พระโอวาท พระอรหันต์จี้กง
ชอบจัง รู้สึกว่า อ่านแค่ใจความสั้นๆ ก็ทำให้รู้สึกสบายใจขึ้นมาเยอะเลยนะเนี่ย
โดย: แพร-พีจ๊ะ IP: 61.7.144.254 วันที่: 29 กรกฎาคม 2552 เวลา:12:16:48 น.
เป็นปรัชญาชีวิตที่แสวงหามานาน สงบเย็นใจดีจริงๆ เข้าใจง่ายไม่ต้องตีความให้ปวดหัว ขอบพระคุณครับ
โดย: วิษณุพงศ์ IP: 58.10.192.175 วันที่: 9 เมษายน 2553 เวลา:20:34:39 น.
ณ์ในการกราบไหว้พุทธะทางศาสนาด้วย ซึ่งแต่ละยุคนั้นการอุ้มตราลัญจกรแตกต่างไปตามยุค ซึ่งในยุคสุดท้ายนี้คือปัจจุบัน ตราลัญจกรนั้นไม่ได้ใช้เฉพาะเพียงการกราบไหว้เท่านั้น แต่ยังบอกถึงสภาวะของความเป็นพุทธะอีกด้วย ซึ่งยากที่ผู้บำเพ็ญที่บำเพ็ญแบบผิวเผินก็จะไม่เข้าใจในความหมายอันแยบยล การก้มกราบโดยการอุ้มตราลัญจกรนั้นเป็นวิธีแฝงที่จะให้เราน้อมจิตกลับมาที่ญาณทวาร ซึ่งเป็นศุนย์รวมระหว่างกายและจิต เมื่อได้รวมเป็นหนึ่งแล้วก็จะค่อยๆเข้าถึงความแยบยลได้
ตราลัญจกรนั้นมีจุดอยู่ 2 จุด คือ 子 (จื่อ) กับ 亥 (ไห้) 子 (จื่อ) คือ ราศรีชวด คือจุดเริ่มต้น 亥 (ไห้) คือ ราศรีกุน คือจุดสิ้นสุด การอุ้มตราลัญจกรนั้น จะใช้นิ้วมือกดจุดทั้งสอง แล้วใช้มือซ้ายโอบมือขวา แล้วรวบกันให้สนิท จุดสองจุดคือ สถาวะ หยินหยาง ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด การรวบเข้าหากันคือ การรวมให้เป็นหนึ่ง นั้นหมายถึงว่าจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดคือ เป็นจุดหนึ่งเดียว นี่แหล่ะคือความแยบยลที่กำลังบอกให้รู้ถึงภาวะขอนิพพาน การก้มกราบที่เป็นรูปลักษณ์นั้น เป็นสิ่งที่ให้เราอาศัยพุทธระเบียในการกราบไหว้พระ เพื่อให้เราค่อยๆน้อมจิตกับสู่ความเป็นพุทธะ แต่ผู้บำเพ็ญส่วนใหญ่มักแต่สักแต่ว่ากราบ โดยไม่เข้าใจความแยบยลที่ได้รับวิถีอนุตตรธรรมมา เมื่อจิตใจโดยสิ่งยั่วย้อมจากภายนอก ก็ทำให้เลิกล้มการบำเพ็ญไป หรือหากยังอยู่ในอาณาจักรก็แค่เป็นแต่การสร้างความดีทั่วๆไป ยังไม่ได้เข้าใจถึงการบำเพ็ญในวิถีอนุตตรธรรมอย่างแท้จริงเลย จุดสองนี้ที่อยู่ในตราลัญจกรแท้จริงแล้ว คือความแยบยลของจุดญาณทวาร ซึ่งเป็นจุดหนึ่งเดียว อันเป็นจิตหนึ่ง หรือจิตแห่งความเป็นพุทธะนั่นเอง โดย: ทรางเกียรติ IP: 110.164.26.23 วันที่: 6 มกราคม 2554 เวลา:15:49:53 น.
บทความทั้งหมด
|
|
|||||
Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved. |