloggang.com/viewblog.php?id=assuming&date=26-05-2013&group=5&gblog=26'>0 comment </a></td> </tr> <tr> <td></td> </tr> </table> </div> </td> </tr> </table><br> --><table width="400" border="0" align="center" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tr background="../template/theme/8/images/everyday_frame_03.gif"> <td width="57"></td> <td width="177"></td> <td width="56"></td> </tr> <tr> <td></td> <td></td> <td></td> </tr> <tr> <td height="29"><img src="../template/theme/8/images/everyday_frame_01.gif" width=57 height=29 alt=""></td> <td height="29" background="../template/theme/8/images/everyday_frame_03.gif"><img src="../template/theme/8/images/everyday_frame_03.gif" width=28 height=29 alt=""></td> <td height="29"><img src="../template/theme/8/images/everyday_frame_05.gif" width=56 height=29 alt=""></td> </tr> <tr> <td background="../template/theme/8/images/left.gif"><IMG SRC="../template/theme/8/images/everyday_frame_09.gif" WIDTH=18 HEIGHT=18 ALT=""></td> <td bgcolor="#EDEDE5"><p><table width = 100% border= 0 cellpadding=3 cellspacing=0 bordercolor = white> <tr> <td><table width=100% border=0 cellspacing=0> <tr> <td><!--Last Update : 26 พฤษภาคม 2556 13:53:16 น.--> <p><b>มหากาพย์อุลตร้าแมน ตอนที่3/6 (ไม่ได้เขียนเอง Credit Henshin Club</b></p> <p><!--Main--> <body> <p><span class="bbc_size" style="font-size: 14pt;"><span class="bbc_font" style="font-family: verdana;"><strong>ตอนที่ ๙ ข้อพิพาทปรากฏต่อสาธารณชนในเมืองไทย</strong> </span></span><br /><br /><span class="bbc_size" style="font-size: 12pt;"><span class="bbc_font" style="font-family: verdana;">สำหรับคดีระหว่างซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ กับ ไชโยฯ นั้นมีอยู่หลายคดี จะเป็นคดีไหนก็ให้ดูหัวเรื่องและวันฟ้องครับ คดีฟ้องร้องกันไปๆมาๆระหว่างทั้งสองบริษัทมีอยู่หลายคดี ต่างกรรม ต่างวาระกัน แต่ผลของคดีที่มีนอกจากคดีใหญ่เรื่องสัญญาอนุญาตใช้สิทธิ์ ก็มักมีผลในรูปคดีทางแพ่งให้จ่ายค่าเสียหายเท่านั้นไม่ได้มีผลเปลี่ยนแปลงคดีหลักแต่อย่างไร<br /><br />ในความเป็นจริง ศาลสูงของญี่ปุ่นกับศาลฎีกาไทยก็มีคำตัดสินเรียบร้อยไปแล้วว่าใครมีกรรมสิทธิในคาร์แร็คเตอร์อุลตร้าแมนนั้นตั้งแต่ 5-7 ปีที่แล้ว การที่จะมาอ้างว่าศาลเพิ่งตัดสินไปนั้นไม่เป็นความจริง เพียงแค่เอาแพะมาตัดต่อยีนส์กับช้างแล้วออกข่าวใหญ่โตเข้าข้างตัวเองเท่านั้น<br /><br />คดีความเรื่องกรรมสิทธิ์อุลตร้าแมนเริ่มต้นเมื่อซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ฟ้องลุงสมโพธิที่ญี่ปุ่นเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2540 และฟ้องที่เมืองไทยเมื่อเดือนธันวาคมปีเดียวกัน<br /><br />แต่ที่เริ่มเข้าสู่สายตาสาธารณชนในบ้านเรา น่าจะเป็นโฆษณาเต็มหน้าในหนังสือพิมพ์ที่เอารูปมาลงให้ดูกัน  หลังศาลชั้นต้นไทยมีตำพิพากษาออกมา โดยซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ เริ่มก่อนเมื่อเดือนมิถุนายน 2544 โดยอ้างสิทธิโดยชอบธรรมของคาเร็คเตอร์อุลตร้าแมน และกำลังอุทธรณ์งาน 9 ชิ้นของอุลตร้าแมนที่กำลังเป็นข้อพิพาทกับบริษัทไชโย<br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/c6c/lNhJ55.jpg" /><br /><br />ไชโยจึงตอบโต้ด้วยโฆษณาหนังสือพิมพ์เต็มหน้าเช่นกันในเดือนกรกฎาคม ปีเดียวกัน โดยมีรูปถ่ายของจดหมายขอโทษจากซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ เรื่องสิทธิอุลตร้าแมน และ คำตัดสินศาลชั้นต้นในเมืองไทยที่ให้ไชโยชนะคดี เป็นจุดสำคัญอยู่กลางโฆษณา และถ้าสังเกตุให้ดี มีอุลตร้าแมนมิลเลนเนียมยืนท้าวสะเอวอยู่แถวหน้าเลย<br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/892/ZuGFbo.jpg" /><br /><br />เป็นที่ฉงนงงงวยสำหรับแฟนๆอุลตร้าแมนในเมืองไทยเป็นยิ่งนัก ว่านี่มันเกิดอะไรขึ้น และยากจะเชื่อว่า “ยอดมนุษย์อุลตร้าแมน” กลายเป็นของคนไทย ! </span></span><br /></p> <p><font face="Verdana">เรื่องหนุมานพบเจ็ดยอดมนุษย์ยังมีเรื่องน่าเล่าอีกหลายอย่าง เช่น<br /><br />เดิมตั้งใจว่าชื่อเรื่องจะเป็นหนุมานพบ 6 ยอดมนุษย์ แต่ในวงการภาพยนตร์ไทยเขาถือว่าเลข 6 นำโชคร้าย คือ หกล้ม หกคะเมน ก็เลยเปลี่ยนไปใช้เลข 7 แทน<br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/88a/oxVKEw.jpg" /><br /><br />ในหนังจะเห็นโลโก้ของสายการบินสยาม (สปอนเซอร์) อยู่หลายแห่งเช่นบนจรวด หรือบนเสื้อของทีม แอร์สยาม สมัยนั้นเป็นสายการบินลำดับสองรองจากการบินไทย แต่ตอนหลังโดนรัฐบาลไทยบีบไม่ให้บินในเส้นทางเดียวกับสายการบินไทย สุดท้ายก็แบกต้นทุมไม่ไหว เลิกกิจการไปในปี 2520 <br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/f4a/AMuPlk.JPG" /><br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/275/DKmlUQ.JPG" /><br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/5df/DVv74d.jpg" /><br /><br />พีระศิษฎ์ แสงเดือนฉายตอนนั้นอายุ 3 ย่าง 4 ขวบ มีชื่อเป็นผู้กำกับหนังเรื่องนี้ (และเรื่องต่อๆมา)<br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/864/VTh0Iv.JPG" /><br /><br />ลุงสมโพธิ แสดงเป็นช่างภาพอยู่ตอนต้นเรื่อง<br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/01a/DcSklF.JPG" /><br /><br />ฉากในห้องบังคับการคือกองบัญชาการของทีม MAC ในเรื่องอุลตร้าแมนเลโอ<br /><br />ชุดทีมงานคือชุดของทีม SAF (Scientific-Attack-Force) จากเรื่อง Fireman (มนุษย์ไฟใต้พิภพ)<br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/2e7/6mp9hN.JPG" /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/2f0/txFYQD.jpg" /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/ae7/vvYiZA.jpg" /><br /><br />ส่วนตลก 2 คนในชุด ZAT คือ สีเผือกและศรีสุริยา เป็นหัวหน้าตลกคณะ ''สี่สี'' (มีสีหมึกและเทพ เทียนชัย อีก 2 หน่อ) เป็นตลกดังมากยุคนั้น อาจจะดูไม่เข้าท่ายุคนี้ แต่ตอนนั้นทั้งคู่ดังมาก เรียกแขกได้เยอะครับ <br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/e34/4zFePr.jpg" /><br /><br />ปลายปี 2517 หลังหนังหนุมานฯออกฉายไม่นาน คณะสี่สีประสพอุบัติเหตุรถเสียหลักตกข้างทางที่อุบลฯ ศรีสุริยา เสียชีวิต สีเผือก เป็นอัมพาตต้องนั่งรถเข็นในเวลาต่อมา สีเผือกพยายามจะออกแสดงตลกบนรถเข็นแต่ผู้ชมดูแล้วเวทนาเสียมากกว่าจึงหยุดการแสดงไปและเสียชีวิตต่อมาอีกไม่นาน</font><br /><font face="Verdana">เรื่องหนุมานพบเจ็ดยอดมนุษย์ยังมีเรื่องน่าเล่าอีกหลายอย่าง เช่น<br /><br />เดิมตั้งใจว่าชื่อเรื่องจะเป็นหนุมานพบ 6 ยอดมนุษย์ แต่ในวงการภาพยนตร์ไทยเขาถือว่าเลข 6 นำโชคร้าย คือ หกล้ม หกคะเมน ก็เลยเปลี่ยนไปใช้เลข 7 แทน<br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/88a/oxVKEw.jpg" /><br /><br />ในหนังจะเห็นโลโก้ของสายการบินสยาม (สปอนเซอร์) อยู่หลายแห่งเช่นบนจรวด หรือบนเสื้อของทีม แอร์สยาม สมัยนั้นเป็นสายการบินลำดับสองรองจากการบินไทย แต่ตอนหลังโดนรัฐบาลไทยบีบไม่ให้บินในเส้นทางเดียวกับสายการบินไทย สุดท้ายก็แบกต้นทุมไม่ไหว เลิกกิจการไปในปี 2520 <br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/f4a/AMuPlk.JPG" /><br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/275/DKmlUQ.JPG" /><br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/5df/DVv74d.jpg" /><br /><br />พีระศิษฎ์ แสงเดือนฉายตอนนั้นอายุ 3 ย่าง 4 ขวบ มีชื่อเป็นผู้กำกับหนังเรื่องนี้ (และเรื่องต่อๆมา)<br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/864/VTh0Iv.JPG" /><br /><br />ลุงสมโพธิ แสดงเป็นช่างภาพอยู่ตอนต้นเรื่อง<br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/01a/DcSklF.JPG" /><br /><br />ฉากในห้องบังคับการคือกองบัญชาการของทีม MAC ในเรื่องอุลตร้าแมนเลโอ<br /><br />ชุดทีมงานคือชุดของทีม SAF (Scientific-Attack-Force) จากเรื่อง Fireman (มนุษย์ไฟใต้พิภพ)<br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/2e7/6mp9hN.JPG" /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/2f0/txFYQD.jpg" /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/ae7/vvYiZA.jpg" /><br /><br />ส่วนตลก 2 คนในชุด ZAT คือ สีเผือกและศรีสุริยา เป็นหัวหน้าตลกคณะ ''สี่สี'' (มีสีหมึกและเทพ เทียนชัย อีก 2 หน่อ) เป็นตลกดังมากยุคนั้น อาจจะดูไม่เข้าท่ายุคนี้ แต่ตอนนั้นทั้งคู่ดังมาก เรียกแขกได้เยอะครับ <br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/e34/4zFePr.jpg" /><br /><br />ปลายปี 2517 หลังหนังหนุมานฯออกฉายไม่นาน คณะสี่สีประสพอุบัติเหตุรถเสียหลักตกข้างทางที่อุบลฯ ศรีสุริยา เสียชีวิต สีเผือก เป็นอัมพาตต้องนั่งรถเข็นในเวลาต่อมา สีเผือกพยายามจะออกแสดงตลกบนรถเข็นแต่ผู้ชมดูแล้วเวทนาเสียมากกว่าจึงหยุดการแสดงไปและเสียชีวิตต่อมาอีกไม่นาน</font><br /><font face="Verdana"><span class="bbc_color" style="color: blue;"><strong>&#12454;&#12523;&#12488;&#12521;6&#20804;&#24351;VS&#24618;&#29539;&#36557;&#22243;</strong></span> ฉบับภาษาญี่ปุ่น ต้นฉบับเอามาจากวิดีโอเทป ภาพพอดูได้ครับ<br /><br /></font></p> <p><font face="Verdana"><span class="bbc_size" style="font-size: 14pt;"><span class="bbc_font" style="font-family: verdana;"><strong>ตอนที่ ๑๐ LICENSE GRANTING AGREEMENT สัญญาของจริงหรือปลอม? </strong></span></span><br /><br /><span class="bbc_size" style="font-size: 12pt;"><span class="bbc_font" style="font-family: verdana;">สัญญาเจ้าปัญหา <strong>LICENSE GRANTING AGREEMENT</strong> ลงวันที่ 4 มีนาคม 1976 นั้นนายสมโพธิ อ้างว่าให้เงินยืมแก่โนโบรุไป 44 ล้านบาทแต่โนโบรุไม่มีเงินคืน เลยมอบสัญญาฉบับนี้ไว้ให้แทน<br /><br />คำว่า <strong>GRANTING</strong> ในภาษาอังกฤษมีความหมายว่า การอนุญาต การให้ หรือ ยอมให้ การโอน<br /> <br /><span class="bbc_color" style="color: blue;">grant [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]</span> ๑. การให้สิทธิ (โดยทำเป็นหนังสือ) ๒. เงินช่วยเหลือ เงินอุดหนุน <br /><span class="bbc_color" style="color: blue;">grant of patent [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]</span> การโอนสิทธิตามสิทธิบัตร <br /><br />สมโพธิใช้คำแปลจากชื่อสัญญานั้นว่า “เป็นข้อตกลงมอบสิทธิ์” คือสมโพธิมีสิทธิอันชอบธรรมที่จะเอาไปทำอะไรก็ได้ เช่น ดัดแปลงเป็นยอดมนุษย์ตัวใหม่ๆ<br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/870/cpM3YD.jpg" /><br /><br />ตัวสัญญาระบุภาพยนตร์ 9 เรื่อง เกือบทั้งหมดมีชื่อหรือจำนวนตอนที่ไม่ตรงกับตวามเป็นจริงดังนี้<br /><br />(1)   ไจแอนท์ VS จัมโบ้ “เอ” (ภาพยนตร์ ยักษ์วัดแจ้งพบจัมโบ้เอ)<br />(2)   ฮารุแมน แอนด์ เดอะ เซเว่น อุลตร้าแมน (ภาพยนตร์ หนุมานพบเจ็ดยอดมนุษย์) <span class="bbc_color" style="color: purple;">*ชื่อ หนุมาน เขียนผิดเป็น ฮารุแมน*</span><br />(3)   อุลตร้าแมน 1 “อุลตร้า คิว” <span class="bbc_color" style="color: purple;">*เรื่องนี้เป็นข้ออ้างในศาลว่าเป็นสัญญาปลอมเพราะใช้ชื่อผิด*</span><br />(4)   อุลตร้าแมน 2 (อุลตร้าแมน) <span class="bbc_color" style="color: purple;">*เรื่องนี้เป็นข้ออ้างในศาลว่าเป็นสัญญาปลอมเพราะใช้ชื่อผิด*</span><br />(5)   อุลตร้าแมน เซเว่น <span class="bbc_color" style="color: purple;">*เรื่องนี้เป็นข้ออ้างในศาลว่าเป็นสัญญาปลอมเพราะใช้ชื่อและมีจำนวนตอนผิด*</span><br />(6)   รีเทิร์น อุลตร้าแมน <span class="bbc_color" style="color: purple;">*เรื่องนี้เป็นข้ออ้างในศาลว่าเป็นสัญญาปลอมเพราะใช้ชื่อผิด*</span><br />(7)   อุลตร้าแมน เอช <span class="bbc_color" style="color: purple;">*เรื่องนี้เป็นข้ออ้างในศาลว่าเป็นสัญญาปลอมเพราะมีจำนวนตอนผิด*</span><br />(8 )    อุลตร้าแมน ทาโร่ <span class="bbc_color" style="color: purple;">*เรื่องนี้เป็นข้ออ้างในศาลว่าเป็นสัญญาปลอมเพราะมีจำนวนตอนผิด*</span><br />(9)   จัมบอร์ก เอซ (บ้านเราเรียกว่า “จัมโบ้ เอ”)<br /><br />ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ อ้างว่าเอกสารการอนุญาตใช้สิทธิ์เป็นเอกสารปลอมโดยต่อสู้คดีว่า<br /><br />ก. นายโนโบรุ ซึบูราญ่า ประธานบริษัท ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ฯ ช่วงนั้นไม่เคยพูดถึงสัญญาอนุญาตใช้สิทธิ์ดังกล่าวมาตลอด 20 ปีจนกระทั่งเสียชีวิต และเหตุใดนายสมโพธิจึงรอมา 20 ปีจนกระทั่งนายโนโบรุเสียชีวิตไปแล้ว ถึงได้เอาเอกสารอนุญาตใช้สิทธิ์มาอ้าง โดยเฉพาะเมื่อซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ เปิดบริษัท Ultracom Inc. ในอเมริกาเมื่อปี 2532 (1989) เพื่อดูแลลิขสิทธิ์ทั่วโลกและนำเรื่อง อุลตร้าแมน กับ อุลตร้าเซเว่น ออกฉายทั้งในอเมริกา ประเทศในแถบอเมริกาใต้ รวมถึงประเทศอื่นๆอีกหลายประเทศ แต่นายสมโพธิไม่เคยออกมาโต้แย้ง ต้องรอจนกระทั่งนายโนโบรุเสียชีวิตเมื่อมิถุนายน 2538 (1995) นายสมโพธิจึงนำสัญญาฉบับนี้แจ้งต่อ นายคาซูโอะ ซึบูราญ่า บุตรชายนายโนโบรุที่มารับตำแหน่งประธานบริษัทฯ <br /><br />ข. มาที่หนังสือสัญญาอนุญาตใช้สิทธิ์ ก็มีจุดที่น่าสงสัยหลายประเด็น เช่น<br />     a. ชื่อบริษัท  “Tsuburaya prod. and Enterprise” เป็นชื่อบริษัทที่ไม่เคยใช้มาก่อน ในข้อเท็จจริงบริษัทจะใช้ชื่อว่า  “Tsuburaya Pro” หรือใช้ตัวย่อ “TPC” ไม่ใช่ “Tsuburaya prod.” ที่ใช้ตัว “p” ตัวเล็ก และ “Tsuburaya prod. and Enterprise” ไม่มีตัวตน มีแต่ Tsuburaya Pro และ Tsuburaya Enterprise<br />     b. ขณะนั้นนายโนโบรุมีหุ้นอยู่แค่ 15% ในซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ยังไม่ได้นำเสนอเพื่อรับการอนุมัติจากผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (โตโฮถือหุ้นใหญ่อยู่ 60%)<br />     c. สัญญาไม่ระบุมูลค่าตอบแทนที่ชัดเจน<br />     d. โดยปกติสัญญาแบบนี้จะไม่ใช้หัวจดหมายที่มีชื่อบริษัท<br />     e. ชื่อภาพยนตร์ทีวีหรือจำนวนตอนไม่ถูกต้อง<br />          i. ULTRA Q ถูกเขียนในสัญญาว่า “ULTRAMAN 1: ULTRA Q”<br />          ii. ULTRAMAN กลับถูกเรียกว่า “ULTRAMAN 2”<br />          iii. ULTRA SEVEN กลายเป็น “ULTRAMAN SEVEN”<br />          iv. ULTRA SEVEN มีทั้งหมด 49 episodes. แต่สัญญาระบุ 50 ตอน (ไม่รวมตอนที่ 12 ที่โดนแบนในญี่ปุ่น)<br />          v. RETURN OF ULTRAMAN เขียนเป็น “RETURN ULTRAMAN”<br />          vi. ULTRAMAN ACE มี 52 ตอน แต่ในสัญญาระบุเป็น 51 ตอน<br />          vii. ULTRAMAN TARO มี 53 ตอน แต่ในสัญญาระบุ 54 ตอน<br />     f. ลายมือชื่อ Noboru Tsuburaya เป็นของปลอม<br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/521/dHmYbU.jpg" /><br /><br />แล้วสัญญาฉบับนี้มันเป็นของจริง (โนโบรุ มั่วเรื่องรายละเอียด หรือจงใจเขียนสัญญาผิดๆ แม้กระทั่งดัดแปลงลายมือชื่อตัวเอง?) หรือ ของปลอม (คนไทยทำกันเองแบบลวกๆ ปลอมลายมือชื่อแล้วแอบเอาฮังโคของโนโบรุมาประทับ – ซึ่งก็ไม่น่าจะยากถ้าใช้ความสนิทสนมส่วนตัว) กันแน่ ? </span></span><br /><span class="bbc_size" style="font-size: 14pt;"><span class="bbc_font" style="font-family: verdana;"><strong>ตอนที่ ๑๐ LICENSE GRANTING AGREEMENT สัญญาของจริงหรือปลอม? </strong></span></span><br /><br /><span class="bbc_size" style="font-size: 12pt;"><span class="bbc_font" style="font-family: verdana;">สัญญาเจ้าปัญหา <strong>LICENSE GRANTING AGREEMENT</strong> ลงวันที่ 4 มีนาคม 1976 นั้นนายสมโพธิ อ้างว่าให้เงินยืมแก่โนโบรุไป 44 ล้านบาทแต่โนโบรุไม่มีเงินคืน เลยมอบสัญญาฉบับนี้ไว้ให้แทน<br /><br />คำว่า <strong>GRANTING</strong> ในภาษาอังกฤษมีความหมายว่า การอนุญาต การให้ หรือ ยอมให้ การโอน<br /> <br /><span class="bbc_color" style="color: blue;">grant [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]</span> ๑. การให้สิทธิ (โดยทำเป็นหนังสือ) ๒. เงินช่วยเหลือ เงินอุดหนุน <br /><span class="bbc_color" style="color: blue;">grant of patent [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]</span> การโอนสิทธิตามสิทธิบัตร <br /><br />สมโพธิใช้คำแปลจากชื่อสัญญานั้นว่า “เป็นข้อตกลงมอบสิทธิ์” คือสมโพธิมีสิทธิอันชอบธรรมที่จะเอาไปทำอะไรก็ได้ เช่น ดัดแปลงเป็นยอดมนุษย์ตัวใหม่ๆ<br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/870/cpM3YD.jpg" /><br /><br />ตัวสัญญาระบุภาพยนตร์ 9 เรื่อง เกือบทั้งหมดมีชื่อหรือจำนวนตอนที่ไม่ตรงกับตวามเป็นจริงดังนี้<br /><br />(1)   ไจแอนท์ VS จัมโบ้ “เอ” (ภาพยนตร์ ยักษ์วัดแจ้งพบจัมโบ้เอ)<br />(2)   ฮารุแมน แอนด์ เดอะ เซเว่น อุลตร้าแมน (ภาพยนตร์ หนุมานพบเจ็ดยอดมนุษย์) <span class="bbc_color" style="color: purple;">*ชื่อ หนุมาน เขียนผิดเป็น ฮารุแมน*</span><br />(3)   อุลตร้าแมน 1 “อุลตร้า คิว” <span class="bbc_color" style="color: purple;">*เรื่องนี้เป็นข้ออ้างในศาลว่าเป็นสัญญาปลอมเพราะใช้ชื่อผิด*</span><br />(4)   อุลตร้าแมน 2 (อุลตร้าแมน) <span class="bbc_color" style="color: purple;">*เรื่องนี้เป็นข้ออ้างในศาลว่าเป็นสัญญาปลอมเพราะใช้ชื่อผิด*</span><br />(5)   อุลตร้าแมน เซเว่น <span class="bbc_color" style="color: purple;">*เรื่องนี้เป็นข้ออ้างในศาลว่าเป็นสัญญาปลอมเพราะใช้ชื่อและมีจำนวนตอนผิด*</span><br />(6)   รีเทิร์น อุลตร้าแมน <span class="bbc_color" style="color: purple;">*เรื่องนี้เป็นข้ออ้างในศาลว่าเป็นสัญญาปลอมเพราะใช้ชื่อผิด*</span><br />(7)   อุลตร้าแมน เอช <span class="bbc_color" style="color: purple;">*เรื่องนี้เป็นข้ออ้างในศาลว่าเป็นสัญญาปลอมเพราะมีจำนวนตอนผิด*</span><br />(8 )    อุลตร้าแมน ทาโร่ <span class="bbc_color" style="color: purple;">*เรื่องนี้เป็นข้ออ้างในศาลว่าเป็นสัญญาปลอมเพราะมีจำนวนตอนผิด*</span><br />(9)   จัมบอร์ก เอซ (บ้านเราเรียกว่า “จัมโบ้ เอ”)<br /><br />ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ อ้างว่าเอกสารการอนุญาตใช้สิทธิ์เป็นเอกสารปลอมโดยต่อสู้คดีว่า<br /><br />ก. นายโนโบรุ ซึบูราญ่า ประธานบริษัท ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ฯ ช่วงนั้นไม่เคยพูดถึงสัญญาอนุญาตใช้สิทธิ์ดังกล่าวมาตลอด 20 ปีจนกระทั่งเสียชีวิต และเหตุใดนายสมโพธิจึงรอมา 20 ปีจนกระทั่งนายโนโบรุเสียชีวิตไปแล้ว ถึงได้เอาเอกสารอนุญาตใช้สิทธิ์มาอ้าง โดยเฉพาะเมื่อซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ เปิดบริษัท Ultracom Inc. ในอเมริกาเมื่อปี 2532 (1989) เพื่อดูแลลิขสิทธิ์ทั่วโลกและนำเรื่อง อุลตร้าแมน กับ อุลตร้าเซเว่น ออกฉายทั้งในอเมริกา ประเทศในแถบอเมริกาใต้ รวมถึงประเทศอื่นๆอีกหลายประเทศ แต่นายสมโพธิไม่เคยออกมาโต้แย้ง ต้องรอจนกระทั่งนายโนโบรุเสียชีวิตเมื่อมิถุนายน 2538 (1995) นายสมโพธิจึงนำสัญญาฉบับนี้แจ้งต่อ นายคาซูโอะ ซึบูราญ่า บุตรชายนายโนโบรุที่มารับตำแหน่งประธานบริษัทฯ <br /><br />ข. มาที่หนังสือสัญญาอนุญาตใช้สิทธิ์ ก็มีจุดที่น่าสงสัยหลายประเด็น เช่น<br />     a. ชื่อบริษัท  “Tsuburaya prod. and Enterprise” เป็นชื่อบริษัทที่ไม่เคยใช้มาก่อน ในข้อเท็จจริงบริษัทจะใช้ชื่อว่า  “Tsuburaya Pro” หรือใช้ตัวย่อ “TPC” ไม่ใช่ “Tsuburaya prod.” ที่ใช้ตัว “p” ตัวเล็ก และ “Tsuburaya prod. and Enterprise” ไม่มีตัวตน มีแต่ Tsuburaya Pro และ Tsuburaya Enterprise<br />     b. ขณะนั้นนายโนโบรุมีหุ้นอยู่แค่ 15% ในซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ยังไม่ได้นำเสนอเพื่อรับการอนุมัติจากผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (โตโฮถือหุ้นใหญ่อยู่ 60%)<br />     c. สัญญาไม่ระบุมูลค่าตอบแทนที่ชัดเจน<br />     d. โดยปกติสัญญาแบบนี้จะไม่ใช้หัวจดหมายที่มีชื่อบริษัท<br />     e. ชื่อภาพยนตร์ทีวีหรือจำนวนตอนไม่ถูกต้อง<br />          i. ULTRA Q ถูกเขียนในสัญญาว่า “ULTRAMAN 1: ULTRA Q”<br />          ii. ULTRAMAN กลับถูกเรียกว่า “ULTRAMAN 2”<br />          iii. ULTRA SEVEN กลายเป็น “ULTRAMAN SEVEN”<br />          iv. ULTRA SEVEN มีทั้งหมด 49 episodes. แต่สัญญาระบุ 50 ตอน (ไม่รวมตอนที่ 12 ที่โดนแบนในญี่ปุ่น)<br />          v. RETURN OF ULTRAMAN เขียนเป็น “RETURN ULTRAMAN”<br />          vi. ULTRAMAN ACE มี 52 ตอน แต่ในสัญญาระบุเป็น 51 ตอน<br />          vii. ULTRAMAN TARO มี 53 ตอน แต่ในสัญญาระบุ 54 ตอน<br />     f. ลายมือชื่อ Noboru Tsuburaya เป็นของปลอม<br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/521/dHmYbU.jpg" /><br /><br />แล้วสัญญาฉบับนี้มันเป็นของจริง (โนโบรุ มั่วเรื่องรายละเอียด หรือจงใจเขียนสัญญาผิดๆ แม้กระทั่งดัดแปลงลายมือชื่อตัวเอง?) หรือ ของปลอม (คนไทยทำกันเองแบบลวกๆ ปลอมลายมือชื่อแล้วแอบเอาฮังโคของโนโบรุมาประทับ – ซึ่งก็ไม่น่าจะยากถ้าใช้ความสนิทสนมส่วนตัว) กันแน่ ? </span></span><br /></font></p> <p><font face="Verdana"><span class="bbc_size" style="font-size: 14pt;"><span class="bbc_font" style="font-family: verdana;"><strong>หนังสือ 2 เล่ม “อุลตร้าแมน” เป็นของใคร / ความลับของอุลตร้าแมน</strong></span></span><br /><br /><span class="bbc_size" style="font-size: 12pt;"><span class="bbc_font" style="font-family: verdana;">เมื่อตอนที่ผมกลับมาอ่าน 2 เล่มนี้ใหม่เพื่อเขียนกระทู้นี้ ก็นึกได้ว่าเคยจดข้อผิดพลาดของทั้งสองเล่มไว้<br /><br />เลยขอคั่นเรื่อง เผื่อจะมีสนใจไปอ่านกัน<br /><br />หนังสือเล่มเล็กของคุณท็อป เรื่อง <strong>“อุลตร้าแมน เป็นของใคร”</strong> วางขายปลายปี 2550 <br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/068/3bTTHD.jpg" /> <img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/83a/684C25.jpg" /><br /> <br />ในหนังสือเล่มนี้เล่าเรื่องของคดีความไว้พอสมควร โดยเฉพาะการเตรียมการในศาลและการสืบพยานในหลายๆครั้ง ซึ่งเป็นไปตามที่ผมได้เคยคุยกับคุณท็อปและคุณ ธานินทร์ (TIGA) เมื่อปี 2544<br /><br />คำนิยมหนังสือเล่มนี้ได้คุณอา สะอาด เปี่ยมพงศ์สานต์ ผู้ร่วมแสดงหนัง Project Ultraman เป็นผู้เขียนให้ แต่ผมคิดว่าท่านไม่ได้ศึกษาเรื่องราวความเป็นมาของการฟ้องร้องสิทธิ์อุลตร้าแมนก่อนลงมือเขียน<br /> <br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/944/lVet6n.jpg" /> <br /><br />อาสะอาดเขียนคำนิยมในหน้า 4 ของหนังสือเล่มนี้ว่า <span class="bbc_color" style="color: blue;">“ศาลญี่ปุ่นได้ตัดสินความ ให้คู่กรณีฝ่ายไทยเป็นผู้มีลิขสิทธิ์ใน “อุลตร้าแมน” โดยชนะคดีทั้งสามศาล...!<br /><br />แต่ที่เมืองไทย ศาลไทยกลับตัดสินความให้คู่กรณีฝ่ายญี่ปุ่นที่เพียงมอบให้คนไทยเป็นตัวแทนมาดำเนินการฟ้องร้อง และได้รับคำตัดสินให้เป็นผู้ชนะคดีในศาลชั้นต้น...!</span><br /><br />แต่ที่จริงไชโยชนะที่ศาลญี่ปุ่นทั้ง 2 ศาล เพราะไม่มีศาลอุทธรณ์ในคดีเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา ส่วนที่ศาลชั้นต้นในไทย ไชโย ก็เป็นฝ่ายชนะ<br /><br />อาสะอาดลงวันที่เขียนเอาไว้ว่าเป็นวันที่ 4 ตุลาคม 2550 ซึ่งศาลฎีกาไทยได้กลับคำตัดสินศาลชั้นต้นให้ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ชนะคดีไปเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม ปีเดียวกัน<br /><br />ส่วนที่ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์มอบให้คนไทยเป็นตัวแทนก็เป็นเรื่องปกติทั่วไป ทั้งยังแต่งตั้ง บริษัท เบเคอร์ แอนด์ แม็คเค็นซี่ จำกัด (นายมนู รักวัฒนกุล ทนายความ) เป็นทนายความบริษัท ซึบูราญ่า โปรดักชั่นส์ ด้วย<br /><br />ท่านคงรู้บทสรุปแต่ไม่รู้ที่มาที่ไปของเรื่อง ได้แต่รับข้อมูลจากฝ่ายไทยฝ่ายเดียวเหมือนคนอื่นๆเช่นกัน<br /><br />ส่วนอีกเล่ม <strong>“ความลับของยอดมนุษย์ อุลตร้าแมน” </strong><br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/e69/Tf4TVC.jpg" /> <img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/849/t5o30N.jpg" /><br /><br />หนังสือเล่มนี้ตีพิมพ์เมื่อ กันยายน 2550 โดยใช้ข้อมูลของลุงสมโพธิแต่ฝ่ายเดียวล้วนๆ คนเรียบเรียงเป็นเพื่อนผมเอง นักเรียนทุนญี่ปุ่นแต่ไม่ค่อยรู้เรื่องอุลตร้าแมนเอาซะเลย แต่เล่มนี้ก็ให้ข้อมูลบางอย่างที่น่าสนใจซึ่งผมก็ได้รวบรวมเอาประเด็นสำคัญๆมาบรรจุอยู่ในกระทู้นี้<br /><br />ทว่าข้อมูลบางส่วนของอุลตร้าแมนในเล่มนี้ ผิดแบบไม่น่าให้อภัย<br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/g01/PqXYfu.JPG" /> <img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/c15/R5a4j3.JPG" /><br /><br />หรือรูปตีลังกาแบบนี้</span></span><br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/00c/PRdOnB.JPG" /><span class="bbc_size" style="font-size: 14pt;"><span class="bbc_font" style="font-family: verdana;"><strong>หนังสือ 2 เล่ม “อุลตร้าแมน” เป็นของใคร / ความลับของอุลตร้าแมน</strong></span></span><br /><br /><span class="bbc_size" style="font-size: 12pt;"><span class="bbc_font" style="font-family: verdana;">เมื่อตอนที่ผมกลับมาอ่าน 2 เล่มนี้ใหม่เพื่อเขียนกระทู้นี้ ก็นึกได้ว่าเคยจดข้อผิดพลาดของทั้งสองเล่มไว้<br /><br />เลยขอคั่นเรื่อง เผื่อจะมีสนใจไปอ่านกัน<br /><br />หนังสือเล่มเล็กของคุณท็อป เรื่อง <strong>“อุลตร้าแมน เป็นของใคร”</strong> วางขายปลายปี 2550 <br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/068/3bTTHD.jpg" /> <img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/83a/684C25.jpg" /><br /> <br />ในหนังสือเล่มนี้เล่าเรื่องของคดีความไว้พอสมควร โดยเฉพาะการเตรียมการในศาลและการสืบพยานในหลายๆครั้ง ซึ่งเป็นไปตามที่ผมได้เคยคุยกับคุณท็อปและคุณ ธานินทร์ (TIGA) เมื่อปี 2544<br /><br />คำนิยมหนังสือเล่มนี้ได้คุณอา สะอาด เปี่ยมพงศ์สานต์ ผู้ร่วมแสดงหนัง Project Ultraman เป็นผู้เขียนให้ แต่ผมคิดว่าท่านไม่ได้ศึกษาเรื่องราวความเป็นมาของการฟ้องร้องสิทธิ์อุลตร้าแมนก่อนลงมือเขียน<br /> <br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/944/lVet6n.jpg" /> <br /><br />อาสะอาดเขียนคำนิยมในหน้า 4 ของหนังสือเล่มนี้ว่า <span class="bbc_color" style="color: blue;">“ศาลญี่ปุ่นได้ตัดสินความ ให้คู่กรณีฝ่ายไทยเป็นผู้มีลิขสิทธิ์ใน “อุลตร้าแมน” โดยชนะคดีทั้งสามศาล...!<br /><br />แต่ที่เมืองไทย ศาลไทยกลับตัดสินความให้คู่กรณีฝ่ายญี่ปุ่นที่เพียงมอบให้คนไทยเป็นตัวแทนมาดำเนินการฟ้องร้อง และได้รับคำตัดสินให้เป็นผู้ชนะคดีในศาลชั้นต้น...!</span><br /><br />แต่ที่จริงไชโยชนะที่ศาลญี่ปุ่นทั้ง 2 ศาล เพราะไม่มีศาลอุทธรณ์ในคดีเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา ส่วนที่ศาลชั้นต้นในไทย ไชโย ก็เป็นฝ่ายชนะ<br /><br />อาสะอาดลงวันที่เขียนเอาไว้ว่าเป็นวันที่ 4 ตุลาคม 2550 ซึ่งศาลฎีกาไทยได้กลับคำตัดสินศาลชั้นต้นให้ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ชนะคดีไปเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม ปีเดียวกัน<br /><br />ส่วนที่ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์มอบให้คนไทยเป็นตัวแทนก็เป็นเรื่องปกติทั่วไป ทั้งยังแต่งตั้ง บริษัท เบเคอร์ แอนด์ แม็คเค็นซี่ จำกัด (นายมนู รักวัฒนกุล ทนายความ) เป็นทนายความบริษัท ซึบูราญ่า โปรดักชั่นส์ ด้วย<br /><br />ท่านคงรู้บทสรุปแต่ไม่รู้ที่มาที่ไปของเรื่อง ได้แต่รับข้อมูลจากฝ่ายไทยฝ่ายเดียวเหมือนคนอื่นๆเช่นกัน<br /><br />ส่วนอีกเล่ม <strong>“ความลับของยอดมนุษย์ อุลตร้าแมน” </strong><br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/e69/Tf4TVC.jpg" /> <img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/849/t5o30N.jpg" /><br /><br />หนังสือเล่มนี้ตีพิมพ์เมื่อ กันยายน 2550 โดยใช้ข้อมูลของลุงสมโพธิแต่ฝ่ายเดียวล้วนๆ คนเรียบเรียงเป็นเพื่อนผมเอง นักเรียนทุนญี่ปุ่นแต่ไม่ค่อยรู้เรื่องอุลตร้าแมนเอาซะเลย แต่เล่มนี้ก็ให้ข้อมูลบางอย่างที่น่าสนใจซึ่งผมก็ได้รวบรวมเอาประเด็นสำคัญๆมาบรรจุอยู่ในกระทู้นี้<br /><br />ทว่าข้อมูลบางส่วนของอุลตร้าแมนในเล่มนี้ ผิดแบบไม่น่าให้อภัย<br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/g01/PqXYfu.JPG" /> <img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/c15/R5a4j3.JPG" /><br /><br />หรือรูปตีลังกาแบบนี้</span></span><br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/00c/PRdOnB.JPG" /></font></p> <p><font face="Verdana"></font></p> <p><font face="Verdana"><span class="bbc_size" style="font-size: 14pt;"><span class="bbc_font" style="font-family: verdana;"><strong>ตอนที่ ๑๑ หมัดเด็ดของไชโย</strong> </span></span><br /><br /><span class="bbc_size" style="font-size: 12pt;"><span class="bbc_font" style="font-family: verdana;">เอกสารที่สมโพธิบอกว่าเป็นเสมือนของหมัดเด็ดไชโยคือจดหมายแสดงความเสียใจของ คาซูโอะ ลงวันที่ 23 กรกฎาคม 1996 (2539) เรื่องสิทธิหนังทีวีอุลตร้าแมนและจัมโบ้เอ ตามที่ระบุในสัญญาข้างต้น โดยที่ตอนนั้นซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ไปตั้งบริษัท ULTRACOM ในปี 1989 เพื่อดูแลลิขสิทธิ์ทั่วโลก<br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/a26/oNB5ub.jpg" /><br /><br />ข้อความสำคัญๆในจดหมายระบุว่า<br /> <br /><span class="bbc_color" style="color: blue;">(1) สมโพธิมีสิทธิแต่เพียงผู้เดียวที่จะใช้ประโยชน์จากทรัพย์สิน “จำนวนหนึ่ง” ที่รวมถึง ภาพยนตร์ชุดอุลตร้าแมน และ จัมโบ้ เอ ใน “อาณาเขตที่รวมถึงประเทศไทย” ตามสัญญาในปี 1976</span><br /><br />(2) สัญญาระหว่างซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ กับ อุลตร้าคอม อิ๊งค์ ที่ไม่ได้รวมสิทธิของไชโยนั้น <span class="bbc_color" style="color: blue;">“เป็นความผิดพลาดที่ไม่ได้ตั้งใจ” <br />ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ “เสียใจ” กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นที่ทำให้เกิดความเสียหน้าและเสียหายกับไชโยในประเทศไทย<br />จึงได้ออกจดหมายฉบับนี้เพื่อกู้ความน่าเชื่อถือและความถูกต้องของไชโยในประเทศไทย</span><br /><br />(3) <span class="bbc_color" style="color: blue;">บรรดาสัญญาที่ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ได้ทำกับ อุลตร้าคอม อิ๊งค์ และ บริษัทต่างๆในไทย ขอให้ดำเนินต่อไปจนสิ้นสุดสัญญาโดยที่ไชโยจะไม่เรียกร้องใดๆ</span><br /><br />ทางซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ สู้ความเอกสารฉบับนี้ว่า<strong>ถูกนายสมโพธิและลูกชายหลอกลวงให้หลงเชื่อโดยสัญญาปลอมว่าไชโยอยากเป็นตัวแทนจัดจำหน่ายลิขสิทธิ์อุลตร้าแมนในประเทศไทยและภูมิภาคแถบนี้</strong> จึงเป็นเหตุให้คาซูโอะออกจดหมายฉบับนี้ให้<br /><br />จดหมายฉบับดังกล่าวคาซูโอะออกให้ก็เพื่อ <strong>ให้ชี้แจงบรรดาตัวแทนจำหน่ายวิดีโอในประเทศไทยที่ไม่เชื่อสมโพธิ โดยที่รายละเอียดเรื่องสัญญาจัดจำหน่ายกำลังเจรจาอยู่และหวังว่าจะเสร็จสิ้นในอีกไม่นาน</strong><br /><br />ในจดหมายเองก็ไม่ได้บ่งบอกถึงเจตนาว่าสมโพธิได้รับมอบสิทธิ <strong>เพียงแต่เขาได้รับอนุญาตที่จะใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินบางอย่างเท่านั้น</strong></span></span><br /><span class="bbc_size" style="font-size: 14pt;"><span class="bbc_font" style="font-family: verdana;"><strong>ตอนที่ ๑๑ หมัดเด็ดของไชโย</strong> </span></span><br /><br /><span class="bbc_size" style="font-size: 12pt;"><span class="bbc_font" style="font-family: verdana;">เอกสารที่สมโพธิบอกว่าเป็นเสมือนของหมัดเด็ดไชโยคือจดหมายแสดงความเสียใจของ คาซูโอะ ลงวันที่ 23 กรกฎาคม 1996 (2539) เรื่องสิทธิหนังทีวีอุลตร้าแมนและจัมโบ้เอ ตามที่ระบุในสัญญาข้างต้น โดยที่ตอนนั้นซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ไปตั้งบริษัท ULTRACOM ในปี 1989 เพื่อดูแลลิขสิทธิ์ทั่วโลก<br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/a26/oNB5ub.jpg" /><br /><br />ข้อความสำคัญๆในจดหมายระบุว่า<br /> <br /><span class="bbc_color" style="color: blue;">(1) สมโพธิมีสิทธิแต่เพียงผู้เดียวที่จะใช้ประโยชน์จากทรัพย์สิน “จำนวนหนึ่ง” ที่รวมถึง ภาพยนตร์ชุดอุลตร้าแมน และ จัมโบ้ เอ ใน “อาณาเขตที่รวมถึงประเทศไทย” ตามสัญญาในปี 1976</span><br /><br />(2) สัญญาระหว่างซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ กับ อุลตร้าคอม อิ๊งค์ ที่ไม่ได้รวมสิทธิของไชโยนั้น <span class="bbc_color" style="color: blue;">“เป็นความผิดพลาดที่ไม่ได้ตั้งใจ” <br />ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ “เสียใจ” กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นที่ทำให้เกิดความเสียหน้าและเสียหายกับไชโยในประเทศไทย<br />จึงได้ออกจดหมายฉบับนี้เพื่อกู้ความน่าเชื่อถือและความถูกต้องของไชโยในประเทศไทย</span><br /><br />(3) <span class="bbc_color" style="color: blue;">บรรดาสัญญาที่ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ได้ทำกับ อุลตร้าคอม อิ๊งค์ และ บริษัทต่างๆในไทย ขอให้ดำเนินต่อไปจนสิ้นสุดสัญญาโดยที่ไชโยจะไม่เรียกร้องใดๆ</span><br /><br />ทางซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ สู้ความเอกสารฉบับนี้ว่า<strong>ถูกนายสมโพธิและลูกชายหลอกลวงให้หลงเชื่อโดยสัญญาปลอมว่าไชโยอยากเป็นตัวแทนจัดจำหน่ายลิขสิทธิ์อุลตร้าแมนในประเทศไทยและภูมิภาคแถบนี้</strong> จึงเป็นเหตุให้คาซูโอะออกจดหมายฉบับนี้ให้<br /><br />จดหมายฉบับดังกล่าวคาซูโอะออกให้ก็เพื่อ <strong>ให้ชี้แจงบรรดาตัวแทนจำหน่ายวิดีโอในประเทศไทยที่ไม่เชื่อสมโพธิ โดยที่รายละเอียดเรื่องสัญญาจัดจำหน่ายกำลังเจรจาอยู่และหวังว่าจะเสร็จสิ้นในอีกไม่นาน</strong><br /><br />ในจดหมายเองก็ไม่ได้บ่งบอกถึงเจตนาว่าสมโพธิได้รับมอบสิทธิ <strong>เพียงแต่เขาได้รับอนุญาตที่จะใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินบางอย่างเท่านั้น</strong></span></span><br /></font></p> <p><font face="Verdana"><br /><strong><font size="5"><span class="bbc_color" style="color: green;">Urutoraman ga naiteiru -- Tsuburaya Pro no shippai koudansha gendai shinsho</span><br /><br /></font></strong><span class="bbc_size" style="font-size: 12pt;"><span class="bbc_font" style="font-family: verdana;">หรือ</span></span><br /><br /><span class="bbc_size" style="font-size: 14pt;"><span class="bbc_font" style="font-family: verdana;"><strong>อุลตร้าแมนกำลังร้องไห้ – ความล้มเหลวของซึบูราญ่าโปร โดย ฮิเดอาคิ ซึบูราญ่า สำนักพิมพ์โคดันฉะ </strong></span></span><br /><br /><span class="bbc_size" style="font-size: 12pt;"><span class="bbc_font" style="font-family: verdana;">หนังสือหนา 224 หน้า ราคา 777 เยน หรือราวๆ 230 บาท (รูปหน้าปกยังไม่มี)<br /><br />รหัส ISBN-10: 4062882159 หรือ ISBN-13: 978-4062882156 <br /><br />ฮิเดอาคิ ซึบูราญ่า (<span class="bbc_color" style="color: blue;">&#20870;&#35895;&#33521;&#26126;</span>) คือ ลูกชายคนรองของฮาจิเมะ เคยนั่งเป็นประธานซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ คนที่ 6 ระหว่างปี 2004-5 แทนที่พี่ชาย (ลูกชายคนโตของฮาจิเมะ) มาซาฮิโระ ซึบูราญ่า ที่ลาออกเนื่องจากกรณีคุกคามทางเพศกับพนักงานในบริษัท<br /><br />แกจบจากคณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์จากมหา’ลัยชูโอ เข้าทำงานกับบริษัทบันได ก่อนจะย้ายมาทำงานที่ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ในปี 1983 จากนั้นไปนั่งตำแหน่งกรรมการผู้จัดการที่ ซึบูราญ่า เอ็นเตอร์ไพรส์ ก่อนมาเป็นประธานบริษัทซึบูราญ่า คอมมิวนิเคชั่นส์ หลังจากนั้นมาเป็น Exectuvie Director ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ และเลื่อนเป็นประธานบริษัทคนที่ 6 ในปี 2004<br /><br />หลังลาออกจากบริษัทในปี 2005 เขาไปเปิดบริษัทของตัวเองชื่อ ซึบูราญ่า ดรีม แฟ็คตอรี่ ทำ special-effects ให้กับรายการทีวีในเมืองจีน<br /><br />เขาจะมาเล่าเหตุการณ์บริษัทซึบูราญ่าโปรดัคชั่นส์ที่ก่อตั้งโดย เอยิ ซึบูราญ่า ซึ่งถูกขนานนามว่าเป็น “เทพเจ้าแห่งสเปเชี่ยล เอฟเอฟส์” ผู้นำเสนออุลตร้าแมนซีรีส์จนกลายเป็นฮีโร่ในดวงใจของเด็กๆในยุค 60’s ถึง 80’s และยังเป็นผู้นำทางเท็คโนโลยี special effects รวมถึงการทำ costume และ โมเดลขนาดเล็ก น่าจะกลายเป็นบริษัทชั้นนำในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ของญี่ปุ่นและอาจเป็นหนึ่งในโลกเสียด้วยซ้ำ<br /><br />เหตุใดทายาทของเอยิไม่สามารถทำความฝันของเขาให้สำเร็จ กลับกลายเป็นว่าตระกูลซึบูราญ่าต้องถูกอัปเปหิออกจากบริษัทแค่รุ่นที่ 3<br /><br />เนื่องในโอกาสครบรอบ 50 ปีของบริษัทในปีนี้ เขาจะมาสาธยายความสำเร็จและความล้มเหลวของธุรกิจตระกูลซึบูราญ่า รวมถึงข้อมูลบางอย่างที่ไม่เคยเปิดเผยมาก่อน...<br /><br />แผนผังนี้เป็นของแถมครับ<br /><br />ลำดับอาวุโสให้ดูจากขวามาซ้ายตามแบบญี่ปุ่น-จีน ครับ</span></span><br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/929/Jrv8Jq.jpg" /><br /><strong><font size="5"><span class="bbc_color" style="color: green;">Urutoraman ga naiteiru -- Tsuburaya Pro no shippai koudansha gendai shinsho</span><br /><br /></font></strong><span class="bbc_size" style="font-size: 12pt;"><span class="bbc_font" style="font-family: verdana;">หรือ</span></span><br /><br /><span class="bbc_size" style="font-size: 14pt;"><span class="bbc_font" style="font-family: verdana;"><strong>อุลตร้าแมนกำลังร้องไห้ – ความล้มเหลวของซึบูราญ่าโปร โดย ฮิเดอาคิ ซึบูราญ่า สำนักพิมพ์โคดันฉะ </strong></span></span><br /><br /><span class="bbc_size" style="font-size: 12pt;"><span class="bbc_font" style="font-family: verdana;">หนังสือหนา 224 หน้า ราคา 777 เยน หรือราวๆ 230 บาท (รูปหน้าปกยังไม่มี)<br /><br />รหัส ISBN-10: 4062882159 หรือ ISBN-13: 978-4062882156 <br /><br />ฮิเดอาคิ ซึบูราญ่า (<span class="bbc_color" style="color: blue;">&#20870;&#35895;&#33521;&#26126;</span>) คือ ลูกชายคนรองของฮาจิเมะ เคยนั่งเป็นประธานซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ คนที่ 6 ระหว่างปี 2004-5 แทนที่พี่ชาย (ลูกชายคนโตของฮาจิเมะ) มาซาฮิโระ ซึบูราญ่า ที่ลาออกเนื่องจากกรณีคุกคามทางเพศกับพนักงานในบริษัท<br /><br />แกจบจากคณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์จากมหา’ลัยชูโอ เข้าทำงานกับบริษัทบันได ก่อนจะย้ายมาทำงานที่ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ในปี 1983 จากนั้นไปนั่งตำแหน่งกรรมการผู้จัดการที่ ซึบูราญ่า เอ็นเตอร์ไพรส์ ก่อนมาเป็นประธานบริษัทซึบูราญ่า คอมมิวนิเคชั่นส์ หลังจากนั้นมาเป็น Exectuvie Director ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ และเลื่อนเป็นประธานบริษัทคนที่ 6 ในปี 2004<br /><br />หลังลาออกจากบริษัทในปี 2005 เขาไปเปิดบริษัทของตัวเองชื่อ ซึบูราญ่า ดรีม แฟ็คตอรี่ ทำ special-effects ให้กับรายการทีวีในเมืองจีน<br /><br />เขาจะมาเล่าเหตุการณ์บริษัทซึบูราญ่าโปรดัคชั่นส์ที่ก่อตั้งโดย เอยิ ซึบูราญ่า ซึ่งถูกขนานนามว่าเป็น “เทพเจ้าแห่งสเปเชี่ยล เอฟเอฟส์” ผู้นำเสนออุลตร้าแมนซีรีส์จนกลายเป็นฮีโร่ในดวงใจของเด็กๆในยุค 60’s ถึง 80’s และยังเป็นผู้นำทางเท็คโนโลยี special effects รวมถึงการทำ costume และ โมเดลขนาดเล็ก น่าจะกลายเป็นบริษัทชั้นนำในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ของญี่ปุ่นและอาจเป็นหนึ่งในโลกเสียด้วยซ้ำ<br /><br />เหตุใดทายาทของเอยิไม่สามารถทำความฝันของเขาให้สำเร็จ กลับกลายเป็นว่าตระกูลซึบูราญ่าต้องถูกอัปเปหิออกจากบริษัทแค่รุ่นที่ 3<br /><br />เนื่องในโอกาสครบรอบ 50 ปีของบริษัทในปีนี้ เขาจะมาสาธยายความสำเร็จและความล้มเหลวของธุรกิจตระกูลซึบูราญ่า รวมถึงข้อมูลบางอย่างที่ไม่เคยเปิดเผยมาก่อน...<br /><br />แผนผังนี้เป็นของแถมครับ<br /><br />ลำดับอาวุโสให้ดูจากขวามาซ้ายตามแบบญี่ปุ่น-จีน ครับ</span></span><br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/929/Jrv8Jq.jpg" /></font></p> <p><font face="Verdana"><span class="bbc_size" style="font-size: 14pt;"><span class="bbc_font" style="font-family: verdana;"><strong>ตอนที่ ๑๒ ศาลชั้นต้นไทยตัดสินก่อน ไชโย 1 : ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์  0</strong> </span></span><br /><br /><span class="bbc_size" style="font-size: 12pt;"><span class="bbc_font" style="font-family: verdana;">การสีบพยานคดีนี้เป็นครั้งแรกที่ใช้ระบบการประชุมทางจอภาพแบบสดๆมาจากญี่ปุ่นหลายครั้ง มีการอ้างพยานบุคคลจำนวนมากถึง 48 ปาก กว่าครึ่งเป็นพยานบุคคลชาวญี่ปุ่น ยังมีนักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญจากกองพิสูจน์หลักฐาน พยานเอกสารซึ่งส่วนใหญ่เป็นภาษาต่างประเทศที่ต้องทำการแปล พยานวัตถุ รวมทั้งหมดฝ่ายโจทก์อ้างพยาน 335 อันดับ ฝ่ายจำเลยอ้างพยาน 358 อันดับ ใช้เวลาสืบพยาน 2 ปีเต็ม ใช้เวลาสืบ 65 ครั้ง <br /><br />จากทีผมเคยดูการสืบพยานญี่ปุ่นแล้วก็ไม่แปลกใจว่าทำไมซึบูราญ่า โปรดัคชันส์ถึงแพ้ เพราะทางโน้นดูไม่เตรียมการมาเสียเลย การตอบคำถามก็อ้ำๆอึ้งๆ ไม่เหมือนฝ่ายไทยที่ตอบได้ฉะฉานตรงประเด็นและรวดเร็วกว่า<br /><br />ประเด็นอย่างเรื่องสมโพธิไม่เคยออกมาอ้างสิทธิ์ตลอด 20 ปีจนกระทั่งนายโนโบรุเสียชีวิตเมื่อมิถุนายน 2538 (1995) โดนทำให้น้ำหนักเบาลงด้วยการสืบพยานว่า สมโพธิเคยให้สัมภาษณ์นิตยสารดังฉบับหนึ่งของไทยในปี 2536 ว่าตนเองมีสิทธิ์ในลิขสิทธิ์อุลตร้าแมนอย่างไร<br /><br />หลังสืบพยานในศาลเป็นระยะเวลา 840 วัน ศาลชั้นต้นไทยมีคำตัดสินเมื่อวันที่ 4 เมษายน 2543 (2000) ให้ไชโยฯชนะคดี และซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ต้องชำระค่าเสียหายลุงสมโพธิเป็นเงิน 12 ล้านบาทบวกดอกเบี้ย 7.5% นับจากวันฟ้อง<br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/fb8/vSaWtR.jpg" /><br /><br />ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ขออุทธรณ์ต่อศาลฎีกา (ศาลทรัพย์สินทางปัญญามีแค่ 2 ศาล คือ ศาลชั้นต้น แล้ว ฎีกาเลยไม่มีศาลอุทธรณ์) </span></span><br /><br /><span class="bbc_size" style="font-size: 14pt;"><span class="bbc_font" style="font-family: verdana;"><strong>ตอนที่ ๑๒ ศาลชั้นต้นไทยตัดสินก่อน ไชโย 1 : ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์  0</strong> </span></span><br /><br /><span class="bbc_size" style="font-size: 12pt;"><span class="bbc_font" style="font-family: verdana;">การสีบพยานคดีนี้เป็นครั้งแรกที่ใช้ระบบการประชุมทางจอภาพแบบสดๆมาจากญี่ปุ่นหลายครั้ง มีการอ้างพยานบุคคลจำนวนมากถึง 48 ปาก กว่าครึ่งเป็นพยานบุคคลชาวญี่ปุ่น ยังมีนักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญจากกองพิสูจน์หลักฐาน พยานเอกสารซึ่งส่วนใหญ่เป็นภาษาต่างประเทศที่ต้องทำการแปล พยานวัตถุ รวมทั้งหมดฝ่ายโจทก์อ้างพยาน 335 อันดับ ฝ่ายจำเลยอ้างพยาน 358 อันดับ ใช้เวลาสืบพยาน 2 ปีเต็ม ใช้เวลาสืบ 65 ครั้ง <br /><br />จากทีผมเคยดูการสืบพยานญี่ปุ่นแล้วก็ไม่แปลกใจว่าทำไมซึบูราญ่า โปรดัคชันส์ถึงแพ้ เพราะทางโน้นดูไม่เตรียมการมาเสียเลย การตอบคำถามก็อ้ำๆอึ้งๆ ไม่เหมือนฝ่ายไทยที่ตอบได้ฉะฉานตรงประเด็นและรวดเร็วกว่า<br /><br />ประเด็นอย่างเรื่องสมโพธิไม่เคยออกมาอ้างสิทธิ์ตลอด 20 ปีจนกระทั่งนายโนโบรุเสียชีวิตเมื่อมิถุนายน 2538 (1995) โดนทำให้น้ำหนักเบาลงด้วยการสืบพยานว่า สมโพธิเคยให้สัมภาษณ์นิตยสารดังฉบับหนึ่งของไทยในปี 2536 ว่าตนเองมีสิทธิ์ในลิขสิทธิ์อุลตร้าแมนอย่างไร<br /><br />หลังสืบพยานในศาลเป็นระยะเวลา 840 วัน ศาลชั้นต้นไทยมีคำตัดสินเมื่อวันที่ 4 เมษายน 2543 (2000) ให้ไชโยฯชนะคดี และซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ต้องชำระค่าเสียหายลุงสมโพธิเป็นเงิน 12 ล้านบาทบวกดอกเบี้ย 7.5% นับจากวันฟ้อง<br /><br /><img class="bbc_img" src="//image.ohozaa.com/i/fb8/vSaWtR.jpg" /><br /><br />ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ขออุทธรณ์ต่อศาลฎีกา (ศาลทรัพย์สินทางปัญญามีแค่ 2 ศาล คือ ศาลชั้นต้น แล้ว ฎีกาเลยไม่มีศาลอุทธรณ์) </span></span><br /><br /></font></p> <p><br /><br /><noembed><br /><br /></p><noembed /> </body></body>




 

Create Date : 26 พฤษภาคม 2556   
Last Update : 26 พฤษภาคม 2556 13:53:16 น.   
Counter : 5333 Pageviews.  


มหากาพย์อุลตร้าแมน ตอนที่2/6 (ไม่ได้เขียนเอง Credit Henshin Club

มหากาพย์อุลตร้าแมน ตอนที่2/6 (ไม่ได้เขียนเอง Credit Henshin Club)

ผมเห็นว่าบทความนี้เป็นเรื่องของประวัติศาสตร์วงการฮีโร่ที่สำคัญ เลยขออนุญาตก๊อปของBlogของตัวเอง ขอให้CREDIT HENSHIN CLUB และคุณBooska ผู้เขียนมา ณ ที่นี้ด้วยครับ คนที่มีฮีโร่เป็นแรงบันดาลใจให้หลายๆอย่างในชีวิต

ตอนที่ ๕ ใช้หนี้ด้วยกระดาษชำระ ?

สมโพธิอ้างว่าโนโบรุเดินทางมาหาเขาในปี 2513 หรือ 1970 (หน้า 65 ในหนังสือความลับของยอดมนุษย์ อุลตร้าแมน ซึ่งอันนี้ผมว่าแปลกเพราะฮาจิเมะยังดูแลธุรกิจอยู่จนถึงต้นปี 2516 หรือ 1973 และเวลานั้นโนโบรุยังไม่มีอำนาจตัดสินใจในการบริหารบริษัทฯ เว้นเสียแต่ว่าโนโบรุรับงานเจรจา “ลับเฉพาะ” จากพี่ชาย แต่ผมดูบุคคลิกและนิสัยของโนโบรุแล้ว ยากจะเชื่อว่าเขาจะมารับงานหนักหนาสาหัสแบบนี้ในเวลานั้น) โดยบอกกับเขาว่า “ซื้อตั๋วเครื่องบินมาเที่ยวเดียว ต้องการให้เขาช่วยเหลือ ไม่เช่นนั้นกลับญี่ปุ่นไม่ได้” ทั้งยังอยากจะขายบริษัทฯทิ้ง

ตนเองจึงหาทางช่วยเหลือ ด้วยการติดต่อคุณชูชีพ ปัญจะสังข์ ผู้นำเข้าภาพยนตร์ต่างประเทศช่วยซื้อภาพยนตร์อุลตร้าแมน 3 ชุด เป็นเงินราว 2 หมื่นดอลล่าร์ (สรอ) และตัวเองซื้อ 2 ชุดรวมเป็นเงิน 18,000 ดอลล่าร์ เลยทำให้โนโบรุมีเงินซื้อตั๋วเครื่องบินกลับบ้านพร้อมเงินสดติดมืออีก เกือบ 4 หมื่นดอลล่าร์

คนไทยก็เลยได้มีโอกาสชมอุลตร้าแมนและจัมโบ้เอทางทีวีเป็นครั้งแรก (จากหน้า 67) ซึ่งข้อความนี้ก็ไม่ถูกต้องเพราะอุลตร้าแมนมาฉายทางทีวีก่อนหน้านั้น (คือก่อน พ.ศ. 2513) โดยซื้อลิขสิทธิ์มาจากยูไนเต็ด อาร์ติส อเมริกา คนแก่ๆอย่างผมจำได้ว่าเพลงไตเติ้ลยอดมนุษย์นั้นเป็นภาษาฝรั่งและฉายวันพฤหัสตอนพลบค่ำครับ ส่วนตอนแรกน่าจะฉายในราวๆเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม พ.ศ. 2510




ภาพจากป๋าวรวุฒิ แฟนตัวจริงอุลตร้าแมนเนื้ออุ่นๆผู้ใจดี

ไหนๆก็พาย้อนยุคแล้ว...สำหรับการ์ตูนญี่ปุ่นอุลตร้าแมนในเมืองไทยนั้น ครั้งแรกตีพิมพ์ลงใน การ์ตูนเด็ก (ของคุณอา ไพบูลย์ วงศรี ปรมาจารย์ผู้บุกเบิกการ์ตูนญี่ปุ่นในไทยคนแรก) ฉบับที่ 7 แต่ยอดมนุษย์ของเราได้มาลงปกในเล่มต่อมา ( เล่ม 8 )

การ์ตูนเด็กฉบับปฐมฤกษ์วางขายเดือนมีนาคม ปี 2508 ดังนั้นเล่ม 7 ก็คงราวๆปลายปีเดียวกันหรือไม่ก็ต้นปี 2509 ครับ




ภาพจากป๋าสมบุญ (BOON) แฟนอุลตร้าแมนอีกคนผู้มากน้ำใจ (เฉพาะผู้หญิง)

ความสัมพันธ์ระหว่างสมโพธิกับโนโบรุพัฒนาไปด้วยดี จนกระทั่งสมโพธิเสนอจ้างซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ผลิตหนังโรง “ยักษ์วัดแจ้งพบจัมโบ้เอ” ในปี 2516 โดยเอาฟิล์มหนังทีวีจัมโบ้เอมาตัดต่อและถ่ายเพิ่มในโรงถ่ายซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ เพื่อลดต้นทุน หนังเรื่องนี้เดิมจะลงทุนโดยไชโยเป็นเงิน 2 หมื่นดอลล่าร์และบริษัทฮูหลงฟิล์มของไต้หวันร่วมลงทุนอีก 3 หมื่น รวมเป็น 5 หมื่นดอลล่าร์ แต่ก่อนถ่ายฮูหลงถอนตัวทำให้สมโพธิต้องลงทุนเองทั้งหมด ทางโนโบรุจึงลดราคาให้ 5 พัน

ยักษ์วัดแจ้งพบจัมโบ้เอ ออกฉายครั้งแรกในเมืองไทยเมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2517 ที่โรงหนังโคลีเซี่ยม ที่มีหุ่นจัมโบ้เอกับยักษ์วัดแจ้งตั้งอยู่หน้าโรง เด็กๆเต็มไปหมดทำผมหลงกับคนอื่นๆจนต้องนั่งรถเมล์กลับบ้านเอง







หลังถ่ายทำ สมโพธิฝากฟิล์มเนกาตีฟต้นฉบับเก็บไว้ที่ญี่ปุ่นเพราะเมืองไทยอากาศร้อน (ฟิล์มจะทำปฏิกิริยากับอากาศที่เรียกว่า อ๊อกซิเดชั่น คือลุกเป็นไฟ มิฉะนั้นต้องเก็บในห้องแอร์ 24 ชั่วโมงซึ่งจะแพงมาก) แต่สมโพธิอ้างว่าโนโบรุแอบเอาเนกาตีฟฟิล์มไปขายให้บริษัทฮูหลงในราคา 3 หมื่นดอลล่าร์เอาเงินเข้ากระเป๋าโดยไม่บอกสมโพธิ

แต่เพราะสำนึกในบุญคุณของเอยิ ซึบูราญ่า สมโพธิบอกว่าเขายังคงว่าจ้างซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ สร้างหนังโรงอีกเรื่องคือ “หนุมานพบเจ็ดยอดมนุษย์” เป็นเงิน 9 หมื่นดอลลาร์ โดยใช้ฟิล์มหนังทีวี 16 มม. บางส่วนของอุลตร้าแมนทาโร่มาขยายเป็นฟิล์ม 35 มม. แต่การถ่ายทำมีงบเกินเลยจนกลายเป็น 1 แสน 2 หมื่นดอลล่าร์






รูปนี้มีความหมายครับดูดีดี รูปนี้ถ่ายที่หน้าโรงหนังเฉลิมกรุง ตรงกลางรูปมีชายที่ยกมือขวาขึ้น นั่นคือ โนโบรุ ซึบูราญ่า และที่เขาอุ้มอยู่ในมือข้างซ้ายนั่นคือ พีระศิษฎ์ แสงเดือนฉาย อายุใกล้จะ 4 ขวบ กำลังยกมือซ้ายชูขึ้นเหมือนกัน

พีระศิษฎ์บอกว่ามือขวาเขากำเช็คที่ได้มาจากโรงหนังโดยมีมารดายืนอยู่ด้านข้างและพี่สาวอีก 2 คน (หน้า 91 หนังสือ อุลตร้าแมน เป็นของใคร)


หนังโรงเรื่อง “หนุมานพบเจ็ดยอดมนุษย์” ฉายวันแรกในไทยเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2517



ภาพจากป๋าวรวุฒิ แฟนอุลตร้าแมนผู้ใจดี

สมโพธิบอกว่าหนังทำรายได้ถล่มทลาย เจ็ดวันล้าน (หน้า 78 แต่หลักฐานโฆษณาในหนังสือพิมพ์ปี 2517 บอกว่า 9 วันล้าน ความทรงจำคนเรามันมักเลือนไปตามกาลเวลา) สมโพธิยังเคยเล่าเรื่องที่ต้องซื้อน้ำแข็งมากมายมาใช้ในโรงหนังเฉลิมกรุงเพราะต้องเสริมเก้าอี้มากมายทุกรอบ จนแอร์รับไม่ไหว...



ภาพจากป๋าวรวุฒิ แฟนอุลตร้าแมนผู้ใจดี

หนังเรื่อง หนุมานพบ 7 ยอดมนุษย์ กลายเป็นหนึ่งในภาพยนตร์ 25 เรื่อง ที่กระทรวงวัฒนธรรม เลือกให้เป็นมรดกของชาติเนื่องในวันอนุรักษ์ภาพยนตร์ไทย ประจำปี 2555 อันเป็นที่ถกเถียงกันพอควรในหลายๆเวป





พิริยะสาส์น ฉบับพิเศษ ราคา 5 บาท ขายดิบขายดีจนหมดทุกแผงสมัยนั้น

จากประสพการณ์ครั้งก่อน เนกาตีฟฟิล์มเรื่องนี้จึงถูกนำไปเก็บไว้ที่บริษัทโตเกียวแล็ปในนามของสมโพธิเอง

ข่าวความดังของหนุมานพบเจ็ดยอดมนุษย์ไปถึงฮ่องกง (ที่มีคนบ้าอุลตร้าแมนไม่แพ้เมืองไทย) ในปี 2518 เซอร์ รันรัน ชอว์ เจ้าของชอว์ บราเธอร์ เสนอซื้อสิทธิ์จัดจำหน่ายหนังเรื่องนี้ในเอเซียตะวันออกเป็นเวลา 7 ปีด้วยจำนวนเงิน 120,000 ดอลล่าร์

สมโพธิอ้างว่าติดงานถ่ายของไชโยจึงไหว้วานให้โนโบรุเดินทางไปส่งเนกาตีฟฟิล์มหนังหนุมานฯให้ชอว์บราเธอร์ที่ฮ่องกง (อีกแล้ว !) และโนโบรุเอ่ยปากขอยืมเงินจำนวน 120,000 ดอลล่าร์เป็นเวลา 1 ปี (นี่ก็เอาอีกแล้ว !) ซึ่งทางสมโพธิอ้างว่ามีรายได้จากหนัง 3 เรื่องก่อนคือ ท่าเตียน ยักษ์วัดแจ้งพบจัมโบ้เอ และ หนุมานพบเจ็ดยอดมนุษย์ มากมาย จึงเห็นว่าเงินเพียง 120,000 ดอลล่าร์ย่อมสามารถให้โนโบรุยืมไปใช้เพื่อทดแทนบุญคุณอาจารย์ได้

ทว่าก่อนโนโบรุเอาเนกาตีฟฟิล์มไปส่งให้ชอว์ บราเธอร์ สมโพธิบอกว่า โนโบรุกลับแอบเอาเนกาตีฟฟิล์มไปก็อปปี้และเอาไปขายไต้หวันได้เงินอีก 8 หมื่นดอลล่าร์เข้ากระเป๋าแล้วจึงเอาเอกสารอนุญาตฉายหนังในไต้หวันให้สมโพธิลงลายมือชื่อภายหลัง

เรื่องราวตรงนี้ผมว่ามันทะแม่งๆ สมโพธิโดนโกงครั้งก่อนแต่เขาก็ยังเชื่อใจให้โนโบรุโกงอีก 2 ครั้งติด เรื่องแรกคือขโมยก็อปเนกาตีฟ เรื่องสองคือเอาไปขายไต้หวันเอาเงินเข้ากระเป๋าและผิดสัญญากับชอว์ บราเธอร์ นิยายเรื่องนี้บอกว่า โนโบรุคือจอมโกหก คดโกง ถ้าลุงปล่อยเลยตามเลยไปก็ต้องบอกว่า “นายแน่มาก !” เลยทำให้ผมสงสัยว่า เรื่องสัญญาโอนสิทธิ์จะเป็นนิยายแบบเดียวกันหรือเปล่า ?

เมื่อถึงกำหนดคืนเงิน 120,000 ดอลล่าร์ในปี 2519 สมโพธิบินไปญี่ปุ่นเพื่อทวงถาม แต่โนโบรุกลับบอกสมโพธิว่าไม่มีเงิน (ไม่หนี ไม่จ่าย) แต่จะขอยกลิขสิทธิ์อุลตร้าแมนนอกประเทศญี่ปุ่นใช้หนี้แทน

สมัยนั้นกฏหมายคุ้มครองลิขสิทธิ์ยังไม่มีการบังคับใช้จริงจัง บทลงโทษก็แสนถูก ราคาลิขสิทธิ์อุลตร้าแมนจึงแทบไม่มีมูลค่าทางการค้าแต่อย่างใด เขาจึงอ้างว่า “จำใจรับข้อเสนอโนโบรุ”

เปรียบเหมือนได้ชำระหนี้เป็นกระดาษชำระติดมือกลับมาม้วนหนึ่ง...

ตอนที่ ๕ ใช้หนี้ด้วยกระดาษชำระ ?

สมโพธิอ้างว่าโนโบรุเดินทางมาหาเขาในปี 2513 หรือ 1970 (หน้า 65 ในหนังสือความลับของยอดมนุษย์ อุลตร้าแมน ซึ่งอันนี้ผมว่าแปลกเพราะฮาจิเมะยังดูแลธุรกิจอยู่จนถึงต้นปี 2516 หรือ 1973 และเวลานั้นโนโบรุยังไม่มีอำนาจตัดสินใจในการบริหารบริษัทฯ เว้นเสียแต่ว่าโนโบรุรับงานเจรจา “ลับเฉพาะ” จากพี่ชาย แต่ผมดูบุคคลิกและนิสัยของโนโบรุแล้ว ยากจะเชื่อว่าเขาจะมารับงานหนักหนาสาหัสแบบนี้ในเวลานั้น) โดยบอกกับเขาว่า “ซื้อตั๋วเครื่องบินมาเที่ยวเดียว ต้องการให้เขาช่วยเหลือ ไม่เช่นนั้นกลับญี่ปุ่นไม่ได้” ทั้งยังอยากจะขายบริษัทฯทิ้ง

ตนเองจึงหาทางช่วยเหลือ ด้วยการติดต่อคุณชูชีพ ปัญจะสังข์ ผู้นำเข้าภาพยนตร์ต่างประเทศช่วยซื้อภาพยนตร์อุลตร้าแมน 3 ชุด เป็นเงินราว 2 หมื่นดอลล่าร์ (สรอ) และตัวเองซื้อ 2 ชุดรวมเป็นเงิน 18,000 ดอลล่าร์ เลยทำให้โนโบรุมีเงินซื้อตั๋วเครื่องบินกลับบ้านพร้อมเงินสดติดมืออีก เกือบ 4 หมื่นดอลล่าร์

คนไทยก็เลยได้มีโอกาสชมอุลตร้าแมนและจัมโบ้เอทางทีวีเป็นครั้งแรก (จากหน้า 67) ซึ่งข้อความนี้ก็ไม่ถูกต้องเพราะอุลตร้าแมนมาฉายทางทีวีก่อนหน้านั้น (คือก่อน พ.ศ. 2513) โดยซื้อลิขสิทธิ์มาจากยูไนเต็ด อาร์ติส อเมริกา คนแก่ๆอย่างผมจำได้ว่าเพลงไตเติ้ลยอดมนุษย์นั้นเป็นภาษาฝรั่งและฉายวันพฤหัสตอนพลบค่ำครับ ส่วนตอนแรกน่าจะฉายในราวๆเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม พ.ศ. 2510




ภาพจากป๋าวรวุฒิ แฟนตัวจริงอุลตร้าแมนเนื้ออุ่นๆผู้ใจดี

ไหนๆก็พาย้อนยุคแล้ว...สำหรับการ์ตูนญี่ปุ่นอุลตร้าแมนในเมืองไทยนั้น ครั้งแรกตีพิมพ์ลงใน การ์ตูนเด็ก (ของคุณอา ไพบูลย์ วงศรี ปรมาจารย์ผู้บุกเบิกการ์ตูนญี่ปุ่นในไทยคนแรก) ฉบับที่ 7 แต่ยอดมนุษย์ของเราได้มาลงปกในเล่มต่อมา ( เล่ม 8 )

การ์ตูนเด็กฉบับปฐมฤกษ์วางขายเดือนมีนาคม ปี 2508 ดังนั้นเล่ม 7 ก็คงราวๆปลายปีเดียวกันหรือไม่ก็ต้นปี 2509 ครับ




ภาพจากป๋าสมบุญ (BOON) แฟนอุลตร้าแมนอีกคนผู้มากน้ำใจ (เฉพาะผู้หญิง)

ความสัมพันธ์ระหว่างสมโพธิกับโนโบรุพัฒนาไปด้วยดี จนกระทั่งสมโพธิเสนอจ้างซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ผลิตหนังโรง “ยักษ์วัดแจ้งพบจัมโบ้เอ” ในปี 2516 โดยเอาฟิล์มหนังทีวีจัมโบ้เอมาตัดต่อและถ่ายเพิ่มในโรงถ่ายซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ เพื่อลดต้นทุน หนังเรื่องนี้เดิมจะลงทุนโดยไชโยเป็นเงิน 2 หมื่นดอลล่าร์และบริษัทฮูหลงฟิล์มของไต้หวันร่วมลงทุนอีก 3 หมื่น รวมเป็น 5 หมื่นดอลล่าร์ แต่ก่อนถ่ายฮูหลงถอนตัวทำให้สมโพธิต้องลงทุนเองทั้งหมด ทางโนโบรุจึงลดราคาให้ 5 พัน

ยักษ์วัดแจ้งพบจัมโบ้เอ ออกฉายครั้งแรกในเมืองไทยเมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2517 ที่โรงหนังโคลีเซี่ยม ที่มีหุ่นจัมโบ้เอกับยักษ์วัดแจ้งตั้งอยู่หน้าโรง เด็กๆเต็มไปหมดทำผมหลงกับคนอื่นๆจนต้องนั่งรถเมล์กลับบ้านเอง







หลังถ่ายทำ สมโพธิฝากฟิล์มเนกาตีฟต้นฉบับเก็บไว้ที่ญี่ปุ่นเพราะเมืองไทยอากาศร้อน (ฟิล์มจะทำปฏิกิริยากับอากาศที่เรียกว่า อ๊อกซิเดชั่น คือลุกเป็นไฟ มิฉะนั้นต้องเก็บในห้องแอร์ 24 ชั่วโมงซึ่งจะแพงมาก) แต่สมโพธิอ้างว่าโนโบรุแอบเอาเนกาตีฟฟิล์มไปขายให้บริษัทฮูหลงในราคา 3 หมื่นดอลล่าร์เอาเงินเข้ากระเป๋าโดยไม่บอกสมโพธิ

แต่เพราะสำนึกในบุญคุณของเอยิ ซึบูราญ่า สมโพธิบอกว่าเขายังคงว่าจ้างซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ สร้างหนังโรงอีกเรื่องคือ “หนุมานพบเจ็ดยอดมนุษย์” เป็นเงิน 9 หมื่นดอลลาร์ โดยใช้ฟิล์มหนังทีวี 16 มม. บางส่วนของอุลตร้าแมนทาโร่มาขยายเป็นฟิล์ม 35 มม. แต่การถ่ายทำมีงบเกินเลยจนกลายเป็น 1 แสน 2 หมื่นดอลล่าร์






รูปนี้มีความหมายครับดูดีดี รูปนี้ถ่ายที่หน้าโรงหนังเฉลิมกรุง ตรงกลางรูปมีชายที่ยกมือขวาขึ้น นั่นคือ โนโบรุ ซึบูราญ่า และที่เขาอุ้มอยู่ในมือข้างซ้ายนั่นคือ พีระศิษฎ์ แสงเดือนฉาย อายุใกล้จะ 4 ขวบ กำลังยกมือซ้ายชูขึ้นเหมือนกัน

พีระศิษฎ์บอกว่ามือขวาเขากำเช็คที่ได้มาจากโรงหนังโดยมีมารดายืนอยู่ด้านข้างและพี่สาวอีก 2 คน (หน้า 91 หนังสือ อุลตร้าแมน เป็นของใคร)


หนังโรงเรื่อง “หนุมานพบเจ็ดยอดมนุษย์” ฉายวันแรกในไทยเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2517



ภาพจากป๋าวรวุฒิ แฟนอุลตร้าแมนผู้ใจดี

สมโพธิบอกว่าหนังทำรายได้ถล่มทลาย เจ็ดวันล้าน (หน้า 78 แต่หลักฐานโฆษณาในหนังสือพิมพ์ปี 2517 บอกว่า 9 วันล้าน ความทรงจำคนเรามันมักเลือนไปตามกาลเวลา) สมโพธิยังเคยเล่าเรื่องที่ต้องซื้อน้ำแข็งมากมายมาใช้ในโรงหนังเฉลิมกรุงเพราะต้องเสริมเก้าอี้มากมายทุกรอบ จนแอร์รับไม่ไหว...



ภาพจากป๋าวรวุฒิ แฟนอุลตร้าแมนผู้ใจดี

หนังเรื่อง หนุมานพบ 7 ยอดมนุษย์ กลายเป็นหนึ่งในภาพยนตร์ 25 เรื่อง ที่กระทรวงวัฒนธรรม เลือกให้เป็นมรดกของชาติเนื่องในวันอนุรักษ์ภาพยนตร์ไทย ประจำปี 2555 อันเป็นที่ถกเถียงกันพอควรในหลายๆเวป





พิริยะสาส์น ฉบับพิเศษ ราคา 5 บาท ขายดิบขายดีจนหมดทุกแผงสมัยนั้น

จากประสพการณ์ครั้งก่อน เนกาตีฟฟิล์มเรื่องนี้จึงถูกนำไปเก็บไว้ที่บริษัทโตเกียวแล็ปในนามของสมโพธิเอง

ข่าวความดังของหนุมานพบเจ็ดยอดมนุษย์ไปถึงฮ่องกง (ที่มีคนบ้าอุลตร้าแมนไม่แพ้เมืองไทย) ในปี 2518 เซอร์ รันรัน ชอว์ เจ้าของชอว์ บราเธอร์ เสนอซื้อสิทธิ์จัดจำหน่ายหนังเรื่องนี้ในเอเซียตะวันออกเป็นเวลา 7 ปีด้วยจำนวนเงิน 120,000 ดอลล่าร์

สมโพธิอ้างว่าติดงานถ่ายของไชโยจึงไหว้วานให้โนโบรุเดินทางไปส่งเนกาตีฟฟิล์มหนังหนุมานฯให้ชอว์บราเธอร์ที่ฮ่องกง (อีกแล้ว !) และโนโบรุเอ่ยปากขอยืมเงินจำนวน 120,000 ดอลล่าร์เป็นเวลา 1 ปี (นี่ก็เอาอีกแล้ว !) ซึ่งทางสมโพธิอ้างว่ามีรายได้จากหนัง 3 เรื่องก่อนคือ ท่าเตียน ยักษ์วัดแจ้งพบจัมโบ้เอ และ หนุมานพบเจ็ดยอดมนุษย์ มากมาย จึงเห็นว่าเงินเพียง 120,000 ดอลล่าร์ย่อมสามารถให้โนโบรุยืมไปใช้เพื่อทดแทนบุญคุณอาจารย์ได้

ทว่าก่อนโนโบรุเอาเนกาตีฟฟิล์มไปส่งให้ชอว์ บราเธอร์ สมโพธิบอกว่า โนโบรุกลับแอบเอาเนกาตีฟฟิล์มไปก็อปปี้และเอาไปขายไต้หวันได้เงินอีก 8 หมื่นดอลล่าร์เข้ากระเป๋าแล้วจึงเอาเอกสารอนุญาตฉายหนังในไต้หวันให้สมโพธิลงลายมือชื่อภายหลัง

เรื่องราวตรงนี้ผมว่ามันทะแม่งๆ สมโพธิโดนโกงครั้งก่อนแต่เขาก็ยังเชื่อใจให้โนโบรุโกงอีก 2 ครั้งติด เรื่องแรกคือขโมยก็อปเนกาตีฟ เรื่องสองคือเอาไปขายไต้หวันเอาเงินเข้ากระเป๋าและผิดสัญญากับชอว์ บราเธอร์ นิยายเรื่องนี้บอกว่า โนโบรุคือจอมโกหก คดโกง ถ้าลุงปล่อยเลยตามเลยไปก็ต้องบอกว่า “นายแน่มาก !” เลยทำให้ผมสงสัยว่า เรื่องสัญญาโอนสิทธิ์จะเป็นนิยายแบบเดียวกันหรือเปล่า ?

เมื่อถึงกำหนดคืนเงิน 120,000 ดอลล่าร์ในปี 2519 สมโพธิบินไปญี่ปุ่นเพื่อทวงถาม แต่โนโบรุกลับบอกสมโพธิว่าไม่มีเงิน (ไม่หนี ไม่จ่าย) แต่จะขอยกลิขสิทธิ์อุลตร้าแมนนอกประเทศญี่ปุ่นใช้หนี้แทน

สมัยนั้นกฏหมายคุ้มครองลิขสิทธิ์ยังไม่มีการบังคับใช้จริงจัง บทลงโทษก็แสนถูก ราคาลิขสิทธิ์อุลตร้าแมนจึงแทบไม่มีมูลค่าทางการค้าแต่อย่างใด เขาจึงอ้างว่า “จำใจรับข้อเสนอโนโบรุ”

เปรียบเหมือนได้ชำระหนี้เป็นกระดาษชำระติดมือกลับมาม้วนหนึ่ง...

ตอนที่ ๖ เหตุการณ์วันเซ็นต์สัญญา

คำกล่าวอ้างของสมโพธิในวันเซ็นต์สัญญากับโนโบรุนั้นเกิดขึ้นเมื่อเวลาราว 15:00 น. วันที่ 4 มีนาคม 2519 ที่บริษัทซึบูราญ่าเอ็นเตอร์ไพรส์ ที่อยู่ในเขตร็อปปองหงิ โตเกียว

โดยสมโพธิสังเกตุเห็นว่าในสัญญาพิมพ์ชื่อ Hanuman ผิดเป็น Haruman แต่โนโบรุบอกว่าไม่เป็นไร เป็นเรื่องเดียวกัน และโนโบรุเห็นว่าในสัญญามีแต่ชื่อของซึบูราญ่าเอ็นเตอร์ไพรซ์ ไม่มีระบุชื่อ ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ดักชั่น แทนที่จะพิมพ์ใหม่ โนโบรุกลับให้เติมแค่คำว่า “prod. and” ก็พอ

สัญญาระบุภาพยนตร์ทีวีซีรี่ส์ 7 เรื่อง ตั้งแต่ อุลตร้าคิว อุลตร้าแมน อุลตร้าเซเว่น รีเทิร์นออฟอุลตร้าแมน อุลตร้าแมนเอซ อุลตร้าแมนทาโร่ และ จัมโบ้ เอ อีกเรื่อง กับหนังโรงอีก 2 เรื่องคือ ยักษ์วัดแจ้งฯ กับ หนุมานฯ แต่ที่ไม่รวมอุลตร้าแมนเลโอ สมโพธิบอกในหนังสือว่า “เป็นเพราะช่วงที่ทำสัญญาปี 2519 ลิขสิทธิ์อุลตร้าแมนเลโอยังเป็นของสถานีโทรทัศน์ TBS อีก 3 ปีครึ่งจึงจะกลับมาเป็นของซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์” ดังนั้น เลโอ แอสตร้า และ คิงส์ จึงรอดปากเหยี่ยวปากกามาได้หวุดหวิด

โนโบรุลงลายมือชื่อเมื่อเวลา 17:00 น. โดยบอกว่าสัญญาฉบับนี้มอบเป็นของขวัญวันเกิดครบ 5 ขวบของพีระศิษฎ์ ลูกชายสมโพธิ ที่เกิดวันที่ 4 มีนาคม จากนั้นจึงนำตราสี่เหลี่ยม (ตราบริษัทซึบูราญ่า เอ็นเตอร์ไพรส์) และตราวงกลม (ตราประจำตัวโนโบรุ) ที่วางอยู่บนโต๊ะมาประทับบนสัญญา

สัญญาฉบับนี้ไม่ว่าจะจริงหรือจะปลอมก็ตาม เป็นมูลเหตุของการฟ้องร้องระหว่าง ไชโย กับ ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ที่กินเวลายาวนานเป็นสิบปี...

(ผมลงสี ลายมือชื่อของโนโบรุ ไฮไลท์คำว่า “prod. and” และตราประทับบริษัทซึบูราญ่า เอ็นเตอร์ไพรส์เป็นสีน้ำเงิน ส่วนตราประทับของโนโบรุป็นสีแดง เพื่อให้เห็นได้ชัดเจน)




ตอนที่ ๖ เหตุการณ์วันเซ็นต์สัญญา

คำกล่าวอ้างของสมโพธิในวันเซ็นต์สัญญากับโนโบรุนั้นเกิดขึ้นเมื่อเวลาราว 15:00 น. วันที่ 4 มีนาคม 2519 ที่บริษัทซึบูราญ่าเอ็นเตอร์ไพรส์ ที่อยู่ในเขตร็อปปองหงิ โตเกียว

โดยสมโพธิสังเกตุเห็นว่าในสัญญาพิมพ์ชื่อ Hanuman ผิดเป็น Haruman แต่โนโบรุบอกว่าไม่เป็นไร เป็นเรื่องเดียวกัน และโนโบรุเห็นว่าในสัญญามีแต่ชื่อของซึบูราญ่าเอ็นเตอร์ไพรซ์ ไม่มีระบุชื่อ ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ดักชั่น แทนที่จะพิมพ์ใหม่ โนโบรุกลับให้เติมแค่คำว่า “prod. and” ก็พอ

สัญญาระบุภาพยนตร์ทีวีซีรี่ส์ 7 เรื่อง ตั้งแต่ อุลตร้าคิว อุลตร้าแมน อุลตร้าเซเว่น รีเทิร์นออฟอุลตร้าแมน อุลตร้าแมนเอซ อุลตร้าแมนทาโร่ และ จัมโบ้ เอ อีกเรื่อง กับหนังโรงอีก 2 เรื่องคือ ยักษ์วัดแจ้งฯ กับ หนุมานฯ แต่ที่ไม่รวมอุลตร้าแมนเลโอ สมโพธิบอกในหนังสือว่า “เป็นเพราะช่วงที่ทำสัญญาปี 2519 ลิขสิทธิ์อุลตร้าแมนเลโอยังเป็นของสถานีโทรทัศน์ TBS อีก 3 ปีครึ่งจึงจะกลับมาเป็นของซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์” ดังนั้น เลโอ แอสตร้า และ คิงส์ จึงรอดปากเหยี่ยวปากกามาได้หวุดหวิด

โนโบรุลงลายมือชื่อเมื่อเวลา 17:00 น. โดยบอกว่าสัญญาฉบับนี้มอบเป็นของขวัญวันเกิดครบ 5 ขวบของพีระศิษฎ์ ลูกชายสมโพธิ ที่เกิดวันที่ 4 มีนาคม จากนั้นจึงนำตราสี่เหลี่ยม (ตราบริษัทซึบูราญ่า เอ็นเตอร์ไพรส์) และตราวงกลม (ตราประจำตัวโนโบรุ) ที่วางอยู่บนโต๊ะมาประทับบนสัญญา

สัญญาฉบับนี้ไม่ว่าจะจริงหรือจะปลอมก็ตาม เป็นมูลเหตุของการฟ้องร้องระหว่าง ไชโย กับ ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ที่กินเวลายาวนานเป็นสิบปี...

(ผมลงสี ลายมือชื่อของโนโบรุ ไฮไลท์คำว่า “prod. and” และตราประทับบริษัทซึบูราญ่า เอ็นเตอร์ไพรส์เป็นสีน้ำเงิน ส่วนตราประทับของโนโบรุป็นสีแดง เพื่อให้เห็นได้ชัดเจน)



ฉบับแปลไทย (แต่เวลาศาลพิจารณา จะดูจากต้นฉบับภาษาอังกฤษเป็นหลัก)



ฉบับแปลญี่ปุ่น




ฉบับแปลไทย (แต่เวลาศาลพิจารณา จะดูจากต้นฉบับภาษาอังกฤษเป็นหลัก)



ฉบับแปลญี่ปุ่น



ตอนที่ ๗ ความสัมพันธ์ที่ดีก่อนโนโบรุจะเสียชีวิต

ปี 2522 (1979) เศรษฐกิจในญี่ปุ่นเริ่มกระเตื้อง โนโบรุวางแผนออกอุลตร้าแมน 80 จึงคิดจะโปรโมทอุลตร้าแมนทางอ้อมโดยการเอาหนังโรงเรื่อง หนุมานพบเจ็ดยอดมนุษย์ ไปฉายในญี่ปุ่น โดยจ่ายเงินให้สมโพธิ 5 ล้านเยน (สมัยนั้น 100 เยน เท่ากับ 10 บาท ดังนั้น 5 ล้านเยนคือ 5 แสนบาท) แต่หนังเรื่องนี้ทำเงินถึง 60 ล้านบาท (60 ล้านบาทสมัยปี 2522 มันมหาศาลเชียวครับ...ไม่น่าเชื่อ) ตามที่สมโพธิอ้างว่าโนโบรุเล่าให้ฟัง สถานการณ์ของซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ จึงดีขึ้นทันตา

เรื่องหนุมานพบเจ็ดยอดมนุษย์ ฉายในประเทศญี่ปุ่นใช้ชื่อว่า ウルトラ6兄弟VS怪獣軍団 (urutora 6 kyoudai VS kaijuu gundan) หรือ “6 พี่น้องอุลตร้าปะทะกองทัพสัตว์ประหลาด (เขาไม่นับเจ้าแม่อุลตร้าเป็นหนึ่งในพี่น้องอุลตร้าครับ)” วันที่ 17 มีนาคม 2522 โดยเอาไปพากย์ภาษาญี่ปุ่นและเปลี่ยนเพลงธีมเป็น ぼくらのウルトラマン Bokura no urutoraman หรือ “อุลตร้าแมนของพวกเรา” ที่สำคัญคือ โนโบรุ แต่งเพลงนี้เอง (แกเป็นนักแต่งเพลง นักร้อง อีกด้วยแต่จะเขียนชื่อว่า 谷のぼる ออกเสียงว่า โนโบรุ ซึบูราญ่าเหมือนกัน)



ถ้าดูในใบปิดโปรโมทหนังจะเห็นทาโร่ยืนเด่นโดยมีหนุมานซ่อนด้านหลังและอีกแบบวางไว้มุมล่างซ้าย ทั้งนี้หนุมาน (ハヌマーン) ไม่ได้เป็นตัวสำคัญของการโปรโมทหนังตอนที่ฉายในญี่ปุ่นเลยครับ





ปัจจุบันภาพยนตร์ชุดนี้มีแค่วิดีเทปและเลเซอร์ดิสค์ที่ยังพอหาได้ในญี่ปุ่นเท่านั้น ยังไม่มีดีวีดีออกมาเพราะปัญหากรณีฟ้องร้อง คงมีแต่ดีวีดีของไชโยที่พากย์ไทยเท่านั้น





เอซ “จัดการเจ้าตัวจิ๋วยังไงกันดี...เหล่าพี่น้องอุลตร้า”

ต่อมาในปี 2527 (1984) ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ทำหนังโรงเรื่อง ウルトラマンZOFFY ウルトラの戦士VS大怪獣軍団 “อุลตร้าแมนโซฟี่ อัศวินอุลตร้าปะทะกองทัพสัตว์ประหลาด” โดยเอาฟิล์มหนังทีวี 16 มม. มาโบลล์เป็น 35 มม. ตัดต่อกับฉากที่ถ่ายใหม่เพียงเล็กน้อย โดยออกฉายวันแรกวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2527




โนโบรุได้ติดต่อให้สมโพธิไปรับฟิล์มหนังเรื่องนี้ที่โตเกียวโดยสมโพธิจ้ายค่าวัสดุให้ 18,000 ดอลล่าร์ (เกือบ 4 แสนบาทขณะนั้น) โดยสมโพธิเอาฟิล์มไปตัดต่อเข้ากับหนัง “หนุมานพบเจ็ดยอดมนุษย์” กลายเป็น “หนุมานพบสิบเอ็ดยอดมนุษย์” เอาไปฉายไนไทยและไต้หวัน แต่ไม่ได้รับความนิยมเท่าที่ควร คงเป็นเพราะเป็นหนังเก่าคนดูรู้เรื่องราวหมดแล้ว

มีใครทราบบ้างว่าอุลตร้าแมนอีก 4 ตัวที่เพิ่มเข้าไปในหนังมีใครบ้าง (แต่อุลตร้าแมนแจ็คใส่เขาในโปสเตอร์ไม่มีแน่นอน)



หนุมานพบ 11 ยอดมนุษย์ (ใช้ชื่อฝรั่งว่า Space Warriors 2000) ทางเจ้าของคือ ไชโยซิตี้ สตูดิโอ ได้บริจาคกรรมสิทธิ์และลิขสิทธิ์ภาพยนตร์ให้กับหอภาพยนตร์ในปี 2555 ครับ

ตอนที่ ๗ ความสัมพันธ์ที่ดีก่อนโนโบรุจะเสียชีวิต

ปี 2522 (1979) เศรษฐกิจในญี่ปุ่นเริ่มกระเตื้อง โนโบรุวางแผนออกอุลตร้าแมน 80 จึงคิดจะโปรโมทอุลตร้าแมนทางอ้อมโดยการเอาหนังโรงเรื่อง หนุมานพบเจ็ดยอดมนุษย์ ไปฉายในญี่ปุ่น โดยจ่ายเงินให้สมโพธิ 5 ล้านเยน (สมัยนั้น 100 เยน เท่ากับ 10 บาท ดังนั้น 5 ล้านเยนคือ 5 แสนบาท) แต่หนังเรื่องนี้ทำเงินถึง 60 ล้านบาท (60 ล้านบาทสมัยปี 2522 มันมหาศาลเชียวครับ...ไม่น่าเชื่อ) ตามที่สมโพธิอ้างว่าโนโบรุเล่าให้ฟัง สถานการณ์ของซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ จึงดีขึ้นทันตา

เรื่องหนุมานพบเจ็ดยอดมนุษย์ ฉายในประเทศญี่ปุ่นใช้ชื่อว่า ウルトラ6兄弟VS怪獣軍団 (urutora 6 kyoudai VS kaijuu gundan) หรือ “6 พี่น้องอุลตร้าปะทะกองทัพสัตว์ประหลาด (เขาไม่นับเจ้าแม่อุลตร้าเป็นหนึ่งในพี่น้องอุลตร้าครับ)” วันที่ 17 มีนาคม 2522 โดยเอาไปพากย์ภาษาญี่ปุ่นและเปลี่ยนเพลงธีมเป็น ぼくらのウルトラマン Bokura no urutoraman หรือ “อุลตร้าแมนของพวกเรา” ที่สำคัญคือ โนโบรุ แต่งเพลงนี้เอง (แกเป็นนักแต่งเพลง นักร้อง อีกด้วยแต่จะเขียนชื่อว่า 谷のぼる ออกเสียงว่า โนโบรุ ซึบูราญ่าเหมือนกัน)



ถ้าดูในใบปิดโปรโมทหนังจะเห็นทาโร่ยืนเด่นโดยมีหนุมานซ่อนด้านหลังและอีกแบบวางไว้มุมล่างซ้าย ทั้งนี้หนุมาน (ハヌマーン) ไม่ได้เป็นตัวสำคัญของการโปรโมทหนังตอนที่ฉายในญี่ปุ่นเลยครับ





ปัจจุบันภาพยนตร์ชุดนี้มีแค่วิดีเทปและเลเซอร์ดิสค์ที่ยังพอหาได้ในญี่ปุ่นเท่านั้น ยังไม่มีดีวีดีออกมาเพราะปัญหากรณีฟ้องร้อง คงมีแต่ดีวีดีของไชโยที่พากย์ไทยเท่านั้น





เอซ “จัดการเจ้าตัวจิ๋วยังไงกันดี...เหล่าพี่น้องอุลตร้า”

ต่อมาในปี 2527 (1984) ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ทำหนังโรงเรื่อง ウルトラマンZOFFY ウルトラの戦士VS大怪獣軍団 “อุลตร้าแมนโซฟี่ อัศวินอุลตร้าปะทะกองทัพสัตว์ประหลาด” โดยเอาฟิล์มหนังทีวี 16 มม. มาโบลล์เป็น 35 มม. ตัดต่อกับฉากที่ถ่ายใหม่เพียงเล็กน้อย โดยออกฉายวันแรกวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2527




โนโบรุได้ติดต่อให้สมโพธิไปรับฟิล์มหนังเรื่องนี้ที่โตเกียวโดยสมโพธิจ้ายค่าวัสดุให้ 18,000 ดอลล่าร์ (เกือบ 4 แสนบาทขณะนั้น) โดยสมโพธิเอาฟิล์มไปตัดต่อเข้ากับหนัง “หนุมานพบเจ็ดยอดมนุษย์” กลายเป็น “หนุมานพบสิบเอ็ดยอดมนุษย์” เอาไปฉายไนไทยและไต้หวัน แต่ไม่ได้รับความนิยมเท่าที่ควร คงเป็นเพราะเป็นหนังเก่าคนดูรู้เรื่องราวหมดแล้ว

มีใครทราบบ้างว่าอุลตร้าแมนอีก 4 ตัวที่เพิ่มเข้าไปในหนังมีใครบ้าง (แต่อุลตร้าแมนแจ็คใส่เขาในโปสเตอร์ไม่มีแน่นอน)



หนุมานพบ 11 ยอดมนุษย์ (ใช้ชื่อฝรั่งว่า Space Warriors 2000) ทางเจ้าของคือ ไชโยซิตี้ สตูดิโอ ได้บริจาคกรรมสิทธิ์และลิขสิทธิ์ภาพยนตร์ให้กับหอภาพยนตร์ในปี 2555 ครับ

หนังเรื่อง หนุมานพบ 11 ยอดมนุษย์ เอาไปฉายทางฝั่งตะวันตกโดยมีการตัดต่อและถ่ายเพิ่มโดยใช้ตัวละครฝรั่ง เพราะจะเอาเนื้อเรื่องแบบไทยๆไปขายที่โน่นคงไม่มีใครดู

เนื้อเรื่องกลายเป็นฟิกเกอร์อุลตร้าแมนที่พ่อซื้อมาให้ลูกชายในวันเกิดเป็นคนเล่าเรื่อง (ในความฝันของเด็ก) โดยเอาฉากการต่อสู้ของเหล่าอุลตร้าแมนกับสัตว์ประหลาดเก่าๆมาใส่ จนปิดท้ายด้วยเรื่องโจร 3 คนขโมยตัดเศียรพระเป็นเหตุให้พระอาทิตย์เข้ามาใกล้โลก หนุมานปรากฏตัวจัดการกับกับขโมยแต่โดนสัตว์ประหลาด 5 ตัวจัดการอยู่หมัด ก่อนที่พี่น้องอุลตร้าทั้ง 6 จะมาช่วยพิชิตสัตว์ประหลาดจนชนะในที่สุด พอเด็กตื่นขึ้นมาก็เห็นฟิกเกอร์อุลตร้าแมนเหาะออกไปทางหน้าต่าง

หนังเรื่องนี้เข้าใจว่าไปฉายทางทีวีในปี 1985 (2528) ใช้ชื่อว่า Space Warriors 2000: The Year of the Monkey Wrench โดยมีชื่อ Sompote Sands (แกจะใช้ชื่อนี้เสมอในประเทศฝั่งตะวันตก) เป็นผู้กำกับ (ต้นฉบับ) และ Marc Smith เป็นผู้กำกับฉบับดัดแปลง (เขียนในหนังว่า Accidental คือ โดยอุบัติเหตุ หรือ ไม่ได้ตั้งใจ)



ที่น่าขันคือไตเติ้ลเรื่องนี้ระบุว่ามี อุลตร้าแมน 11 ตัว ใช้ชื่อ อุลตร้าแมน 1 2 3 ไปเรื่อยๆจนถึง 11 และ หนุมาน แถมมีชื่อ “มอธร่า” และ “ก็อตเซลด้า” ซึ่งไม่ปรากฏในหนัง (ทั้ง ก็อตซิลล่า หรือ เจ้าหญิงเซลด้า)  และ ให้เครดิต “Whole cast of Japanese stuntmen whose names we could not read! “ หรือ “ทีมสตั้นแมนญี่ปุ่นทุกคน ที่เราอ่านชื่อไม่ออก”

หวังว่าโปรเจ็คอุลตร้าแมนโกฮอลลีวูด (ถ้าได้เกิด) จะไม่ออกมาห่วยๆแบบนี้นะครับ


อ่านต่อคลิกที่นี่เลย<noembed /></a></p> </body></body>




 

Create Date : 26 พฤษภาคม 2556   
Last Update : 26 พฤษภาคม 2556 13:52:58 น.   
Counter : 6422 Pageviews.  


มหากาพย์อุลตร้าแมน ตอนที่1/6 (ไม่ได้เขียนเอง Credit Henshin Club)

ผมเห็นว่าบทความนี้เป็นเรื่องของประวัติศาสตร์วงการฮีโร่ที่สำคัญ เลยขออนุญาตก๊อปของBlogของตัวเอง ขอให้CREDIT HENSHIN CLUB และคุณBooska ผู้เขียนมา ณ ที่นี้ด้วยครับ คนที่มีฮีโร่เป็นแรงบันดาลใจให้หลายๆอย่างในชีวิต original link //henshinclub.com/index.php?topic=427.0v

ตอนที่ ๑ ปฐมบทปมลิขสิทธิ์ “อุลตร้าแมน” เจ้าปัญหา

สำหรับคนที่ติดตามคดีความ “อุลตร้าแมน” แบบกระเซ็นกระสายคงออกอาการตกใจหรืองงงวยไม่น้อยเมื่อได้เห็นข่าวอุลตร้าแมนโกฮอลลีวูด และชวนให้มีคำถามตัวโตๆว่า “ตกลง ไชโยฯ ชนะคดี (อีก) แล้วหรือ” หรือว่า “อุลตร้าแมนจะกลับมาเป็นของไชโยฯอีก” ตกลงแล้วใครกันแน่ที่เป็นเจ้าของยอดมนุษย์อุลตร้าแมน

เหมือนกับที่คุณพีระศิษฎ์ แสงเดือนฉาย (คุณท็อป) ผู้เป็นลูกชายลุงสมโพธิ ต้องออกหนังสือเล่มเล็กเรื่อง “อุลตร้าแมน เป็นของใคร” เมื่อปลายปี 2550 เพราะทุกครั้งที่ใครเจอหน้าเป็นต้องถามประโยคนี้ แกเลยออกหนังสือเล่มเล็กเอาไว้ตอบ แทนที่จะต้องเล่าเรื่องเดิมๆจนเบื่อหน่าย



แต่อ่านจบแล้ว ก็ยังไม่ได้ตอบโจทย์ว่า อุลตร้าแมนเป็นของใคร แค่อยากให้ยอดมนุษย์เป็นของทุกคน ไม่ต้องมีคัลเลอร์ไทม์เมอร์ไว้เตือนทุก 3 นาที

คนเชียร์ไชโยฯหลายคนก็อาจเพราะอยากดูโปรเจ็คอุลตร้าแมนที่มีคลิ๊ปโปรโมทหนังเหลือให้ได้ดูอยู่ในยูทูป บ้างก็คลั่งความเป็นไทยโดยไม่ได้ศึกษาเรื่องราว เหมือนปลากระดี่ได้น้ำ ออกมาโพสต์ดีใจกันยกใหญ่

พวกที่ไม่สนใจจะหาความรู้ถึงเรื่องจริงและความเป็นมา กลับมีจำนวนมากที่สุดและพวกนี้ก็เที่ยวโพสต์ความเห็นกันเต็มไปหมดตามเวปต่างๆ

เท่าที่ผมเคยคุยด้วยก็เห็นจะมีอยู่ไม่กี่คนเคยเห็นเคยอ่านสัญญาโอนสิทธิ์ฉบับดังกล่าว ที่เหลือต่างพากันโพสต์เรื่องอย่างสนุกสนาน

บางพวกก็ชอบตั้งทฤษฎีเองโดยตั้งธงแล้วก็จับแพะมาชนแกะสรุปว่ามันเป็นยังโง้น ยังงี้ ใครเห็นต่างก็ยกเอาพุทธภาษิตมาอ้างแบบลมๆแล้งๆ แต่หารู้ไม่ว่าเวลาชี้คนอื่นว่าโง่ มันยังมีอีก 3 นิ้วที่ชี้ใส่ตัวเองเต็มๆเลย

ผมเองก็พอเข้าใจว่าทำไมคุณสมโพธิและบริษัทไชโย (เดิมเรียกให้สับสนว่าซึบูราญ่าไชโย) จึงเป็นที่จงเกลียดจงชังจากเหล่าสาวกยอดมนุษย์ทั้งในและนอกประเทศไทย ทั้งที่คนไทยด้วยกันน่าถือข้างคนไทย แต่การกระทำแบบรุนแรงไม่ไว้หน้าอินทร์หน้าพรหมกับเหล่าผู้ค้าขายที่เป็นสุจริตชนในช่วงที่ไชโยฯชนะคดีตลอด 7 ปีกว่านั้น หลายๆคนรับไม่ได้และยังกินใจมาจนถึงปัจจุบัน

ทั้งหนังเก่าหนังใหม่ก็หาดูกันไม่ได้ทั่วโลกนอกจากญี่ปุ่น บ้านเราต้องทนนั่งดูวีซีดีคุนภาพห่วย ในขณะที่แผ่นดีวีดีหาได้แต่ในญี่ปุ่น หรือไม่ก็ต้องซื้อของก็อปกันในเน็ตโดยไม่มีทั้งเสียงหรือบรรยายไทย

มันก็เลยบั่นทอนภาพพจน์ของอุลตร้าแมนไปเสียทุกวันๆตลอดสิบกว่าปีที่ผ่านมา

แถมชาวต่างชาติก็ยังมาปรามาสว่า “คนไทยขี้โกง” เสียชื่อกันไปทั้งประเทศ

บางทีการผูกมิตรย่อมดีกว่าการสร้างศัตรูเป็นไหนๆ เพราะหลายๆครั้งเงินที่มีมันซื้อหาความรู้สึกดีๆไม่ได้เลย

และนี่คือหน้าตาของสัญญาเจ้าปัญหา..ที่มีเรื่องมีราวกัน 30 กว่าปีครับ




ตอนที่ ๒ ต้นแบบอุลตร้าแมน...จริงหรือหลอก?

สมโพธิมักยืนยันว่าอุลตร้าแมนเป็นของคนไทย ต้นแบบของอุลตร้าแมนถอดเอามาจากพระพักตร์ของพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย โดยใช้แค่รูปถ่ายใบเดียวเล่าเรื่องราวเป็นตุเป็นตะว่า...

...ผมนำภาพของพระพุทธรูปจากสุโขทัยไปให้อาจารย์เอยิ ซึบูราญ่า 円谷英二 ดูจำนวน 3 องค์ คือ พระปางลีลาจากวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พระปางห้ามญาติจากวัดตะพานหิน และ พระอัฏฐารส ปางเปิดโลก ทันทีที่อาจารย์เห็นภาพถ่ายพระพักต์ของพระพุทธรูป ท่านถึงกับเก็บอาการชมชอบเอาไว้ไม่อยู่ มิหนำซ้ำยังกำชับว่าอย่าได้แพร่งพรายเรื่องนี้ออกไปเพราะกลัวถูกขโมยความคิด





ผมและอาจารย์ปรึกษากันอยู่หลายครั้งที่จะสร้างวีรบุรุษคนใหม่จนมาตกผลึกดีแล้ว จึงให้ โทรุ นาริตะ 成田亨 เป็นผู้ออกแบบ

ท่าไม้ตายปล่อยแสง อาจารย์เอยิประยุกต์มาจากคำอธิบายของผม ท่าที่ยกมือมาไขว้กันเวลาปล่อยแสง หมายถึงการรวมพลังบวกจากด้านซ้าย และพลังลบจากด้านขวา…

หมายเหตุ จากหนังสือ “ความลับของยอดมนุษย์ อุลตร้าแมน” หน้า 45-55



สมโพธิเดินทางกลับไทยเมื่อเดือนธันวาคม 2506 ส่วนอุลตร้าแมนออกฉายที่ญี่ปุ่นครั้งแรกเมื่อเดือนกรกฎาคม 2509

ดังนั้นต้องลองพิจารณาดูกันเองว่า อุลตร้าแมน ออกแบบมาจากพระพุทธรูปสุโขทัยจริงอย่างที่สมโพธิอ้างหรือไม่

ทีนี้ลองมาดูพัฒนาการของแบบร่างอุลตร้าแมน จนมาเป็นตัวเป็นๆที่เรารู้จักกันในปัจจุบัน

งานต้นฉบับของ โทรุ นาริตะ

เริ่มต้นจาก Bemlar เป็นคอนเซ็ปดั้งเดิมของเรื่องอุลตร้าแมน มีหน้าตาเหมือน มนุษย์วิหค ที่บ้านเราเรียกว่า ครุฑ แต่แบบร่างนี้ถูกยกเลิกไป



ลิขสิทธิ์แบบร่างของ Bemlar ถูกขายต่อให้บริษัท Nikkatsu ไปทำหนังโรงสัตว์ประหลาดเรื่อง 大巨獣ガッパ Daikyojū Gappa  หรือ "Giant Beast Gappa" ในปี 1967



ภาพชุดต่อมาเป็นพัฒนาการที่เรียกว่า Redman 3 รุ่น (จากซ้าย) แล้วจึงพัฒนามาเป็น อุลตร้าแมน (3 รูปขวา)





โทรุ นาริตะ แกเขียนชื่อตัวเองเป็นภาษาอังกฤษว่า TOHL NARITA เป็นสุดยอดนักออกแบบเอเลี่ยนและมอนสเตอร์หาตัวจับยากของญี่ปุ่นแต่ทว่าแกเป็นคนหัวแข็ง หลังถ่ายทำอุลตร้าเซเว่นไปจวนจะจบเรื่อง แกลาออกจากซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ โทรุแกบอกว่าถ้าจะให้แกออกแบบแกขอส่วนแบ่ง 30 เปอร์เซ็นต์ในสิทธิของเอเลี่ยนหรือมอนสเตอร์ที่แกออกแบบ ไม่ใช่ให้สิทธิ์ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ไปเลยเหมือนก่อน ทายาทรุ่นหลังเอยิแกไม่ยอม งานอุลตร้าแมนและสัตว์ประหลาดหลังเซเว่นเลยไม่สุดยอดเหมือนเดิม



แกเขียนตำหนิซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ เรื่องเอาอุลตร้าแมนฉบับของแกมาเติมเส้นเล็กและเปลี่ยนเป็นนุ่งกางเกงใน รวมทั้งเอาอุลตร้าแมนและเซเว่นมาใส่เขา และเปลี่ยนอุลตร้าแมนเป็น อนิเมะ (โจเนียส) ที่แกบอกว่า “รับไม่ได้”
แกแวะเวียนมาหาลุงสมโพธิบ่อยๆก่อนเสียชีวิตเมื่อต้นปี 2545 (2002) แต่แกไม่เคยบอกเลยสักครั้งว่าแบบอุลตร้าแมนนั้นได้รับแรงบันดาลใจจากพระพุทธรูปสุโขทัยที่ลุงเอารูปไปโชว์ให้อาจารย์เอยิดูตามที่อ้างเป็นแผ่นเสียงตกร่อง



ตอนที่ ๒ ต้นแบบอุลตร้าแมน...จริงหรือหลอก?

สมโพธิมักยืนยันว่าอุลตร้าแมนเป็นของคนไทย ต้นแบบของอุลตร้าแมนถอดเอามาจากพระพักตร์ของพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย โดยใช้แค่รูปถ่ายใบเดียวเล่าเรื่องราวเป็นตุเป็นตะว่า...

...ผมนำภาพของพระพุทธรูปจากสุโขทัยไปให้อาจารย์เอยิ ซึบูราญ่า 円谷英二 ดูจำนวน 3 องค์ คือ พระปางลีลาจากวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พระปางห้ามญาติจากวัดตะพานหิน และ พระอัฏฐารส ปางเปิดโลก ทันทีที่อาจารย์เห็นภาพถ่ายพระพักต์ของพระพุทธรูป ท่านถึงกับเก็บอาการชมชอบเอาไว้ไม่อยู่ มิหนำซ้ำยังกำชับว่าอย่าได้แพร่งพรายเรื่องนี้ออกไปเพราะกลัวถูกขโมยความคิด





ผมและอาจารย์ปรึกษากันอยู่หลายครั้งที่จะสร้างวีรบุรุษคนใหม่จนมาตกผลึกดีแล้ว จึงให้ โทรุ นาริตะ 成田亨 เป็นผู้ออกแบบ

ท่าไม้ตายปล่อยแสง อาจารย์เอยิประยุกต์มาจากคำอธิบายของผม ท่าที่ยกมือมาไขว้กันเวลาปล่อยแสง หมายถึงการรวมพลังบวกจากด้านซ้าย และพลังลบจากด้านขวา…

หมายเหตุ จากหนังสือ “ความลับของยอดมนุษย์ อุลตร้าแมน” หน้า 45-55



สมโพธิเดินทางกลับไทยเมื่อเดือนธันวาคม 2506 ส่วนอุลตร้าแมนออกฉายที่ญี่ปุ่นครั้งแรกเมื่อเดือนกรกฎาคม 2509

ดังนั้นต้องลองพิจารณาดูกันเองว่า อุลตร้าแมน ออกแบบมาจากพระพุทธรูปสุโขทัยจริงอย่างที่สมโพธิอ้างหรือไม่

ทีนี้ลองมาดูพัฒนาการของแบบร่างอุลตร้าแมน จนมาเป็นตัวเป็นๆที่เรารู้จักกันในปัจจุบัน

งานต้นฉบับของ โทรุ นาริตะ

เริ่มต้นจาก Bemlar เป็นคอนเซ็ปดั้งเดิมของเรื่องอุลตร้าแมน มีหน้าตาเหมือน มนุษย์วิหค ที่บ้านเราเรียกว่า ครุฑ แต่แบบร่างนี้ถูกยกเลิกไป



ลิขสิทธิ์แบบร่างของ Bemlar ถูกขายต่อให้บริษัท Nikkatsu ไปทำหนังโรงสัตว์ประหลาดเรื่อง 大巨獣ガッパ Daikyojū Gappa  หรือ "Giant Beast Gappa" ในปี 1967



ภาพชุดต่อมาเป็นพัฒนาการที่เรียกว่า Redman 3 รุ่น (จากซ้าย) แล้วจึงพัฒนามาเป็น อุลตร้าแมน (3 รูปขวา)





โทรุ นาริตะ แกเขียนชื่อตัวเองเป็นภาษาอังกฤษว่า TOHL NARITA เป็นสุดยอดนักออกแบบเอเลี่ยนและมอนสเตอร์หาตัวจับยากของญี่ปุ่นแต่ทว่าแกเป็นคนหัวแข็ง หลังถ่ายทำอุลตร้าเซเว่นไปจวนจะจบเรื่อง แกลาออกจากซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ โทรุแกบอกว่าถ้าจะให้แกออกแบบแกขอส่วนแบ่ง 30 เปอร์เซ็นต์ในสิทธิของเอเลี่ยนหรือมอนสเตอร์ที่แกออกแบบ ไม่ใช่ให้สิทธิ์ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ไปเลยเหมือนก่อน ทายาทรุ่นหลังเอยิแกไม่ยอม งานอุลตร้าแมนและสัตว์ประหลาดหลังเซเว่นเลยไม่สุดยอดเหมือนเดิม



แกเขียนตำหนิซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ เรื่องเอาอุลตร้าแมนฉบับของแกมาเติมเส้นเล็กและเปลี่ยนเป็นนุ่งกางเกงใน รวมทั้งเอาอุลตร้าแมนและเซเว่นมาใส่เขา และเปลี่ยนอุลตร้าแมนเป็น อนิเมะ (โจเนียส) ที่แกบอกว่า “รับไม่ได้”
แกแวะเวียนมาหาลุงสมโพธิบ่อยๆก่อนเสียชีวิตเมื่อต้นปี 2545 (2002) แต่แกไม่เคยบอกเลยสักครั้งว่าแบบอุลตร้าแมนนั้นได้รับแรงบันดาลใจจากพระพุทธรูปสุโขทัยที่ลุงเอารูปไปโชว์ให้อาจารย์เอยิดูตามที่อ้างเป็นแผ่นเสียงตกร่อง



ตอนที่ ๓ ประวัติของลุงสมโพธิและคำบอกเล่าพิศวงที่เกี่ยวกับ ยอดมนุษย์

ประวัติคร่าวๆของลุงสมโพธิและบริษัทไชโย (รวบรวมมาจากหนังสือพิมพ์ธรรมลีลา ฉบับที่ 72 พ.ย. 2549 โดย จินดาวรรณ บทสัมภาษณ์ส่วนตัว และ หน้งสือ ความลับของยอดมนุษย์ อุลตร้าแมน) มีดังนี้ครับ

สมโพธิสนใจการถ่ายภาพมาตั้งแต่สมัยเป็นนักเรียน มีผลงานภาพถ่ายลงในหนังสือชัยพฤกษ์ และวิทยาสาร ติดต่อกันหลายปี จนกระทั่งจบการศึกษาจากวิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพ ในสาขาวิชาช่างภาพ และได้เข้าทำงานที่กองการโฆษณา ธนาคารออมสิน ในตำแหน่งเป็นช่างถ่ายภาพยนตร์ ที่กองการโฆษณา ธนาคารออมสิน สาขาราชดำเนิน ทำให้มีโอกาสได้ทุนจากธนาคารออมสิน กับธนาคารมิตซุยไปศึกษาต่อที่ญี่ปุ่นเมื่อพ.ศ. 2505 ขณะนั้นมีอายุเพียง 20 ปี ได้ไปฝึกงานกับบริษัทโตโฮเรื่องการทำสเปเชียลเอฟเฟค ในช่วงนั้นกำลังมีการถ่ายทำเรื่อง “คิงคองปะทะก็อตซิลล่า” และได้มีโอกาสพบปรมาจารย์หนังไซไฟญี่ปุ่น อจ. เอยิ ซึบูราญ่า ที่ต่อมาเป็นผู้ก่อตั้งบริษัทซึบูราญ่า โปรดักชั่น และ โทรุ นาริตะ นักดีไซน์เนอร์




ข้อความที่เอยิเขียนให้สมโพธิเป็นภาษาญี่ปุ่นว่า “สมโพธิคุง กัมบาเระ (1962 หรือ ปี 2505)” แปลว่า “พยายามเข้านะ คุณสมโพธิ”

เมื่อเรียนจบเขาก็กลับมาทำงานที่ธนาคารออมสิน ก่อนจะลาออกมาลงทุนสร้างภาพยนตร์ทีวีตามใจหวัง เรื่องแรกเรื่องไกรทอง ด้วยวัยเพียง 23 ปี ทำให้เขาเป็นผู้สร้างภาพยนตร์ที่มีอายุน้อยที่สุดในขณะนั้น และ 3 ปีต่อมาเขาก็เบนเข็มไปสร้างภาพยนตร์เพื่อฉายตามโรงหนัง โดยมี “ท่าเตียน” เป็นหนังเรื่องแรก และหนังทุกเรื่องต่อมาของไชโยจะใช้ชื่อลูกชายของลุงสมโพธิ (พีระศิษฎ์) เป็นผู้กำกับ



บริษัทไชโย ภาพยนตร์ นั้นเป็นชื่อที่หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมทย์ อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 13 ของไทยตั้งให้ ท่านบอกว่าชื่อ บริษัทไชโย แปลว่าผู้ชนะ คือชนะทุกสิ่งทุกอย่างในโลก



สมโพธิและ “ยอดมนุษย์”

ในมุมมองของสมโพธิ ตัวเอกของเรื่องก็ไม่ควรจะเป็นสัตว์ประหลาด แต่น่าจะนำคนมาสวมบทพระเอกผู้ปราบอธรรมมากกว่า ดังนั้นต่อมาในปี 2506 สมโพธิจึงเสนอไอเดียกับอาจารย์เอยิ ว่าเขาจะหาคาแร็คเตอร์ของพระเอกที่เป็นมนุษย์มาปราบคิงคองและก็อตซิลล่า และสร้างเป็นภาพยนตร์ทีวี นี่เองจึงเป็นที่มาของ ‘อุลตร้าแมน’ ยอดมนุษย์ขวัญใจเด็กๆ ตัวแรก ของญี่ปุ่นที่ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี 2509

...ชื่อ “ยอดมนุษย์” นี่ผมเป็นคนตั้งเอง คือจริงๆแล้วพระพุทธเจ้าท่านก็เป็นมนุษย์ แต่ท่านสั่งสมความดีจนสามารถ ตรัสรู้ธรรม ท่านจึงเป็นยอดแห่งมนุษย์ แรงบันดาลใจเกิด จากตรงนี้ ผมจึงนำภาพถ่ายพระพุทธรูป 3 องค์ ไปให้อาจารย์เอยิดู ซึ่งเป็นพระพุทธรูปสมัยสุโขทัยและอยู่ในจังหวัดสุโขทัยทั้ง 3 องค์ คือพระปางลีลา จากวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พระปางห้ามญาติ วัดสะพานหิน และพระอัฏฐารส ปางเปิดโลก ซึ่งอาจารย์เห็นแล้วชอบมาก ท่านจึงให้นำพระพุทธรูปดังกล่าวมาเป็นต้นแบบในการร่างคาแร็กเตอร์ของยอดมนุษย์ โดยมีโทรุ นาริตะ เป็นผู้เขียน แบบตามที่ผมบอก

นอกจากนั้นอาจารย์เอยิยังสังเกตเห็นว่าพระพุทธรูปทั้ง 3 องค์มีท่าทางไม่เหมือนกัน ผมก็อธิบายว่านี่คือปางต่างๆของพระพุทธรูป เช่น ปางห้ามญาติ ปางเปิดโลก แต่ละปาง ก็มีพุทธานุภาพไม่เหมือนกัน อาจารย์ก็รู้สึกทึ่ง และบอกว่า น่าจะนำท่าทางเหล่านี้มาดีไซน์เป็นท่าไม้ตายในการปราบสัตว์ประหลาด จนสุดท้ายก็ออกมาเป็นท่าปล่อยแสง

นอกจากคาแร็คเตอร์ของอุลตร้าแมนแล้วเนื้อหาของภาพยนตร์เรื่องนี้ก็ยังนำเอาธรรมะขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้ามาเป็นแก่นแกนในการดำเนินเรื่อง เพื่อให้เด็กๆ ซึมซับในเรื่องของคุณธรรม โดยให้อุลตร้าแมนเป็นตัวแทนของความดีหรือฝ่ายธรรมะ และให้สัตว์ประหลาดเป็นตัวแทนของความชั่วร้ายหรือฝ่ายอธรรม



 “ผมและอาจารย์เอยิมีจุดประสงค์ตรงกันในการสร้างภาพยนตร์เรื่องอุลตร้าแมน คือต้องการให้เด็กในรุ่นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีธรรมะ จะได้ไม่ต้องมาเข่นฆ่ากันอีก ซึ่งเรื่องพวกนี้เราต้องปลูกฝังกันตั้งแต่เด็กๆ โดยผมเป็นคน กำหนดเนื้อหาที่เป็นแก่นของเรื่อง คือธรรมะย่อมชนะอธรรม ส่วนรายละเอียดในแต่ละตอนคนญี่ปุ่นจะเป็นคนเขียน

เราไม่ได้นำพระพุทธรูปมาล้อเล่นนะครับ แต่นำคาแร็คเตอร์ของท่านมาเป็นต้นแบบ เพราะโครงเรื่องของเราคือเรื่องราวเกี่ยวกับธรรมะชนะอธรรม ซึ่งก่อนที่พระพุทธเจ้าจะตรัสรู้นั้นท่านต้องปราบพวกมารมากมาย สัตว์ประหลาดในเรื่องอุลตร้าแมนก็เหมือนกับมาร ส่วนอุลตร้าแมนจะเป็นฮีโร่ที่มีความเมตตา บางทีจับสัตว์ประหลาดได้ก็พาไปส่งที่ดวงดาวที่สัตว์ประหลาดอยู่

คาแร็คเตอร์ของสัตว์ประหลาดนั้นเราจะไม่ให้ออกมาในแนวดุร้าย แต่จะดูตลก คาแร็คเตอร์ของสัตว์ประหลาดบางตัวนั้นเรานำมาจากตัวโกงในเรื่องรามเกียรติ์ เช่น ทรพี ทรพา ลวดลายบนตัวของสัตว์ประหลาดบางตัวก็มาจากลาย บ้านเชียง เพราะช่วงที่ผมไปญี่ปุ่นตอนนั้นคนกำลังเห่อลาย บ้านเชียง ส่วนการต่อสู้ระหว่างอุลตร้าแมนและสัตว์ประหลาดก็จะไม่มีภาพที่น่ากลัว เลือดสาดเหมือนอย่างการ์ตูนสมัยนี้ ซึ่งผมมองว่ามันจะไปปลูกฝังให้เด็กเป็นคนก้าวร้าว และโหดร้ายโดยไม่รู้ตัว” ... สมโพธิ กล่าว ตอนที่ ๓ ประวัติของลุงสมโพธิและคำบอกเล่าพิศวงที่เกี่ยวกับ ยอดมนุษย์

ประวัติคร่าวๆของลุงสมโพธิและบริษัทไชโย (รวบรวมมาจากหนังสือพิมพ์ธรรมลีลา ฉบับที่ 72 พ.ย. 2549 โดย จินดาวรรณ บทสัมภาษณ์ส่วนตัว และ หน้งสือ ความลับของยอดมนุษย์ อุลตร้าแมน) มีดังนี้ครับ

สมโพธิสนใจการถ่ายภาพมาตั้งแต่สมัยเป็นนักเรียน มีผลงานภาพถ่ายลงในหนังสือชัยพฤกษ์ และวิทยาสาร ติดต่อกันหลายปี จนกระทั่งจบการศึกษาจากวิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพ ในสาขาวิชาช่างภาพ และได้เข้าทำงานที่กองการโฆษณา ธนาคารออมสิน ในตำแหน่งเป็นช่างถ่ายภาพยนตร์ ที่กองการโฆษณา ธนาคารออมสิน สาขาราชดำเนิน ทำให้มีโอกาสได้ทุนจากธนาคารออมสิน กับธนาคารมิตซุยไปศึกษาต่อที่ญี่ปุ่นเมื่อพ.ศ. 2505 ขณะนั้นมีอายุเพียง 20 ปี ได้ไปฝึกงานกับบริษัทโตโฮเรื่องการทำสเปเชียลเอฟเฟค ในช่วงนั้นกำลังมีการถ่ายทำเรื่อง “คิงคองปะทะก็อตซิลล่า” และได้มีโอกาสพบปรมาจารย์หนังไซไฟญี่ปุ่น อจ. เอยิ ซึบูราญ่า ที่ต่อมาเป็นผู้ก่อตั้งบริษัทซึบูราญ่า โปรดักชั่น และ โทรุ นาริตะ นักดีไซน์เนอร์




ข้อความที่เอยิเขียนให้สมโพธิเป็นภาษาญี่ปุ่นว่า “สมโพธิคุง กัมบาเระ (1962 หรือ ปี 2505)” แปลว่า “พยายามเข้านะ คุณสมโพธิ”

เมื่อเรียนจบเขาก็กลับมาทำงานที่ธนาคารออมสิน ก่อนจะลาออกมาลงทุนสร้างภาพยนตร์ทีวีตามใจหวัง เรื่องแรกเรื่องไกรทอง ด้วยวัยเพียง 23 ปี ทำให้เขาเป็นผู้สร้างภาพยนตร์ที่มีอายุน้อยที่สุดในขณะนั้น และ 3 ปีต่อมาเขาก็เบนเข็มไปสร้างภาพยนตร์เพื่อฉายตามโรงหนัง โดยมี “ท่าเตียน” เป็นหนังเรื่องแรก และหนังทุกเรื่องต่อมาของไชโยจะใช้ชื่อลูกชายของลุงสมโพธิ (พีระศิษฎ์) เป็นผู้กำกับ



บริษัทไชโย ภาพยนตร์ นั้นเป็นชื่อที่หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมทย์ อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 13 ของไทยตั้งให้ ท่านบอกว่าชื่อ บริษัทไชโย แปลว่าผู้ชนะ คือชนะทุกสิ่งทุกอย่างในโลก



สมโพธิและ “ยอดมนุษย์”

ในมุมมองของสมโพธิ ตัวเอกของเรื่องก็ไม่ควรจะเป็นสัตว์ประหลาด แต่น่าจะนำคนมาสวมบทพระเอกผู้ปราบอธรรมมากกว่า ดังนั้นต่อมาในปี 2506 สมโพธิจึงเสนอไอเดียกับอาจารย์เอยิ ว่าเขาจะหาคาแร็คเตอร์ของพระเอกที่เป็นมนุษย์มาปราบคิงคองและก็อตซิลล่า และสร้างเป็นภาพยนตร์ทีวี นี่เองจึงเป็นที่มาของ ‘อุลตร้าแมน’ ยอดมนุษย์ขวัญใจเด็กๆ ตัวแรก ของญี่ปุ่นที่ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี 2509

...ชื่อ “ยอดมนุษย์” นี่ผมเป็นคนตั้งเอง คือจริงๆแล้วพระพุทธเจ้าท่านก็เป็นมนุษย์ แต่ท่านสั่งสมความดีจนสามารถ ตรัสรู้ธรรม ท่านจึงเป็นยอดแห่งมนุษย์ แรงบันดาลใจเกิด จากตรงนี้ ผมจึงนำภาพถ่ายพระพุทธรูป 3 องค์ ไปให้อาจารย์เอยิดู ซึ่งเป็นพระพุทธรูปสมัยสุโขทัยและอยู่ในจังหวัดสุโขทัยทั้ง 3 องค์ คือพระปางลีลา จากวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พระปางห้ามญาติ วัดสะพานหิน และพระอัฏฐารส ปางเปิดโลก ซึ่งอาจารย์เห็นแล้วชอบมาก ท่านจึงให้นำพระพุทธรูปดังกล่าวมาเป็นต้นแบบในการร่างคาแร็กเตอร์ของยอดมนุษย์ โดยมีโทรุ นาริตะ เป็นผู้เขียน แบบตามที่ผมบอก

นอกจากนั้นอาจารย์เอยิยังสังเกตเห็นว่าพระพุทธรูปทั้ง 3 องค์มีท่าทางไม่เหมือนกัน ผมก็อธิบายว่านี่คือปางต่างๆของพระพุทธรูป เช่น ปางห้ามญาติ ปางเปิดโลก แต่ละปาง ก็มีพุทธานุภาพไม่เหมือนกัน อาจารย์ก็รู้สึกทึ่ง และบอกว่า น่าจะนำท่าทางเหล่านี้มาดีไซน์เป็นท่าไม้ตายในการปราบสัตว์ประหลาด จนสุดท้ายก็ออกมาเป็นท่าปล่อยแสง

นอกจากคาแร็คเตอร์ของอุลตร้าแมนแล้วเนื้อหาของภาพยนตร์เรื่องนี้ก็ยังนำเอาธรรมะขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้ามาเป็นแก่นแกนในการดำเนินเรื่อง เพื่อให้เด็กๆ ซึมซับในเรื่องของคุณธรรม โดยให้อุลตร้าแมนเป็นตัวแทนของความดีหรือฝ่ายธรรมะ และให้สัตว์ประหลาดเป็นตัวแทนของความชั่วร้ายหรือฝ่ายอธรรม



 “ผมและอาจารย์เอยิมีจุดประสงค์ตรงกันในการสร้างภาพยนตร์เรื่องอุลตร้าแมน คือต้องการให้เด็กในรุ่นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีธรรมะ จะได้ไม่ต้องมาเข่นฆ่ากันอีก ซึ่งเรื่องพวกนี้เราต้องปลูกฝังกันตั้งแต่เด็กๆ โดยผมเป็นคน กำหนดเนื้อหาที่เป็นแก่นของเรื่อง คือธรรมะย่อมชนะอธรรม ส่วนรายละเอียดในแต่ละตอนคนญี่ปุ่นจะเป็นคนเขียน

เราไม่ได้นำพระพุทธรูปมาล้อเล่นนะครับ แต่นำคาแร็คเตอร์ของท่านมาเป็นต้นแบบ เพราะโครงเรื่องของเราคือเรื่องราวเกี่ยวกับธรรมะชนะอธรรม ซึ่งก่อนที่พระพุทธเจ้าจะตรัสรู้นั้นท่านต้องปราบพวกมารมากมาย สัตว์ประหลาดในเรื่องอุลตร้าแมนก็เหมือนกับมาร ส่วนอุลตร้าแมนจะเป็นฮีโร่ที่มีความเมตตา บางทีจับสัตว์ประหลาดได้ก็พาไปส่งที่ดวงดาวที่สัตว์ประหลาดอยู่

คาแร็คเตอร์ของสัตว์ประหลาดนั้นเราจะไม่ให้ออกมาในแนวดุร้าย แต่จะดูตลก คาแร็คเตอร์ของสัตว์ประหลาดบางตัวนั้นเรานำมาจากตัวโกงในเรื่องรามเกียรติ์ เช่น ทรพี ทรพา ลวดลายบนตัวของสัตว์ประหลาดบางตัวก็มาจากลาย บ้านเชียง เพราะช่วงที่ผมไปญี่ปุ่นตอนนั้นคนกำลังเห่อลาย บ้านเชียง ส่วนการต่อสู้ระหว่างอุลตร้าแมนและสัตว์ประหลาดก็จะไม่มีภาพที่น่ากลัว เลือดสาดเหมือนอย่างการ์ตูนสมัยนี้ ซึ่งผมมองว่ามัน
ปลูกฝังให้เด็กเป็นคนก้าวร้าว และโหดร้ายโดยไม่รู้ตัว” ... สมโพธิ กล่าว

ตอนที่ ๔ ปัญหาในซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์...อดีตจวบปัจจุบัน

เอยิ ซึบูราญ่า เสียชีวิตเมื่อเดือนมกราคมปี 2513 ด้วยวัย 69 มีงานที่เกี่ยวกับอุลตร้าแมนอยู่ 2 เรื่องคือ อุลตร้าแมน กับ อุลตร้าเซเว่น แต่ถ้าจะนับรวมปฐมบท อย่าง อุลตร้าคิวด้วยอีกเรื่องก็ไม่ผิดประการใด ลูกชายคนโต ฮาจิเมะ 円谷一 จึงมารับงานต่อในขณะที่ซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ เริ่มมีปัญหาทางการเงินแล้ว



ฮาจิเมะ เป็นมือขวาของคุณพ่อมาตลอด เพลงไตเติ้ลหนังทีวีของซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ฮาจิเมะเป็นคนเขียนแทบทั้งนั้น ทั้งแกยังให้เสียงอุลตร้าแมนตอนแรกที่คุยกับฮายาตะในลูกบอลทรงกลมสีแดง (เป็นด้วยความบังเอิญเพราะคนพากย์ตัวจริง มาซาโอะ นากาโซเนะ ติดธุระ มาซาโอะคือต้นเสียงอมตะ Shuwatch! シュワッチ!   นั่นเองครับ)

ในยุคฮาจิเมะ มีหนังทีวีซีรี่ส์อุลตร้าแมนตอนสั้นๆอย่าง อุลตร้าไฟท์ ภาพยนตร์ชุดอุลตร้าแมนเรื่อง รีเทิร์น ออฟ อุลตร้าแมน (ชื่อก็บอกแล้วว่าตั้งใจจะเอาอุลตร้าแมนตัวแรกกลับมา แต่สุดท้ายก็ปรับเป็นตัวใหม่เพื่อการตลาด บ้านเรายุคนั้นก็มักเรียกว่า “แมน 2” หรือไม่ก็ “นิวแมน” มาเรียกว่า อุลตร้าแมนแจ็ค เอาก็ปี 2527 ที่มีหนังโรงฉบับพิเศษของโซฟี่) มิเรอร์แมน (ชื่อไทย เงาอภินิหาร) แต่ในขณะที่กำลังถ่ายทำ อุลตร้าแมนเอซ (บ้านเราเรียก อุลตร้าแมนเอ) ฮาจิเมะก็เสียชีวิตด้วยอาการเลือดออกในสมอง (ปี 2516) ด้วยอายุเพียง 39 เพียงแค่ 3 ปีหลังมารับช่วงจากบิดา

มรดกจึงตกทอดสู่น้องชายของฮาจิเมะที่ชื่อ โนโบรุ 円谷皐 ผู้สร้างเรื่องราวที่เรากำลังคุยกันเป็นมหากาพย์ 40 ปีเรื่องนี้และเป็นการเข้าสู่ยุคมืดมัวของซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ และอุลตร้าแมน 20 ปี (1975 ถึง 1995)



ยุคโนโบรุ มี อุลตร้าแมนทาโร่ (1974) และ อุลตร้าแมนเลโอ (1975) โดยตั้งแต่กลางๆเรื่องอุลตร้าแมนเลโอ สภาพเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลกทำหนังฮีโร่ญี่ปุ่นเดี้ยงไปทั้งวงการ

อุลตร้าแมนหายไปจากจออยู่ 4 ปีจึงมี "ดิ อุลตร้าแมน" (โจเนียส) เป็นอนิเมะออกมาในระหว่างปี 1979-80 เพื่อลดต้นทุน แต่คนดูยังอยากเห็นฮีโร่ร่างยักษ์ในแบบเดิมมากกว่า

อุลตร้าแมน 80 เป็นการกลับมาเต็มตัวของอุลตร้าแมนซีรี่ส์ แต่ก็ต้องหยุดซีรี่ส์ไปอีกพักใหญ่ๆ

อันโดรเมรอส เป็นหนังสั้นต้นทุนต่ำตอนละ 10 นาทีออกฉายปี 1983

อุลตร้าแมน USA เป็นอนิเมะร่วมมือกับ Hanna-Barbera Productions ในอเมริกา ฉายในอเมริกาปี 1987 และในญี่ปุ่นปี 1989

อุลตร้าแมนเกร็ท ถือเป็นอุลตร้าซีรีส์เรื่องแรกในยุคเฮเซ (ยุคจักรพรรดิอากิฮิโตะ) ร่วมทุนกับบริษัทในออสเตรเลีย South Australian Film Corporation ถ่ายทำที่เมือง Adelaide เพื่อลดต้นทุน (ยุคนั้นหนังทีวีอเมริกาอย่าง Mission Impossible ปี 1998-89 ก็ไปถ่ายทำที่ออสเตรเลียเพื่อลดต้นทุน) ในญี่ปุ่นทำเป็นโฮมวีดิโอ กับ เลเซอร์ดิสค์ ออกมาขายในปี 1990 ส่วนฉายทางฟรีทีวีก็อีก 5 ปีให้หลัง (1995) และเอาไปฉายในอเมริกาปี 1992

จึงมีซีรีส์ อุลตร้าแมนพาวเวิร์ด ที่ร่วมทุนกับ Major Havoc Entertainment (ปัจจุบันคือ Steppin Stone Entertainment) ถ่ายทำในแอลเอ ทำเป็นโฮมวีดิโอขายในญี่ปุ่นปี 1993 ส่วนฟรีทีวีก็ต้องปี 1995 อีก 2 ปีให้หลัง แม้จะถ่ายทำในอเมริกาแต่ทว่าเรื่องนี้ไม่เคยฉายทางทีวีในอเมริกาเลย

ทั้งเกร็ทและพาวเวิร์ดเลยเป็นแค่ 2 เรื่องที่ผลิตนอกญี่ปุ่น หลังจากนั้นก็กลับไปถ่ายทำในญี่ปุ่นมาตลอด

ทั้งหมดนี้อยู่ในยุคมืดของซึบูราญ่า โปรดัคชั่นส์ ครับ

โนโบรุเสียชีวิตเมื่อวันที่ 11 มิถุนายน ปี 2538 (1995) ด้วยโรคมะเร็งกระเพาะอาหาร ลูกชาย คาซูโอะ 円谷一夫 จึงมารับช่วงต่อ



และเป็นยุคที่อุลตร้าแมนเริ่มกลับมามีชีวิตชีวาในญี่ปุ่นอีกครั้ง โดยมี อุลตร้าแมนเซิร์ท (2 ภาคในปี 1996 กับ 1997 เป็น OVA) เป็นซีรีส์ฉลองครบรอบ 30 ปีของอุลตร้าแมน

ตามมาด้วย ทีก้า (96-7) ไดน่า (97-8) ไกอา (98-9) เนออส (2000-1 เป็น OVA) และ คอสมอส (2001-2)

เนออสนั่นเดิมทีเป็นโครงการปี 1996 ฉลองซีรีส์อุลตร้าแมนครบ 30 ปีกะว่าจะทำเป็นซีรีส์ยาวอย่าง อุลตร้าแมน 80 แต่โครงการโดนเก็บขึ้นหิ้ง ต่อมาเอากลับมาทำเป็น OVA 12 ตอนจบ

จบซีรีส์คอสมอส อุลตร้าแมนหายไปอีกพักเล็กๆอีก 2 ปี

อุลตร้า N โปรเจ็ค เป็นโครงการใหญ่ของคาซูโอะ ประกอบด้วยหนังโรง อุลตร้าแมน-2004 หนังทีวีซีรี่ส์ เน็กซัส- 2004-5 และ โนอา สำหรับอีเว้นต์ แต่หนังทีวีไม่ได้รับความนิยมเพราะเนื้อเรื่องกลายเป็นหนังสำหรับผู้ใหญ่แต่ดันไปฉายเวลาของเด็ก แต่พอเอามาฉายอีกครั้งหลังเที่ยงคืน เรตติ้งกลับดีขึ้นมาก

อุลตร้าแมนตัวต่อมาเลยต้องกลับไปเป็นแบบเดิมที่มีสัตว์ประหลาดสัปดาห์ละ 1 ตัวให้อุลตร้าแมนพิทักษ์โลก โดยมี แม็กซ์ (2005-6) และ เมบิอุส (2006-7)





อ่านต่อคลิกที่นี่<noembed /></a></p> </body></body>




 

Create Date : 26 พฤษภาคม 2556   
Last Update : 26 พฤษภาคม 2556 13:52:35 น.   
Counter : 7201 Pageviews.  


1  2  3  4  5  

assuming
 
Location :


[Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 6 คน [?]




[Add assuming's blog to your web]

 
pantip.com pantipmarket.com pantown.com