|
พัฒนาการปัญหาปาล์มน้ำมันในประเทศไทยปี 2558 |
|
พัฒนาการปัญหาน้ำมันปาล์มในประเทศไทยปี 2558 รวบรวมโดย ดร.ภคพร กุลจิรันธร สืบเนื่องจากคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบอาร์มที่ประชุมคณะกรรมการนโยบายปาล์มน้ำมันแห่งชาติ (กนป) ให้มีการนำเข้าน้ำมันปาล์มดิบแยกไข ( Crude Palm Olein) ในปริมาณ 50,000 ตันโดยมอบหมายให้กระทรวงพาณิชย์โดยองค์การครั้งสินค้านำเข้าให้แล้วเสร็จภายในกลางเดือนกุมภาพันธ์ 2558 เนื่องจากสต๊อกน้ำมันปาล์มลดลงเกรงจะกระทบต่อการบริโภคของประชาชนและกระทบต่อสินค้าที่ต้องใช้น้ำมันปาล์มทั้งหมด โดยที่ประชุม กนป. ได้ฟังความเห็นรอบด้านแล้วรวมถึงคณะรัฐมนตรีมีมติว่ารัฐบาลจะดูแลราคาผลปาล์มดิบของเกษตรกรไม่ให้ต่ำกว่า 5 บาทต่อกิโลกรัม นอกจากนั้นยังให้ปรับลดข้อกำหนดการใช้ไบโอดีเซลจากบี 7 เป็นบี 3.5 เพื่อลดปริมาณการใช้น้ำมันปาล์มในการผลิตน้ำมันปาล์มและให้กลับมาเป็นบี 7 เมื่อพ้นวิกฤต สำหรับน้ำมันปาล์มนำเข้านั้นเมื่อผลิตเป็นน้ำมันพืชปาล์มบรรจุขวดสำเร็จแล้วให้ขายในราคาไม่เกินลิตรละ 42 บาท มติ ครม. นี้ที่ให้นำเข้าปาล์มน้ำมันดิบจำนวน 50,000 ตันได้ถูกทักท้วงจากกลุ่มเกษตรกรชาวสวนปาล์มในประเทศไทยเพราะปาล์มน้ำมันฤดูกาลใหม่กำลังจะออกมามีการยื่นหนังสือผ่านผู้ว่าราชการจังหวัดเพื่อคัดค้านเพราะเกรงว่าราคารับซื้อปาล์มน้ำมันในประเทศไทยจะตกต่ำและกลัวว่าจะมีการลักลอบนำเข้าน้ำมันปาล์มดิบเข้ามาอย่างต่อเนื่องโดยขาดการควบคุมการคัดค้านไม่เป็นผล 2 2 เมษายน 2558 ตัวแทนเกษตรกรและตัวแทนกลุ่มโรงงานเข้าร่วมประชุมได้ข้อสรุปว่าต้นทุนการปลูกปาล์มน้ำมันที่ยอมรับได้คือ 3.38 บาทต่อกิโลกรัม เมื่อบวกกำไรจากต้นทุนการเพาะปลูกที่เกษตรกรควรได้รับประชุมจึงเสนอว่าหากราคารับซื้อที่ลานเทคือ 4.39 บาทต่อกิโลกรัมคือเกษตรกรมีกำไรร้อยละ 30 แต่เกษตรกรแจ้งว่าหลับไม่ได้อยากจะใครขอพิจารณา 2 ราคาคือ + ร้อยละ 40 จากราคาต้นทุน = 4.73 บาทต่อกิโลกรัมและ + ร้อยละ 50 จากราคาต้นทุน = 5.07 บาทต่อกิโลกรัมยังไม่มีข้อสรุปกรมการค้าภายในรับไว้พิจารณาแล้วปิดประชุม หลังจากนั้นก็เริ่มมีการประท้วงของม็อบสวนปาล์มเพื่อเรียกร้องแก้ราคาปาล์มน้ำมันตกต่ำโดยเกษตรกรต้องการให้รัฐรับซื้อที่ราคา 5 บาทต่อกิโลกรัม แตกจากการเจรจาสรุปได้ว่ารัฐบาลรับประกันราคาหน้าร้านเท= 4 บาทกิโลกรัม ทั้งนี้โดยมีการกำหนดคุณภาพของปาล์มน้ำมันโดยห้ามซื้อขายปาล์มน้ำมันที่มีเปอร์เซ็นต์น้ำมันต่ำกว่า 17% โดยเด็ดขาดและให้เวลาเกษตรกรปรับตัว 3 เดือนตั้งแต่พฤษภาคมถึงกรกฎาคม 2558 นายกฤษฎา ชวนะนันท์ นายกสมาคมโรงสกัดน้ำมันปรามกล่าวว่าสวัสกระบี่เร่งดำเนินมาตรการที่เรียกว่ากระบี่โมเดลเพื่อแก้ไขปัญหาราคาปาล์มน้ำมันอย่างยั่งยืนซึ่งจะทำให้สกัดได้น้ำมันสูงโดยไม่ต้องรับซื้อผลปาล์มที่ไม่ได้มาตรฐานเพราะทุก 1% ของคุณภาพปาล์มที่หายไปนั้นมีมูลราคากิโลกรัมละ 0.25 ถึง 0.30 บาทและในจังหวัดกระบี่นั้นมีเกษตรกรที่มีเปอร์เซ็นต์น้ำมันไม่ถึง 10 7% เพียง 15% เท่านั้นหากเปอร์เซ็นต์น้ำมันขึ้นมา 2% ราคาก็จะปรับขึ้นมาโดยปริยายอีก 0.50 บาทจึงควรนำโมเดลดังกล่าวมาใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นรูปธรรม แต่นายชัยฤทธิ์ ถ่ายย้วน นายกสมาคมชาวสวนปาล์มน้ำมันจังหวัดตรังและประธานสหกรณ์เกษตรอุตสาหกรรมตรัง พร้อมด้วยตัวแทนเครือข่ายเกษตรกรชาวสวนปาล์มน้ำมันจังหวัดตรังทั้ง 3 องค์กรประกอบด้วยสภาเกษตรกรจังหวัดตรังสมาคมชาวสวนปาล์มน้ำมันจังหวัดตรังและชมรมสหกรณ์ผู้รวบรวมปาล์มน้ำมันจังหวัดตรัง ยื่นข้อเรียกร้องให้รัฐบาลแทรกแซงราคาปาล์มน้ำมันเนื่องจากการรับซื้อตามเปอร์เซ็นต์น้ำมันปาล์มเกษตรกรส่วนใหญ่ยืนยันว่าตนเองไม่ได้ตัดปาล์มดิบไปขายโรงงานและลานเทมักตั้งแง่เพื่อกดราคารับซื้อปาล์มเกษตรกรยืนยันว่าในขั้นตอนการรับซื้อปาล์มทะลาย ลานเทและโรงงาน ไม่ได้ใช้เครื่องมือใดวัดเปอร์เซ็นต์น้ำมันปาล์มเลยและส่วนใหญ่ไม่แสดงราคารับซื้อปาล์ม ณ จุดรับซื้อเพราะไม่อยากให้คู่แข่งเห็นว่าต้นรับซื้อราคาไหนอย่างไร เกษตรกรส่วนใหญ่ลงความเห็นว่าการดิ่งเหวของราคารับซื้อปาล์มทะลายจากเกษตรกรในครั้งนี้นั้นเกิดจากการตัดสินใจที่ผิดพลาดของรัฐบาลจากการนำเข้าปาล์ม 50,000 ตันจากต่างประเทศโดยการนำเสนอข้อมูลจาก กนป. และต้องการให้รัฐบาลรับซื้อหรือประกันราคาที่ปั๊มน้ำมัน 5 บาทต่อกิโลกรัมตามที่ได้แจ้งไว้และพิจารณายกเลิกการรับซื้อปาล์มตามเปอร์เซ็นต์น้ำมันปาล์มเพราะเป็นการเอาเปรียบเกษตรกรควรหามาตรการอื่นหรือหาเครื่องมือวัดเปอร์เซ็นต์น้ำมันปาล์มที่มีมาตรฐานชัดเจนเกษตรกรจึงจะยอมรับได้ และตัวแทนในคณะกรรมการตามน้ำมันแห่งชาติหรือ กนป.ควรต้องเป็นตัวแทนจากทุกภาคส่วนสำหรับฟังเกษตรกรควรต้องเป็นตัวแทนเกษตรกรจริงๆไม่ใช่ตัวแทนของกลุ่มโรงงานซึ่งแฝงตัวอยู่ในกลุ่มเกษตรกร ในปัจจุบันปัญหาของปาล์มน้ำมันมีหลายส่วนทั้งในส่วนของการลักลอบนำเข้าปาล์มน้ำมันเถื่อนหรือน้ำมันปาล์มเตือนจากประเทศเพื่อนบ้านโดยเข้ามาทางผ่านทางชายแดนไม่ว่าจะเป็นทางบกทางเรือ รวมถึงมาตรการการรับซื้อผลปาล์มดิบจากเกษตรกรมาตรฐานและเครื่องมือในการวัดเปอร์เซ็นต์น้ำมัน นั้นยังเป็นเรื่องที่ถูกเถียงและเป็นสาเหตุให้เกิดการประท้วงของกลุ่มเกษตรกรสวนปาล์มน้ำมัน
ในการแก้ไขปัญหา ระยะสั้นควรมีการกำหนดราคาให้ชัดเจนรวมถึงกำหนดเครื่องมือที่เป็นมาตรฐานในการวัดน้ำมันปรับผลน้ำมันปาล์มดิบผลปาล์มน้ำมันดิบว่ามีเปอร์เซ็นต์น้ำมันเท่าไหร่และรับซื้อในราคานั้น รวมถึงมีการศึกษาในการเพิ่มการใช้งาน ของปาล์มน้ำมันนำไปเป็นเชื้อเพลิงผลิตไบโอดีเซล และควรมีการส่งเสริมการใช้พลังงานไบโอดีเซลที่ผลิตจากปาล์มน้ำมันโดยการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีแก่ผู้ประกอบการเพื่อส่งเสริมและเพิ่มจำนวนการใช้ปริมาณการใช้ปาล์มน้ำมันในประเทศไทย สำหรับการลักลอบนำเข้าน้ำมันปาล์มเถื่อนจากประเทศเพื่อนบ้านนั้นควรมีการตรวจสอบอย่างแข่งขันโดยมีความร่วมมือระหว่างตำรวจตรวจคนเข้าเมืองและทหารเรือเนื่องจากเส้นทางลำเลียงหลักจะเข้าทางจังหวัดสงขลาทั้งทางบกและทางทะเ
Create Date : 29 ตุลาคม 2558 |
Last Update : 29 ตุลาคม 2558 7:53:24 น. |
|
0 comments
|
Counter : 952 Pageviews. |
 |
|
|
|
|
 |
|
|
|