วิธีลดน้ำหนักแบบธรรมชาติ




      เวลาจะลดน้ำหนัก ลดความอ้วน แล้วหาสูตรที่ตรงใจไม่ได้สักทีเนี่ย มันหงุดหงิดจริงๆ มาดูวิธีลดน้ำหนัก ตามธรรมชาติ ที่ไม่ได้ทำยากเย็น รับรองว่าถ้าทำได้ น้ำหนักคุณจะลดลง หุ่นสวยได้แบบไม่ต้องอดอาหารจนโทรม

1. ไม่กินข้าวมื้อเย็น
      ไม่ใช่ว่าเราจะให้อดมื้อเย็นไปซะทีเดียวนะคะ เพราะคุณสามารถทานอาหารพวกผักและผลไม้ได้ หลีกเลี่ยงอาหารพวกแป้ง อาหารทอด ควรทานพวกผลไม้ สลัดผักน้ำใส อาหารที่ย่อยง่ายมากกว่า จะช่วยให้นอนหลับสบายด้วย

2. งดเนื้อสัตว์ ไขมัน ข้าว
      ภายใน 1 สัปดาห์ เราควรเลือกสัก 1 วัน ในการงดกินพวกเนื้อสัตว์ ไขมัน ข้าว แล้วเปลี่ยนมากินพวกผลไม้หรือธัญพืชอย่างเดียวทั้งวัน เช่น มะละกอสุก กล้วย แอปเปิ้ล หรือถั่วต่างๆและไม่ควรกินผลไม้ที่่ให้พลังงานสูงอย่าง ทุเรียน หรือผลไม้ที่มีรสหวานจัดเกินไป

3. เคี้ยวอาหารช้าๆ
      การทานอาหารทุกมื้อแล้วเคี้ยวช้าๆ เคี้ยวให้ละเอียดจะช่วยให้เราอิ่มเร็วและทานได้น้อยลง ที่สำคัญคือ ควรจำไว้ว่าไม่ควรทานอาหารหลัง 6 โมงเย็นหรือช่วงดึกเป็นอันขาด เพราะกินตอนมืดๆ ค่ำๆ นี่แหละตัวการทำให้อ้วนแล้ว

4. ดื่มน้ำผลไม้ก่อนอาหาร
      ก่อนจะทานอาหารควรดื่มน้ำผลไม้หรือจะทานผลไม้สดๆ เลยก็ได้ ซึ่งการปฏิบัติแบบนี้จะช่วยให้เราอิ่มเร็วขึ้น ไม่กินเยอะเกินความจำเป็น และวิตามินในผลไม้ยังช่วยดูดซึมอาหารที่เราทานเข้าไปอีกด้วย

5. ออกกำลังกาย
      ข้อนี้ขาดไม่ได้เลย เพราะทานอาหารแล้วก็ต้องออกแรงให้ร่างกายเคลื่อนไหว เสียเหงื่อกันสักหน่อย ช่วยเผาผลาญไขมัน สุขภาพแข็งแรง และเป็นข้อสำคัญที่ช่วยให้คนลดน้ำหนัก หุ่นสวยได้อย่างใจ

วิธีลดน้ำหนัก นี้ทำได้ง่ายๆ เลยใช่ไหมคะ บางข้อเราก็รู้อยู่แล้ว แต่ถ้ารู้แล้วไม่ทำตามสักทีเมื่อไหร่ถึงจะมีหุ่นเริ่ดๆ เชิดๆ เหมือนคนอื่นเขาล่ะคะ รีบลุกขึ้นมาปฏิวัติตัวเองซะตั้งแต่ตอนนี้เลยดีกว่า...






ที่มา...Spicy

ชาวโลกเศร้าสะเทือนใจกับการจากไปด้วยการฆ่าตัวตายอันเป็นผลมาจากโรคซึมเศร้าของ “โรบิน วิลเลียมส์” นักแสดงชื่อดังที่ฝากผลงานระดับตำนานไว้มากมาย ผู้ที่เคยสร้างรอยยิ้มและเสียงหัวเราะ ใครเลยจะรู้ว่าเบื้องหลังนักแสดงที่มีอารมณ์ดี มีครอบครัวที่อบอุ่นจะต้องต่อสู้กับความเลวร้ายของโรคซึมเศร้า รวมทั้งต้องเข้าสถานบำบัดผู้ติดสุราและยาเสพติด โคเคน จบชีวิตตัวเองด้วยโรคซึมเศร้า

ซูซาน ชไนเดอร์ ผู้เป็นภรรยาได้เปิดเผยภายหลังว่า โรบิน วิลเลียมส์ มีอาการเริ่มต้นของโรคพาร์คินสัน แต่ไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณชน ก่อนเขาเสียชีวิต โรบิน วิลเลียมส์ พูดถึงความกลัวและความวิตกกังวลที่ท่วมท้นในใจที่นำเขากลับไปใช้สุรา

คนทั่วไปคงจะคิดว่า โรคซึมเศร้า คือ อาการเศร้าใจ แต่แท้จริงแล้วโรคซึมเศร้ามีความรุนแรงมากกว่านั้น ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกหดหู่ เศร้าอย่างต่อเนื่องยาวนาน ส่งผลรุนแรงในการใช้ชีวิตปกติ ทำให้เขาไม่สามารถชื่นชมหรือสนใจสิ่งต่างๆ ทำให้เขารู้สึกตัดขาดจากโลก รู้สึกโดดเดี่ยวลำพัง ผู้ป่วยจะมองทุกสิ่งทุกอย่างในแง่ลบ สิ่งที่ โรบิน วิลเลี่ยมส์ ต้องเผชิญนั้นเขาต้องบำบัดการติดสุรา และยาเสพติด เวลาคนมีปัญหามักจะหาทางออกให้ตัวเอง บางคนใช้ทางช่วยผิดๆ เช่น ดื่มสุรา และใช้ยาเสพติดเพื่อให้ลืมความเศร้า โดยที่ไม่รู้ว่าสิ่งนั้นจะยิ่งทำให้สถานการณ์แย่ลง อีกทั้งมีโรคทางกายซ้ำเติม เขาคงจะรู้สึกอัดอั้น เต็มล้นไปด้วยความคิดด้านลบ ทั้งที่เขามีครอบครัวที่รักเขาอย่างลึกซึ้งก็ไม่ได้ช่วยเขาให้ผ่านวิกฤติได้

การจากไปของเขาทำให้ครอบครัวของเขาได้ผลกระทบรุนแรงทางจิตใจ “เซลด้า วิลเลียมส์” ลูกสาว “โรบิน วิลเลียมส์” มีผลกระทบจากคนโจมตีทางสื่อออนไลน์ จนต้องออกมาประกาศเลิกใช้สื่อออนไลน์ เธอรู้สึกแย่และเป็นเรื่องที่โหดร้าย โดยเฉพาะการส่งต่อภาพศพพ่อของเธอ เธอเล่าว่าในวันเกิดของ “โรบิน วิลเลียมส์” ที่ผ่านมา ยังเต็มไปด้วยเสียงหัวเราะ เธอไม่มีวันเข้าใจว่าทำไมพ่อของเธอไม่สามารถหาที่พักพิงใจให้กับตัวเองได้ ทั้งๆ ที่มีคนที่รักเขาอยู่มากมาย

การที่มีสื่อได้ออกมาเผยแพร่ วิธีการฆ่าตัวตายของเขานั้นเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง สังคมไม่จำเป็นต้องรู้วิธีการของเขา บางคนวิพากษ์วิจารณ์เขาอย่างผิดๆ ผู้เชี่ยวชาญเรื่องการป้องกันการฆ่าตัวตาย กล่าวว่า ข้อมูลอาจส่งผลให้ผู้ที่กำลังคิดอยากฆ่าตัวตายลอกเลียนแบบเขาก็ได้

การจากไปของเขาทำให้คิดถึงความโดดเดี่ยวของการป่วยทางจิต เรารู้ว่าการให้ความรู้ การสนับสนุน และการให้ความช่วยเหลือสามารถรักษาชีวิตได้ การเรียนรู้ถึงสัญญาณ และทางเลือกในการรักษาโรคซึมเศร้าและภาวะการป่วยทางจิตอื่นๆ คือจุดที่จะต้องเริ่ม เช่น การหาเพื่อนที่ไว้วางใจได้หรือครอบครัวที่จะรับฟังและเสนอความช่วยเหลือ หาหนทางที่จะเข้าสู่การรักษา โดยการพบจิตแพทย์เพื่อประเมินการรักษา ให้ยา และนักวิชาชีพทางสุขภาพจิตในการช่วยเหลือ โรคซึมเศร้าเป็นโรคที่เกิดจากสารสื่อประสาทในสมองผิดปกติ โดยจะต้องใช้ยาเข้าไปปรับให้สมดุล ซึ่งเป็นโรคที่รักษาได้ บางคนบอกว่าการใช้ธรรมะ หาสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจน่าจะหาย แต่ความจริงไม่เป็นเช่นนั้น โรคซึมเศร้าต้องได้รับการรักษาเป็นระบบโดยจิตแพทย์

การจัดการกับความคิดที่จะฆ่าตัวตาย : ไม่ใช่เรื่องแปลกที่ผู้เป็นโรคซึมเศร้าจะมีความคิดทำร้ายตัวเอง หรือความคิดฆ่าตัวตาย สิ่งสำคัญคือให้จำไว้ ว่าความคิดเหล่านี้เป็นเพียงความคิดเท่านั้นและคุณจะต้องไม่ลงมือทำ ความคิดเหล่านี้จะหมดไปเมื่อเวลาผ่านไป และไม่ควรเก็บเรื่องนี้ไว้คนเดียว ให้คุยกับแพทย์อย่างตรงไปตรงมา ความคิดฆ่าตัวตายเป็นสัญญาณเตือนว่าจะต้องมีการปรับการรักษาใหม่โดยการเปลี่ยนยาหรือหาวิธีการอื่นๆ ให้ตกลงกับญาติหรือเพื่อนๆ ว่าคุณจะโทรศัพท์หาเขา หากมีแนวโน้มที่คุณจะลงมือทำสิ่งต่างๆ เก็บเบอร์โทรศัพท์ที่สำคัญต่างๆ ไว้กับตัวรวมทั้งเบอร์โทรศัพท์ของแพทย์ของคุณ และคนที่คุณสัญญาว่าจะโทรศัพท์ไปหาหาก คุณรู้สึกอยากฆ่าตัวตาย และเบอร์โทรศัพท์สายด่วนที่ ให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง คือ 1323 

เคน ดัคเวอธ แห่งองค์กรนามีได้เขียนในบล็อกขององค์กร ถึงเรื่องที่ว่า เราจะทำอะไรได้บ้างเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า ไว้ดังนี้ :

  • เป็นปากเป็นเสียง ต่อสู้เพื่อเข้าสู่การรักษาที่ดีขึ้น และทำการวิจัยเกี่ยวกับการป่วยทางจิต
  • ให้ผู้คนได้เข้าสู่การคัดกรองว่าเข้าข่ายเป็นโรคซึมเศร้าหรือไม่ตั้งแต่เนิ่นๆ วันแห่งการคัดกรองโรคซึมเศร้าแห่งชาติของอเมริกา คือ วันที่ 9 ตุลาคม
  • ให้กำลังใจให้ผู้ป่วยมั่นคง ต่อสู้  รับการรักษา
  • ต่อต้านการใช้ยาเสพติด เพราะสารเสพติดจะทำลายแผนการรักษาโรค
  • สนับสนุนให้ผู้คนได้พูดถึงสภาวะโรคซึมเศร้าของตัวเอง การแยกตัว และเก็บเงียบนั้นเป็นอันตราย
  • ร่วมมือกัน หลายเสียงนั้นมีพลังมากกว่าอยู่คนเดียว
  • ให้ความรัก อย่างที่ “โรบิน วิลเลี่ยมส์” ได้แสดงไว้ใน “Good Will Hunting” เราสามารถช่วยและรักคนที่เรารู้ว่าเขากำลังต่อสู้อยู่กับโรคซึมเศร้า และให้เขารู้ว่าเราอยู่กับเขาเสมอ

จากข่าวการเสียชีวิตของ “โรบิน วิลเลียมส์” เป็นกระแสสังคมของโลก ผู้ที่ป่วยด้วยโรคซึมเศร้าได้เผยถึงการต่อสู้อาการป่วยทางจิตของตัวเองกับเพื่อน และสังคมออนไลน์มากขึ้น สังคมโลกคงจะได้ตระหนักถึงภัยคุกคามและความเลวร้ายของโรคซึมเศร้า และมีความรู้ที่จะรับมือและช่วยเหลือตนเองหรือผู้อื่นได้มากขึ้น

ขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งต่อครอบครัว ของ “โรบิน วิลเลี่ยมส์” หลับให้สบาย เราจะคิดถึงคุณ

- See more at: //www.thaifamilylink.net/web/node/63#sthash.7hizteza.dpuf

ชาวโลกเศร้าสะเทือนใจกับการจากไปด้วยการฆ่าตัวตายอันเป็นผลมาจากโรคซึมเศร้าของ “โรบิน วิลเลียมส์” นักแสดงชื่อดังที่ฝากผลงานระดับตำนานไว้มากมาย ผู้ที่เคยสร้างรอยยิ้มและเสียงหัวเราะ ใครเลยจะรู้ว่าเบื้องหลังนักแสดงที่มีอารมณ์ดี มีครอบครัวที่อบอุ่นจะต้องต่อสู้กับความเลวร้ายของโรคซึมเศร้า รวมทั้งต้องเข้าสถานบำบัดผู้ติดสุราและยาเสพติด โคเคน จบชีวิตตัวเองด้วยโรคซึมเศร้า

ซูซาน ชไนเดอร์ ผู้เป็นภรรยาได้เปิดเผยภายหลังว่า โรบิน วิลเลียมส์ มีอาการเริ่มต้นของโรคพาร์คินสัน แต่ไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณชน ก่อนเขาเสียชีวิต โรบิน วิลเลียมส์ พูดถึงความกลัวและความวิตกกังวลที่ท่วมท้นในใจที่นำเขากลับไปใช้สุรา

คนทั่วไปคงจะคิดว่า โรคซึมเศร้า คือ อาการเศร้าใจ แต่แท้จริงแล้วโรคซึมเศร้ามีความรุนแรงมากกว่านั้น ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกหดหู่ เศร้าอย่างต่อเนื่องยาวนาน ส่งผลรุนแรงในการใช้ชีวิตปกติ ทำให้เขาไม่สามารถชื่นชมหรือสนใจสิ่งต่างๆ ทำให้เขารู้สึกตัดขาดจากโลก รู้สึกโดดเดี่ยวลำพัง ผู้ป่วยจะมองทุกสิ่งทุกอย่างในแง่ลบ สิ่งที่ โรบิน วิลเลี่ยมส์ ต้องเผชิญนั้นเขาต้องบำบัดการติดสุรา และยาเสพติด เวลาคนมีปัญหามักจะหาทางออกให้ตัวเอง บางคนใช้ทางช่วยผิดๆ เช่น ดื่มสุรา และใช้ยาเสพติดเพื่อให้ลืมความเศร้า โดยที่ไม่รู้ว่าสิ่งนั้นจะยิ่งทำให้สถานการณ์แย่ลง อีกทั้งมีโรคทางกายซ้ำเติม เขาคงจะรู้สึกอัดอั้น เต็มล้นไปด้วยความคิดด้านลบ ทั้งที่เขามีครอบครัวที่รักเขาอย่างลึกซึ้งก็ไม่ได้ช่วยเขาให้ผ่านวิกฤติได้

การจากไปของเขาทำให้ครอบครัวของเขาได้ผลกระทบรุนแรงทางจิตใจ “เซลด้า วิลเลียมส์” ลูกสาว “โรบิน วิลเลียมส์” มีผลกระทบจากคนโจมตีทางสื่อออนไลน์ จนต้องออกมาประกาศเลิกใช้สื่อออนไลน์ เธอรู้สึกแย่และเป็นเรื่องที่โหดร้าย โดยเฉพาะการส่งต่อภาพศพพ่อของเธอ เธอเล่าว่าในวันเกิดของ “โรบิน วิลเลียมส์” ที่ผ่านมา ยังเต็มไปด้วยเสียงหัวเราะ เธอไม่มีวันเข้าใจว่าทำไมพ่อของเธอไม่สามารถหาที่พักพิงใจให้กับตัวเองได้ ทั้งๆ ที่มีคนที่รักเขาอยู่มากมาย

การที่มีสื่อได้ออกมาเผยแพร่ วิธีการฆ่าตัวตายของเขานั้นเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง สังคมไม่จำเป็นต้องรู้วิธีการของเขา บางคนวิพากษ์วิจารณ์เขาอย่างผิดๆ ผู้เชี่ยวชาญเรื่องการป้องกันการฆ่าตัวตาย กล่าวว่า ข้อมูลอาจส่งผลให้ผู้ที่กำลังคิดอยากฆ่าตัวตายลอกเลียนแบบเขาก็ได้

การจากไปของเขาทำให้คิดถึงความโดดเดี่ยวของการป่วยทางจิต เรารู้ว่าการให้ความรู้ การสนับสนุน และการให้ความช่วยเหลือสามารถรักษาชีวิตได้ การเรียนรู้ถึงสัญญาณ และทางเลือกในการรักษาโรคซึมเศร้าและภาวะการป่วยทางจิตอื่นๆ คือจุดที่จะต้องเริ่ม เช่น การหาเพื่อนที่ไว้วางใจได้หรือครอบครัวที่จะรับฟังและเสนอความช่วยเหลือ หาหนทางที่จะเข้าสู่การรักษา โดยการพบจิตแพทย์เพื่อประเมินการรักษา ให้ยา และนักวิชาชีพทางสุขภาพจิตในการช่วยเหลือ โรคซึมเศร้าเป็นโรคที่เกิดจากสารสื่อประสาทในสมองผิดปกติ โดยจะต้องใช้ยาเข้าไปปรับให้สมดุล ซึ่งเป็นโรคที่รักษาได้ บางคนบอกว่าการใช้ธรรมะ หาสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจน่าจะหาย แต่ความจริงไม่เป็นเช่นนั้น โรคซึมเศร้าต้องได้รับการรักษาเป็นระบบโดยจิตแพทย์

การจัดการกับความคิดที่จะฆ่าตัวตาย : ไม่ใช่เรื่องแปลกที่ผู้เป็นโรคซึมเศร้าจะมีความคิดทำร้ายตัวเอง หรือความคิดฆ่าตัวตาย สิ่งสำคัญคือให้จำไว้ ว่าความคิดเหล่านี้เป็นเพียงความคิดเท่านั้นและคุณจะต้องไม่ลงมือทำ ความคิดเหล่านี้จะหมดไปเมื่อเวลาผ่านไป และไม่ควรเก็บเรื่องนี้ไว้คนเดียว ให้คุยกับแพทย์อย่างตรงไปตรงมา ความคิดฆ่าตัวตายเป็นสัญญาณเตือนว่าจะต้องมีการปรับการรักษาใหม่โดยการเปลี่ยนยาหรือหาวิธีการอื่นๆ ให้ตกลงกับญาติหรือเพื่อนๆ ว่าคุณจะโทรศัพท์หาเขา หากมีแนวโน้มที่คุณจะลงมือทำสิ่งต่างๆ เก็บเบอร์โทรศัพท์ที่สำคัญต่างๆ ไว้กับตัวรวมทั้งเบอร์โทรศัพท์ของแพทย์ของคุณ และคนที่คุณสัญญาว่าจะโทรศัพท์ไปหาหาก คุณรู้สึกอยากฆ่าตัวตาย และเบอร์โทรศัพท์สายด่วนที่ ให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง คือ 1323 

เคน ดัคเวอธ แห่งองค์กรนามีได้เขียนในบล็อกขององค์กร ถึงเรื่องที่ว่า เราจะทำอะไรได้บ้างเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า ไว้ดังนี้ :

  • เป็นปากเป็นเสียง ต่อสู้เพื่อเข้าสู่การรักษาที่ดีขึ้น และทำการวิจัยเกี่ยวกับการป่วยทางจิต
  • ให้ผู้คนได้เข้าสู่การคัดกรองว่าเข้าข่ายเป็นโรคซึมเศร้าหรือไม่ตั้งแต่เนิ่นๆ วันแห่งการคัดกรองโรคซึมเศร้าแห่งชาติของอเมริกา คือ วันที่ 9 ตุลาคม
  • ให้กำลังใจให้ผู้ป่วยมั่นคง ต่อสู้  รับการรักษา
  • ต่อต้านการใช้ยาเสพติด เพราะสารเสพติดจะทำลายแผนการรักษาโรค
  • สนับสนุนให้ผู้คนได้พูดถึงสภาวะโรคซึมเศร้าของตัวเอง การแยกตัว และเก็บเงียบนั้นเป็นอันตราย
  • ร่วมมือกัน หลายเสียงนั้นมีพลังมากกว่าอยู่คนเดียว
  • ให้ความรัก อย่างที่ “โรบิน วิลเลี่ยมส์” ได้แสดงไว้ใน “Good Will Hunting” เราสามารถช่วยและรักคนที่เรารู้ว่าเขากำลังต่อสู้อยู่กับโรคซึมเศร้า และให้เขารู้ว่าเราอยู่กับเขาเสมอ

จากข่าวการเสียชีวิตของ “โรบิน วิลเลียมส์” เป็นกระแสสังคมของโลก ผู้ที่ป่วยด้วยโรคซึมเศร้าได้เผยถึงการต่อสู้อาการป่วยทางจิตของตัวเองกับเพื่อน และสังคมออนไลน์มากขึ้น สังคมโลกคงจะได้ตระหนักถึงภัยคุกคามและความเลวร้ายของโรคซึมเศร้า และมีความรู้ที่จะรับมือและช่วยเหลือตนเองหรือผู้อื่นได้มากขึ้น

ขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งต่อครอบครัว ของ “โรบิน วิลเลี่ยมส์” หลับให้สบาย เราจะคิดถึงคุณ

ที่มา:

คอลัมน์:

- See more at: //www.thaifamilylink.net/web/node/63#sthash.7hizteza.dpuf

โรบิน วิลเลียมส์ กับ การจากไปด้วยโรคซึมเศร้า

-A +A

        ชาวโลกเศร้าสะเทือนใจกับการจากไปด้วยการฆ่าตัวตายอันเป็นผลมาจากโรคซึมเศร้าของ “โรบิน วิลเลียมส์” นักแสดงชื่อดังที่ฝากผลงานระดับตำนานไว้มากมาย ผู้ที่เคยสร้างรอยยิ้มและเสียงหัวเราะ ใครเลยจะรู้ว่าเบื้องหลังนักแสดงที่มีอารมณ์ดี มีครอบครัวที่อบอุ่นจะต้องต่อสู้กับความเลวร้ายของโรคซึมเศร้า รวมทั้งต้องเข้าสถานบำบัดผู้ติดสุราและยาเสพติด โคเคน จบชีวิตตัวเองด้วยโรคซึมเศร้า

ซูซาน ชไนเดอร์ ผู้เป็นภรรยาได้เปิดเผยภายหลังว่า โรบิน วิลเลียมส์ มีอาการเริ่มต้นของโรคพาร์คินสัน แต่ไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณชน ก่อนเขาเสียชีวิต โรบิน วิลเลียมส์ พูดถึงความกลัวและความวิตกกังวลที่ท่วมท้นในใจที่นำเขากลับไปใช้สุรา

คนทั่วไปคงจะคิดว่า โรคซึมเศร้า คือ อาการเศร้าใจ แต่แท้จริงแล้วโรคซึมเศร้ามีความรุนแรงมากกว่านั้น ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกหดหู่ เศร้าอย่างต่อเนื่องยาวนาน ส่งผลรุนแรงในการใช้ชีวิตปกติ ทำให้เขาไม่สามารถชื่นชมหรือสนใจสิ่งต่างๆ ทำให้เขารู้สึกตัดขาดจากโลก รู้สึกโดดเดี่ยวลำพัง ผู้ป่วยจะมองทุกสิ่งทุกอย่างในแง่ลบ สิ่งที่ โรบิน วิลเลี่ยมส์ ต้องเผชิญนั้นเขาต้องบำบัดการติดสุรา และยาเสพติด เวลาคนมีปัญหามักจะหาทางออกให้ตัวเอง บางคนใช้ทางช่วยผิดๆ เช่น ดื่มสุรา และใช้ยาเสพติดเพื่อให้ลืมความเศร้า โดยที่ไม่รู้ว่าสิ่งนั้นจะยิ่งทำให้สถานการณ์แย่ลง อีกทั้งมีโรคทางกายซ้ำเติม เขาคงจะรู้สึกอัดอั้น เต็มล้นไปด้วยความคิดด้านลบ ทั้งที่เขามีครอบครัวที่รักเขาอย่างลึกซึ้งก็ไม่ได้ช่วยเขาให้ผ่านวิกฤติได้

การจากไปของเขาทำให้ครอบครัวของเขาได้ผลกระทบรุนแรงทางจิตใจ “เซลด้า วิลเลียมส์” ลูกสาว “โรบิน วิลเลียมส์” มีผลกระทบจากคนโจมตีทางสื่อออนไลน์ จนต้องออกมาประกาศเลิกใช้สื่อออนไลน์ เธอรู้สึกแย่และเป็นเรื่องที่โหดร้าย โดยเฉพาะการส่งต่อภาพศพพ่อของเธอ เธอเล่าว่าในวันเกิดของ “โรบิน วิลเลียมส์” ที่ผ่านมา ยังเต็มไปด้วยเสียงหัวเราะ เธอไม่มีวันเข้าใจว่าทำไมพ่อของเธอไม่สามารถหาที่พักพิงใจให้กับตัวเองได้ ทั้งๆ ที่มีคนที่รักเขาอยู่มากมาย

การที่มีสื่อได้ออกมาเผยแพร่ วิธีการฆ่าตัวตายของเขานั้นเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง สังคมไม่จำเป็นต้องรู้วิธีการของเขา บางคนวิพากษ์วิจารณ์เขาอย่างผิดๆ ผู้เชี่ยวชาญเรื่องการป้องกันการฆ่าตัวตาย กล่าวว่า ข้อมูลอาจส่งผลให้ผู้ที่กำลังคิดอยากฆ่าตัวตายลอกเลียนแบบเขาก็ได้

การจากไปของเขาทำให้คิดถึงความโดดเดี่ยวของการป่วยทางจิต เรารู้ว่าการให้ความรู้ การสนับสนุน และการให้ความช่วยเหลือสามารถรักษาชีวิตได้ การเรียนรู้ถึงสัญญาณ และทางเลือกในการรักษาโรคซึมเศร้าและภาวะการป่วยทางจิตอื่นๆ คือจุดที่จะต้องเริ่ม เช่น การหาเพื่อนที่ไว้วางใจได้หรือครอบครัวที่จะรับฟังและเสนอความช่วยเหลือ หาหนทางที่จะเข้าสู่การรักษา โดยการพบจิตแพทย์เพื่อประเมินการรักษา ให้ยา และนักวิชาชีพทางสุขภาพจิตในการช่วยเหลือ โรคซึมเศร้าเป็นโรคที่เกิดจากสารสื่อประสาทในสมองผิดปกติ โดยจะต้องใช้ยาเข้าไปปรับให้สมดุล ซึ่งเป็นโรคที่รักษาได้ บางคนบอกว่าการใช้ธรรมะ หาสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจน่าจะหาย แต่ความจริงไม่เป็นเช่นนั้น โรคซึมเศร้าต้องได้รับการรักษาเป็นระบบโดยจิตแพทย์

การจัดการกับความคิดที่จะฆ่าตัวตาย : ไม่ใช่เรื่องแปลกที่ผู้เป็นโรคซึมเศร้าจะมีความคิดทำร้ายตัวเอง หรือความคิดฆ่าตัวตาย สิ่งสำคัญคือให้จำไว้ ว่าความคิดเหล่านี้เป็นเพียงความคิดเท่านั้นและคุณจะต้องไม่ลงมือทำ ความคิดเหล่านี้จะหมดไปเมื่อเวลาผ่านไป และไม่ควรเก็บเรื่องนี้ไว้คนเดียว ให้คุยกับแพทย์อย่างตรงไปตรงมา ความคิดฆ่าตัวตายเป็นสัญญาณเตือนว่าจะต้องมีการปรับการรักษาใหม่โดยการเปลี่ยนยาหรือหาวิธีการอื่นๆ ให้ตกลงกับญาติหรือเพื่อนๆ ว่าคุณจะโทรศัพท์หาเขา หากมีแนวโน้มที่คุณจะลงมือทำสิ่งต่างๆ เก็บเบอร์โทรศัพท์ที่สำคัญต่างๆ ไว้กับตัวรวมทั้งเบอร์โทรศัพท์ของแพทย์ของคุณ และคนที่คุณสัญญาว่าจะโทรศัพท์ไปหาหาก คุณรู้สึกอยากฆ่าตัวตาย และเบอร์โทรศัพท์สายด่วนที่ ให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง คือ 1323 

เคน ดัคเวอธ แห่งองค์กรนามีได้เขียนในบล็อกขององค์กร ถึงเรื่องที่ว่า เราจะทำอะไรได้บ้างเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า ไว้ดังนี้ :

  • เป็นปากเป็นเสียง ต่อสู้เพื่อเข้าสู่การรักษาที่ดีขึ้น และทำการวิจัยเกี่ยวกับการป่วยทางจิต
  • ให้ผู้คนได้เข้าสู่การคัดกรองว่าเข้าข่ายเป็นโรคซึมเศร้าหรือไม่ตั้งแต่เนิ่นๆ วันแห่งการคัดกรองโรคซึมเศร้าแห่งชาติของอเมริกา คือ วันที่ 9 ตุลาคม
  • ให้กำลังใจให้ผู้ป่วยมั่นคง ต่อสู้  รับการรักษา
  • ต่อต้านการใช้ยาเสพติด เพราะสารเสพติดจะทำลายแผนการรักษาโรค
  • สนับสนุนให้ผู้คนได้พูดถึงสภาวะโรคซึมเศร้าของตัวเอง การแยกตัว และเก็บเงียบนั้นเป็นอันตราย
  • ร่วมมือกัน หลายเสียงนั้นมีพลังมากกว่าอยู่คนเดียว
  • ให้ความรัก อย่างที่ “โรบิน วิลเลี่ยมส์” ได้แสดงไว้ใน “Good Will Hunting” เราสามารถช่วยและรักคนที่เรารู้ว่าเขากำลังต่อสู้อยู่กับโรคซึมเศร้า และให้เขารู้ว่าเราอยู่กับเขาเสมอ

จากข่าวการเสียชีวิตของ “โรบิน วิลเลียมส์” เป็นกระแสสังคมของโลก ผู้ที่ป่วยด้วยโรคซึมเศร้าได้เผยถึงการต่อสู้อาการป่วยทางจิตของตัวเองกับเพื่อน และสังคมออนไลน์มากขึ้น สังคมโลกคงจะได้ตระหนักถึงภัยคุกคามและความเลวร้ายของโรคซึมเศร้า และมีความรู้ที่จะรับมือและช่วยเหลือตนเองหรือผู้อื่นได้มากขึ้น

ขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งต่อครอบครัว ของ “โรบิน วิลเลี่ยมส์” หลับให้สบาย เราจะคิดถึงคุณ

ที่มา:

- See more at: //www.thaifamilylink.net/web/node/63#sthash.7hizteza.dpuf

โรบิน วิลเลียมส์ กับ การจากไปด้วยโรคซึมเศร้า

-A +A

        ชาวโลกเศร้าสะเทือนใจกับการจากไปด้วยการฆ่าตัวตายอันเป็นผลมาจากโรคซึมเศร้าของ “โรบิน วิลเลียมส์” นักแสดงชื่อดังที่ฝากผลงานระดับตำนานไว้มากมาย ผู้ที่เคยสร้างรอยยิ้มและเสียงหัวเราะ ใครเลยจะรู้ว่าเบื้องหลังนักแสดงที่มีอารมณ์ดี มีครอบครัวที่อบอุ่นจะต้องต่อสู้กับความเลวร้ายของโรคซึมเศร้า รวมทั้งต้องเข้าสถานบำบัดผู้ติดสุราและยาเสพติด โคเคน จบชีวิตตัวเองด้วยโรคซึมเศร้า

ซูซาน ชไนเดอร์ ผู้เป็นภรรยาได้เปิดเผยภายหลังว่า โรบิน วิลเลียมส์ มีอาการเริ่มต้นของโรคพาร์คินสัน แต่ไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณชน ก่อนเขาเสียชีวิต โรบิน วิลเลียมส์ พูดถึงความกลัวและความวิตกกังวลที่ท่วมท้นในใจที่นำเขากลับไปใช้สุรา

คนทั่วไปคงจะคิดว่า โรคซึมเศร้า คือ อาการเศร้าใจ แต่แท้จริงแล้วโรคซึมเศร้ามีความรุนแรงมากกว่านั้น ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกหดหู่ เศร้าอย่างต่อเนื่องยาวนาน ส่งผลรุนแรงในการใช้ชีวิตปกติ ทำให้เขาไม่สามารถชื่นชมหรือสนใจสิ่งต่างๆ ทำให้เขารู้สึกตัดขาดจากโลก รู้สึกโดดเดี่ยวลำพัง ผู้ป่วยจะมองทุกสิ่งทุกอย่างในแง่ลบ สิ่งที่ โรบิน วิลเลี่ยมส์ ต้องเผชิญนั้นเขาต้องบำบัดการติดสุรา และยาเสพติด เวลาคนมีปัญหามักจะหาทางออกให้ตัวเอง บางคนใช้ทางช่วยผิดๆ เช่น ดื่มสุรา และใช้ยาเสพติดเพื่อให้ลืมความเศร้า โดยที่ไม่รู้ว่าสิ่งนั้นจะยิ่งทำให้สถานการณ์แย่ลง อีกทั้งมีโรคทางกายซ้ำเติม เขาคงจะรู้สึกอัดอั้น เต็มล้นไปด้วยความคิดด้านลบ ทั้งที่เขามีครอบครัวที่รักเขาอย่างลึกซึ้งก็ไม่ได้ช่วยเขาให้ผ่านวิกฤติได้

การจากไปของเขาทำให้ครอบครัวของเขาได้ผลกระทบรุนแรงทางจิตใจ “เซลด้า วิลเลียมส์” ลูกสาว “โรบิน วิลเลียมส์” มีผลกระทบจากคนโจมตีทางสื่อออนไลน์ จนต้องออกมาประกาศเลิกใช้สื่อออนไลน์ เธอรู้สึกแย่และเป็นเรื่องที่โหดร้าย โดยเฉพาะการส่งต่อภาพศพพ่อของเธอ เธอเล่าว่าในวันเกิดของ “โรบิน วิลเลียมส์” ที่ผ่านมา ยังเต็มไปด้วยเสียงหัวเราะ เธอไม่มีวันเข้าใจว่าทำไมพ่อของเธอไม่สามารถหาที่พักพิงใจให้กับตัวเองได้ ทั้งๆ ที่มีคนที่รักเขาอยู่มากมาย

การที่มีสื่อได้ออกมาเผยแพร่ วิธีการฆ่าตัวตายของเขานั้นเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง สังคมไม่จำเป็นต้องรู้วิธีการของเขา บางคนวิพากษ์วิจารณ์เขาอย่างผิดๆ ผู้เชี่ยวชาญเรื่องการป้องกันการฆ่าตัวตาย กล่าวว่า ข้อมูลอาจส่งผลให้ผู้ที่กำลังคิดอยากฆ่าตัวตายลอกเลียนแบบเขาก็ได้

การจากไปของเขาทำให้คิดถึงความโดดเดี่ยวของการป่วยทางจิต เรารู้ว่าการให้ความรู้ การสนับสนุน และการให้ความช่วยเหลือสามารถรักษาชีวิตได้ การเรียนรู้ถึงสัญญาณ และทางเลือกในการรักษาโรคซึมเศร้าและภาวะการป่วยทางจิตอื่นๆ คือจุดที่จะต้องเริ่ม เช่น การหาเพื่อนที่ไว้วางใจได้หรือครอบครัวที่จะรับฟังและเสนอความช่วยเหลือ หาหนทางที่จะเข้าสู่การรักษา โดยการพบจิตแพทย์เพื่อประเมินการรักษา ให้ยา และนักวิชาชีพทางสุขภาพจิตในการช่วยเหลือ โรคซึมเศร้าเป็นโรคที่เกิดจากสารสื่อประสาทในสมองผิดปกติ โดยจะต้องใช้ยาเข้าไปปรับให้สมดุล ซึ่งเป็นโรคที่รักษาได้ บางคนบอกว่าการใช้ธรรมะ หาสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจน่าจะหาย แต่ความจริงไม่เป็นเช่นนั้น โรคซึมเศร้าต้องได้รับการรักษาเป็นระบบโดยจิตแพทย์

การจัดการกับความคิดที่จะฆ่าตัวตาย : ไม่ใช่เรื่องแปลกที่ผู้เป็นโรคซึมเศร้าจะมีความคิดทำร้ายตัวเอง หรือความคิดฆ่าตัวตาย สิ่งสำคัญคือให้จำไว้ ว่าความคิดเหล่านี้เป็นเพียงความคิดเท่านั้นและคุณจะต้องไม่ลงมือทำ ความคิดเหล่านี้จะหมดไปเมื่อเวลาผ่านไป และไม่ควรเก็บเรื่องนี้ไว้คนเดียว ให้คุยกับแพทย์อย่างตรงไปตรงมา ความคิดฆ่าตัวตายเป็นสัญญาณเตือนว่าจะต้องมีการปรับการรักษาใหม่โดยการเปลี่ยนยาหรือหาวิธีการอื่นๆ ให้ตกลงกับญาติหรือเพื่อนๆ ว่าคุณจะโทรศัพท์หาเขา หากมีแนวโน้มที่คุณจะลงมือทำสิ่งต่างๆ เก็บเบอร์โทรศัพท์ที่สำคัญต่างๆ ไว้กับตัวรวมทั้งเบอร์โทรศัพท์ของแพทย์ของคุณ และคนที่คุณสัญญาว่าจะโทรศัพท์ไปหาหาก คุณรู้สึกอยากฆ่าตัวตาย และเบอร์โทรศัพท์สายด่วนที่ ให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง คือ 1323 

เคน ดัคเวอธ แห่งองค์กรนามีได้เขียนในบล็อกขององค์กร ถึงเรื่องที่ว่า เราจะทำอะไรได้บ้างเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า ไว้ดังนี้ :

  • เป็นปากเป็นเสียง ต่อสู้เพื่อเข้าสู่การรักษาที่ดีขึ้น และทำการวิจัยเกี่ยวกับการป่วยทางจิต
  • ให้ผู้คนได้เข้าสู่การคัดกรองว่าเข้าข่ายเป็นโรคซึมเศร้าหรือไม่ตั้งแต่เนิ่นๆ วันแห่งการคัดกรองโรคซึมเศร้าแห่งชาติของอเมริกา คือ วันที่ 9 ตุลาคม
  • ให้กำลังใจให้ผู้ป่วยมั่นคง ต่อสู้  รับการรักษา
  • ต่อต้านการใช้ยาเสพติด เพราะสารเสพติดจะทำลายแผนการรักษาโรค
  • สนับสนุนให้ผู้คนได้พูดถึงสภาวะโรคซึมเศร้าของตัวเอง การแยกตัว และเก็บเงียบนั้นเป็นอันตราย
  • ร่วมมือกัน หลายเสียงนั้นมีพลังมากกว่าอยู่คนเดียว
  • ให้ความรัก อย่างที่ “โรบิน วิลเลี่ยมส์” ได้แสดงไว้ใน “Good Will Hunting” เราสามารถช่วยและรักคนที่เรารู้ว่าเขากำลังต่อสู้อยู่กับโรคซึมเศร้า และให้เขารู้ว่าเราอยู่กับเขาเสมอ

จากข่าวการเสียชีวิตของ “โรบิน วิลเลียมส์” เป็นกระแสสังคมของโลก ผู้ที่ป่วยด้วยโรคซึมเศร้าได้เผยถึงการต่อสู้อาการป่วยทางจิตของตัวเองกับเพื่อน และสังคมออนไลน์มากขึ้น สังคมโลกคงจะได้ตระหนักถึงภัยคุกคามและความเลวร้ายของโรคซึมเศร้า และมีความรู้ที่จะรับมือและช่วยเหลือตนเองหรือผู้อื่นได้มากขึ้น

ขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งต่อครอบครัว ของ “โรบิน วิลเลี่ยมส์” หลับให้สบาย เราจะคิดถึงคุณ

ที่มา:

- See more at: //www.thaifamilylink.net/web/node/63#sthash.7hizteza.dpuf

โรบิน วิลเลียมส์ กับ การจากไปด้วยโรคซึมเศร้า

-A +A

        ชาวโลกเศร้าสะเทือนใจกับการจากไปด้วยการฆ่าตัวตายอันเป็นผลมาจากโรคซึมเศร้าของ “โรบิน วิลเลียมส์” นักแสดงชื่อดังที่ฝากผลงานระดับตำนานไว้มากมาย ผู้ที่เคยสร้างรอยยิ้มและเสียงหัวเราะ ใครเลยจะรู้ว่าเบื้องหลังนักแสดงที่มีอารมณ์ดี มีครอบครัวที่อบอุ่นจะต้องต่อสู้กับความเลวร้ายของโรคซึมเศร้า รวมทั้งต้องเข้าสถานบำบัดผู้ติดสุราและยาเสพติด โคเคน จบชีวิตตัวเองด้วยโรคซึมเศร้า

ซูซาน ชไนเดอร์ ผู้เป็นภรรยาได้เปิดเผยภายหลังว่า โรบิน วิลเลียมส์ มีอาการเริ่มต้นของโรคพาร์คินสัน แต่ไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณชน ก่อนเขาเสียชีวิต โรบิน วิลเลียมส์ พูดถึงความกลัวและความวิตกกังวลที่ท่วมท้นในใจที่นำเขากลับไปใช้สุรา

คนทั่วไปคงจะคิดว่า โรคซึมเศร้า คือ อาการเศร้าใจ แต่แท้จริงแล้วโรคซึมเศร้ามีความรุนแรงมากกว่านั้น ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกหดหู่ เศร้าอย่างต่อเนื่องยาวนาน ส่งผลรุนแรงในการใช้ชีวิตปกติ ทำให้เขาไม่สามารถชื่นชมหรือสนใจสิ่งต่างๆ ทำให้เขารู้สึกตัดขาดจากโลก รู้สึกโดดเดี่ยวลำพัง ผู้ป่วยจะมองทุกสิ่งทุกอย่างในแง่ลบ สิ่งที่ โรบิน วิลเลี่ยมส์ ต้องเผชิญนั้นเขาต้องบำบัดการติดสุรา และยาเสพติด เวลาคนมีปัญหามักจะหาทางออกให้ตัวเอง บางคนใช้ทางช่วยผิดๆ เช่น ดื่มสุรา และใช้ยาเสพติดเพื่อให้ลืมความเศร้า โดยที่ไม่รู้ว่าสิ่งนั้นจะยิ่งทำให้สถานการณ์แย่ลง อีกทั้งมีโรคทางกายซ้ำเติม เขาคงจะรู้สึกอัดอั้น เต็มล้นไปด้วยความคิดด้านลบ ทั้งที่เขามีครอบครัวที่รักเขาอย่างลึกซึ้งก็ไม่ได้ช่วยเขาให้ผ่านวิกฤติได้

การจากไปของเขาทำให้ครอบครัวของเขาได้ผลกระทบรุนแรงทางจิตใจ “เซลด้า วิลเลียมส์” ลูกสาว “โรบิน วิลเลียมส์” มีผลกระทบจากคนโจมตีทางสื่อออนไลน์ จนต้องออกมาประกาศเลิกใช้สื่อออนไลน์ เธอรู้สึกแย่และเป็นเรื่องที่โหดร้าย โดยเฉพาะการส่งต่อภาพศพพ่อของเธอ เธอเล่าว่าในวันเกิดของ “โรบิน วิลเลียมส์” ที่ผ่านมา ยังเต็มไปด้วยเสียงหัวเราะ เธอไม่มีวันเข้าใจว่าทำไมพ่อของเธอไม่สามารถหาที่พักพิงใจให้กับตัวเองได้ ทั้งๆ ที่มีคนที่รักเขาอยู่มากมาย

การที่มีสื่อได้ออกมาเผยแพร่ วิธีการฆ่าตัวตายของเขานั้นเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง สังคมไม่จำเป็นต้องรู้วิธีการของเขา บางคนวิพากษ์วิจารณ์เขาอย่างผิดๆ ผู้เชี่ยวชาญเรื่องการป้องกันการฆ่าตัวตาย กล่าวว่า ข้อมูลอาจส่งผลให้ผู้ที่กำลังคิดอยากฆ่าตัวตายลอกเลียนแบบเขาก็ได้

การจากไปของเขาทำให้คิดถึงความโดดเดี่ยวของการป่วยทางจิต เรารู้ว่าการให้ความรู้ การสนับสนุน และการให้ความช่วยเหลือสามารถรักษาชีวิตได้ การเรียนรู้ถึงสัญญาณ และทางเลือกในการรักษาโรคซึมเศร้าและภาวะการป่วยทางจิตอื่นๆ คือจุดที่จะต้องเริ่ม เช่น การหาเพื่อนที่ไว้วางใจได้หรือครอบครัวที่จะรับฟังและเสนอความช่วยเหลือ หาหนทางที่จะเข้าสู่การรักษา โดยการพบจิตแพทย์เพื่อประเมินการรักษา ให้ยา และนักวิชาชีพทางสุขภาพจิตในการช่วยเหลือ โรคซึมเศร้าเป็นโรคที่เกิดจากสารสื่อประสาทในสมองผิดปกติ โดยจะต้องใช้ยาเข้าไปปรับให้สมดุล ซึ่งเป็นโรคที่รักษาได้ บางคนบอกว่าการใช้ธรรมะ หาสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจน่าจะหาย แต่ความจริงไม่เป็นเช่นนั้น โรคซึมเศร้าต้องได้รับการรักษาเป็นระบบโดยจิตแพทย์

การจัดการกับความคิดที่จะฆ่าตัวตาย : ไม่ใช่เรื่องแปลกที่ผู้เป็นโรคซึมเศร้าจะมีความคิดทำร้ายตัวเอง หรือความคิดฆ่าตัวตาย สิ่งสำคัญคือให้จำไว้ ว่าความคิดเหล่านี้เป็นเพียงความคิดเท่านั้นและคุณจะต้องไม่ลงมือทำ ความคิดเหล่านี้จะหมดไปเมื่อเวลาผ่านไป และไม่ควรเก็บเรื่องนี้ไว้คนเดียว ให้คุยกับแพทย์อย่างตรงไปตรงมา ความคิดฆ่าตัวตายเป็นสัญญาณเตือนว่าจะต้องมีการปรับการรักษาใหม่โดยการเปลี่ยนยาหรือหาวิธีการอื่นๆ ให้ตกลงกับญาติหรือเพื่อนๆ ว่าคุณจะโทรศัพท์หาเขา หากมีแนวโน้มที่คุณจะลงมือทำสิ่งต่างๆ เก็บเบอร์โทรศัพท์ที่สำคัญต่างๆ ไว้กับตัวรวมทั้งเบอร์โทรศัพท์ของแพทย์ของคุณ และคนที่คุณสัญญาว่าจะโทรศัพท์ไปหาหาก คุณรู้สึกอยากฆ่าตัวตาย และเบอร์โทรศัพท์สายด่วนที่ ให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง คือ 1323 

เคน ดัคเวอธ แห่งองค์กรนามีได้เขียนในบล็อกขององค์กร ถึงเรื่องที่ว่า เราจะทำอะไรได้บ้างเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า ไว้ดังนี้ :

  • เป็นปากเป็นเสียง ต่อสู้เพื่อเข้าสู่การรักษาที่ดีขึ้น และทำการวิจัยเกี่ยวกับการป่วยทางจิต
  • ให้ผู้คนได้เข้าสู่การคัดกรองว่าเข้าข่ายเป็นโรคซึมเศร้าหรือไม่ตั้งแต่เนิ่นๆ วันแห่งการคัดกรองโรคซึมเศร้าแห่งชาติของอเมริกา คือ วันที่ 9 ตุลาคม
  • ให้กำลังใจให้ผู้ป่วยมั่นคง ต่อสู้  รับการรักษา
  • ต่อต้านการใช้ยาเสพติด เพราะสารเสพติดจะทำลายแผนการรักษาโรค
  • สนับสนุนให้ผู้คนได้พูดถึงสภาวะโรคซึมเศร้าของตัวเอง การแยกตัว และเก็บเงียบนั้นเป็นอันตราย
  • ร่วมมือกัน หลายเสียงนั้นมีพลังมากกว่าอยู่คนเดียว
  • ให้ความรัก อย่างที่ “โรบิน วิลเลี่ยมส์” ได้แสดงไว้ใน “Good Will Hunting” เราสามารถช่วยและรักคนที่เรารู้ว่าเขากำลังต่อสู้อยู่กับโรคซึมเศร้า และให้เขารู้ว่าเราอยู่กับเขาเสมอ

จากข่าวการเสียชีวิตของ “โรบิน วิลเลียมส์” เป็นกระแสสังคมของโลก ผู้ที่ป่วยด้วยโรคซึมเศร้าได้เผยถึงการต่อสู้อาการป่วยทางจิตของตัวเองกับเพื่อน และสังคมออนไลน์มากขึ้น สังคมโลกคงจะได้ตระหนักถึงภัยคุกคามและความเลวร้ายของโรคซึมเศร้า และมีความรู้ที่จะรับมือและช่วยเหลือตนเองหรือผู้อื่นได้มากขึ้น

ขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งต่อครอบครัว ของ “โรบิน วิลเลี่ยมส์” หลับให้สบาย เราจะคิดถึงคุณ

ที่มา:

- See more at: //www.thaifamilylink.net/web/node/63#sthash.7hizteza.dpuf

โรบิน วิลเลียมส์ กับ การจากไปด้วยโรคซึมเศร้า

-A +A

        ชาวโลกเศร้าสะเทือนใจกับการจากไปด้วยการฆ่าตัวตายอันเป็นผลมาจากโรคซึมเศร้าของ “โรบิน วิลเลียมส์” นักแสดงชื่อดังที่ฝากผลงานระดับตำนานไว้มากมาย ผู้ที่เคยสร้างรอยยิ้มและเสียงหัวเราะ ใครเลยจะรู้ว่าเบื้องหลังนักแสดงที่มีอารมณ์ดี มีครอบครัวที่อบอุ่นจะต้องต่อสู้กับความเลวร้ายของโรคซึมเศร้า รวมทั้งต้องเข้าสถานบำบัดผู้ติดสุราและยาเสพติด โคเคน จบชีวิตตัวเองด้วยโรคซึมเศร้า

ซูซาน ชไนเดอร์ ผู้เป็นภรรยาได้เปิดเผยภายหลังว่า โรบิน วิลเลียมส์ มีอาการเริ่มต้นของโรคพาร์คินสัน แต่ไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณชน ก่อนเขาเสียชีวิต โรบิน วิลเลียมส์ พูดถึงความกลัวและความวิตกกังวลที่ท่วมท้นในใจที่นำเขากลับไปใช้สุรา

คนทั่วไปคงจะคิดว่า โรคซึมเศร้า คือ อาการเศร้าใจ แต่แท้จริงแล้วโรคซึมเศร้ามีความรุนแรงมากกว่านั้น ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกหดหู่ เศร้าอย่างต่อเนื่องยาวนาน ส่งผลรุนแรงในการใช้ชีวิตปกติ ทำให้เขาไม่สามารถชื่นชมหรือสนใจสิ่งต่างๆ ทำให้เขารู้สึกตัดขาดจากโลก รู้สึกโดดเดี่ยวลำพัง ผู้ป่วยจะมองทุกสิ่งทุกอย่างในแง่ลบ สิ่งที่ โรบิน วิลเลี่ยมส์ ต้องเผชิญนั้นเขาต้องบำบัดการติดสุรา และยาเสพติด เวลาคนมีปัญหามักจะหาทางออกให้ตัวเอง บางคนใช้ทางช่วยผิดๆ เช่น ดื่มสุรา และใช้ยาเสพติดเพื่อให้ลืมความเศร้า โดยที่ไม่รู้ว่าสิ่งนั้นจะยิ่งทำให้สถานการณ์แย่ลง อีกทั้งมีโรคทางกายซ้ำเติม เขาคงจะรู้สึกอัดอั้น เต็มล้นไปด้วยความคิดด้านลบ ทั้งที่เขามีครอบครัวที่รักเขาอย่างลึกซึ้งก็ไม่ได้ช่วยเขาให้ผ่านวิกฤติได้

การจากไปของเขาทำให้ครอบครัวของเขาได้ผลกระทบรุนแรงทางจิตใจ “เซลด้า วิลเลียมส์” ลูกสาว “โรบิน วิลเลียมส์” มีผลกระทบจากคนโจมตีทางสื่อออนไลน์ จนต้องออกมาประกาศเลิกใช้สื่อออนไลน์ เธอรู้สึกแย่และเป็นเรื่องที่โหดร้าย โดยเฉพาะการส่งต่อภาพศพพ่อของเธอ เธอเล่าว่าในวันเกิดของ “โรบิน วิลเลียมส์” ที่ผ่านมา ยังเต็มไปด้วยเสียงหัวเราะ เธอไม่มีวันเข้าใจว่าทำไมพ่อของเธอไม่สามารถหาที่พักพิงใจให้กับตัวเองได้ ทั้งๆ ที่มีคนที่รักเขาอยู่มากมาย

การที่มีสื่อได้ออกมาเผยแพร่ วิธีการฆ่าตัวตายของเขานั้นเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง สังคมไม่จำเป็นต้องรู้วิธีการของเขา บางคนวิพากษ์วิจารณ์เขาอย่างผิดๆ ผู้เชี่ยวชาญเรื่องการป้องกันการฆ่าตัวตาย กล่าวว่า ข้อมูลอาจส่งผลให้ผู้ที่กำลังคิดอยากฆ่าตัวตายลอกเลียนแบบเขาก็ได้

การจากไปของเขาทำให้คิดถึงความโดดเดี่ยวของการป่วยทางจิต เรารู้ว่าการให้ความรู้ การสนับสนุน และการให้ความช่วยเหลือสามารถรักษาชีวิตได้ การเรียนรู้ถึงสัญญาณ และทางเลือกในการรักษาโรคซึมเศร้าและภาวะการป่วยทางจิตอื่นๆ คือจุดที่จะต้องเริ่ม เช่น การหาเพื่อนที่ไว้วางใจได้หรือครอบครัวที่จะรับฟังและเสนอความช่วยเหลือ หาหนทางที่จะเข้าสู่การรักษา โดยการพบจิตแพทย์เพื่อประเมินการรักษา ให้ยา และนักวิชาชีพทางสุขภาพจิตในการช่วยเหลือ โรคซึมเศร้าเป็นโรคที่เกิดจากสารสื่อประสาทในสมองผิดปกติ โดยจะต้องใช้ยาเข้าไปปรับให้สมดุล ซึ่งเป็นโรคที่รักษาได้ บางคนบอกว่าการใช้ธรรมะ หาสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจน่าจะหาย แต่ความจริงไม่เป็นเช่นนั้น โรคซึมเศร้าต้องได้รับการรักษาเป็นระบบโดยจิตแพทย์

การจัดการกับความคิดที่จะฆ่าตัวตาย : ไม่ใช่เรื่องแปลกที่ผู้เป็นโรคซึมเศร้าจะมีความคิดทำร้ายตัวเอง หรือความคิดฆ่าตัวตาย สิ่งสำคัญคือให้จำไว้ ว่าความคิดเหล่านี้เป็นเพียงความคิดเท่านั้นและคุณจะต้องไม่ลงมือทำ ความคิดเหล่านี้จะหมดไปเมื่อเวลาผ่านไป และไม่ควรเก็บเรื่องนี้ไว้คนเดียว ให้คุยกับแพทย์อย่างตรงไปตรงมา ความคิดฆ่าตัวตายเป็นสัญญาณเตือนว่าจะต้องมีการปรับการรักษาใหม่โดยการเปลี่ยนยาหรือหาวิธีการอื่นๆ ให้ตกลงกับญาติหรือเพื่อนๆ ว่าคุณจะโทรศัพท์หาเขา หากมีแนวโน้มที่คุณจะลงมือทำสิ่งต่างๆ เก็บเบอร์โทรศัพท์ที่สำคัญต่างๆ ไว้กับตัวรวมทั้งเบอร์โทรศัพท์ของแพทย์ของคุณ และคนที่คุณสัญญาว่าจะโทรศัพท์ไปหาหาก คุณรู้สึกอยากฆ่าตัวตาย และเบอร์โทรศัพท์สายด่วนที่ ให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง คือ 1323 

เคน ดัคเวอธ แห่งองค์กรนามีได้เขียนในบล็อกขององค์กร ถึงเรื่องที่ว่า เราจะทำอะไรได้บ้างเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า ไว้ดังนี้ :

  • เป็นปากเป็นเสียง ต่อสู้เพื่อเข้าสู่การรักษาที่ดีขึ้น และทำการวิจัยเกี่ยวกับการป่วยทางจิต
  • ให้ผู้คนได้เข้าสู่การคัดกรองว่าเข้าข่ายเป็นโรคซึมเศร้าหรือไม่ตั้งแต่เนิ่นๆ วันแห่งการคัดกรองโรคซึมเศร้าแห่งชาติของอเมริกา คือ วันที่ 9 ตุลาคม
  • ให้กำลังใจให้ผู้ป่วยมั่นคง ต่อสู้  รับการรักษา
  • ต่อต้านการใช้ยาเสพติด เพราะสารเสพติดจะทำลายแผนการรักษาโรค
  • สนับสนุนให้ผู้คนได้พูดถึงสภาวะโรคซึมเศร้าของตัวเอง การแยกตัว และเก็บเงียบนั้นเป็นอันตราย
  • ร่วมมือกัน หลายเสียงนั้นมีพลังมากกว่าอยู่คนเดียว
  • ให้ความรัก อย่างที่ “โรบิน วิลเลี่ยมส์” ได้แสดงไว้ใน “Good Will Hunting” เราสามารถช่วยและรักคนที่เรารู้ว่าเขากำลังต่อสู้อยู่กับโรคซึมเศร้า และให้เขารู้ว่าเราอยู่กับเขาเสมอ

จากข่าวการเสียชีวิตของ “โรบิน วิลเลียมส์” เป็นกระแสสังคมของโลก ผู้ที่ป่วยด้วยโรคซึมเศร้าได้เผยถึงการต่อสู้อาการป่วยทางจิตของตัวเองกับเพื่อน และสังคมออนไลน์มากขึ้น สังคมโลกคงจะได้ตระหนักถึงภัยคุกคามและความเลวร้ายของโรคซึมเศร้า และมีความรู้ที่จะรับมือและช่วยเหลือตนเองหรือผู้อื่นได้มากขึ้น

ขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งต่อครอบครัว ของ “โรบิน วิลเลี่ยมส์” หลับให้สบาย เราจะคิดถึงคุณ

ที่มา:

- See more at: //www.thaifamilylink.net/web/node/63#sthash.7hizteza.dpuf



Create Date : 07 มีนาคม 2558
Last Update : 7 มีนาคม 2558 22:14:35 น.
Counter : 602 Pageviews.

1 comments
  
สวัสดีนะจ้ะ เราแวะมาเยี่ยมนะจ้ะ ^____^ สักคิ้ว 6 มิติ ลบรอยสักคิ้วด้วยเลเซอร์ ลบรอยสักคิ้ว Eyebrow Tattoo Removal เพ้นท์คิ้วลายเส้น เพ้นท์คิ้ว 3 มิติ
ให้ใจหายใจ สุขภาพ วิธีลดความอ้วน การดูแลสุขภาพ อาหารเพื่อสุขภาพ ออกกำลังกาย สุขภาพผู้หญิง สุขภาพผู้ชาย สุขภาพจิต โรคและการป้องกัน สมุนไพรไทย ผู้หญิง ศัลยกรรม ความสวยความงาม แม่ตั้งครรภ์ สุขภาพแม่ตั้งครรภ์ พัฒนาการตั้งครรภ์ 40 สัปดาห์ อาหารสำหรับแม่ตั้งครรภ์ โรคขณะตั้งครรภ์ การคลอด หลังคลอด การออกกำลังกาย ทารกแรกเกิด สุขภาพทารกแรกเกิด ผิวทารกแรกเกิด การพัฒนาการของเด็กแรกเกิด การดูแลทารกแรกเกิด โรคและวัคซีนสำหรับเด็กแรกเกิด เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อาหารสำหรับทารก เด็กโต สุขภาพเด็ก ผิวเด็ก การพัฒนาการเด็ก การดูแลเด็ก โรคและวัคซีนเด็ก อาหารสำหรับเด็ก การเล่นและการเรียนรู้ ครอบครัว ชีวิตครอบครัว ปัญหาภายในครอบครัว ความเชื่อ คนโบราณ
โดย: peepoobakub วันที่: 14 มีนาคม 2560 เวลา:14:36:24 น.
ชื่อ : * blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
 *ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
 

สมาชิกหมายเลข 1394611
Location :
  

[ดู Profile ทั้งหมด]
 ฝากข้อความหลังไมค์
 Rss Feed
 Smember
 ผู้ติดตามบล็อก : 1 คน [?]



All Blog