:::รำชวา:::


เมื่อปี พ.ศ.๒๔๕๑ คุณครูหลวงประดิษฐ์ไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ได้ตามเสด็จสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยาภานุพันธ์วงศ์วรเดช ไปประเทศชวา และได้จำเพลงของชาวนาได้หลายเพลง ซึ่งบางเพลงก็ได้ทราบชื่อจากนักดนตรีชวาบ้าง บางเพลงก็ไม่ทราบชื่อ สมมุติชื่อเรียกเองตามชื่อเมืองที่จำเพลงนั้นมาบ้าง เพลงบูเซ็นช็อคนี้ก็เป็นเพลงหนึ่ง ซึ่งเข้าใจว่าคงจะได้ตั้งชื่อขึ้นจากเมือง ๆ หนึ่งของชวา คือเมืองบูเซ็น ช็อคหรือบูเต็นช็อคนั่นเองผู้ที่ให้ท่ารำคืออาจารย์ลมุลยมะคุปต์ ผู้เชี่ยวชาญนาฏศิลป์ไทยแห่งวิทยาลัยนาฏศิลป์กับครูฝน โมรากุล ร่วมกันประดิษฐ์ท่าร่ายรำให้เข้ากับจังหวะและท่วงทำนองเพลง แต่ไม่เรียกว่า รำเพลงบูเซ็นช็อค เรานิยมเรียกกันว่ารำชวา

เป็นระบำที่อาจารย์ลมุล ยมะคุปต์ และอาจารย์ผัน โมรากุล ร่วมกันประดิษฐ์ท่าร่ายรำให้เข้ากับจังหวะ และท่วงทำนองเพลงบูเซ็นซ็อค ซึ่งคุณครูหลวงประดิษฐ์ไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ได้จดจำเพลงมาจากชวา



ละคร
ละครชาตรี
การแต่งกายละครชาตรี
ละครโนรา
ละครนอก
ละครใน
ละครพันทาง
การแสดงพื้นเมืองของไทย
ภาคเหนือ
ภาคกลาง
เพลงพวงมาล้ย
การรำแสดงพื้นเมืองภาคเหนือ
การรำแสดงพื้นเมืองภาคอีสาน
การรำพื้นเมืองภาคใต้
ความหมายของคำว่า
ประเภทของระบำ
ประเภทของการรำ
ประเภทของการฟ้อน
การแสดงเบ็ดเตล็ด
กำเนิดของโขน
การแสดงกระบี่กระบอง
การแสดงหนังใหญ่
ประเภทของโขน
โขนหน้าจอ
ตัวละครในการแสดงโขน
ตัวนาง
ตัวยักษ์
ตัวลิง
เรื่องที่ใช้ในการแสดงโขน
บทละครรามเกียรติ์สมัยกรุงศรีอยุธยา
บทละครรามเกียรติ์สมัยกรุงธนบุรี
บทละครรามเกียรติ์สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
ดนตรีที่ใช้บรรเลงในการแสดงโขน
โขนโรงใน
รำวงมาตรฐาน
คำร้อง/ทำนอง รำวงมาตรฐาน
เครื่องดนตรี /การแต่งกาย รำวงมาตรฐาน




Create Date : 17 กุมภาพันธ์ 2554
Last Update : 13 กันยายน 2555 0:43:40 น.
Counter : 12927 Pageviews.

0 comments
แจกภาพปฏิทินประจำวัน ครั้งที่ 6 (8-14 กรกฎาคม 2568) ทองกาญจนา
(7 ก.ค. 2568 10:55:35 น.)
แจกภาพปฏิทินประจำวัน ครั้งที่ 4 (22-30 มิถุนายน 2568) ทองกาญจนา
(21 มิ.ย. 2568 08:29:32 น.)
Cuando esta tan hondo from El Barquillero by Ruperto Chapí ปรศุราม
(15 มิ.ย. 2568 10:53:08 น.)
Le Soir by Charles Gounod ปรศุราม
(11 มิ.ย. 2568 11:04:08 น.)

Peakroong.BlogGang.com

Peakroong
Location :
  

[ดู Profile ทั้งหมด]
 ผู้ติดตามบล็อก : 41 คน [?]

บทความทั้งหมด