|
:::รำฉุยฉายฮเนา:::
" ฉุยฉาย" ในทางนาฏศิลป์ หมายถึง การร่ายรำเมื่อตัวละครเกิดความภาคภูมิใจ ที่สามารถแปลงกาย หรือแต่งตัวได้อย่างสวยสดงดงาม พระยาอนุ มานราชธนได้กล่าวไว้ในหนังสืออธิบายนาฏศิลป์ไทยว่า "การรำฉุยฉายเป็นการแสดงภาษานาฏศิลป์ที่มีคุณค่าทางนาฏศิลป์อย่างเลิศ นิยมกันว่าตัวละครสามารถแสดงอารมณ์ความภาคภูมิใจออกมาทางท่ารำได้ดีกว่าที่ จะพูดออกมาทางปาก"
ฉุยฉายฮเนาเป็นการแสดงชุดหนึ่งในเรื่องเงาะป่า อันเป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ัหัว รัชกาลที่๕ ทรงพระราชนิพนธ์จากตำนานรักพื้นบ้านของชาวกอยหรือเงาะ อันเป็นเรื่องโศกนาฏกรรมรักสามเศร้า ที่ไม่สมหวังระหว่าง ลำหับ ฮเนาและซมพลา เรื่องเงาะป่านี้จัดได้ว่าโศกนาฏกรรมแห่งความรักที่น่าประทับใจ ความหมายของลีลาท่ารำสื่อให้เห็นถึง ความอิ่มเอมใจ ความภูมิใจในการแต่งกายของฮเนาผู้เป็นเจ้าบ่าวที่จะเข้าพิธีแต่งงานกับนางลำหับสาวงามที่ตนหลงใหลใฝ่ฝัน 
ละคร ละครชาตรี การแต่งกายละครชาตรี ละครโนรา ละครนอก ละครใน ละครพันทาง การแสดงพื้นเมืองของไทย ภาคเหนือ ภาคกลาง เพลงพวงมาล้ย การรำแสดงพื้นเมืองภาคเหนือ การรำแสดงพื้นเมืองภาคอีสาน การรำพื้นเมืองภาคใต้ ความหมายของคำว่า ประเภทของระบำ ประเภทของการรำ ประเภทของการฟ้อน การแสดงเบ็ดเตล็ด กำเนิดของโขน การแสดงกระบี่กระบอง การแสดงหนังใหญ่ ประเภทของโขน โขนหน้าจอ ตัวละครในการแสดงโขน ตัวนาง ตัวยักษ์ ตัวลิง เรื่องที่ใช้ในการแสดงโขน บทละครรามเกียรติ์สมัยกรุงศรีอยุธยา บทละครรามเกียรติ์สมัยกรุงธนบุรี บทละครรามเกียรติ์สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ดนตรีที่ใช้บรรเลงในการแสดงโขน โขนโรงใน รำวงมาตรฐาน คำร้อง/ทำนอง รำวงมาตรฐาน เครื่องดนตรี /การแต่งกาย รำวงมาตรฐาน
|
Peakroong.BlogGang.com
Peakroong
 ผู้ติดตามบล็อก : 41 คน [ ?]
|
|