.....อีกหมากไล่หมากหนีดีทั้งคู่ ............. มีเรืออยู่คนละลำปล้ำขับขัน
ข้างหมากไล่ได้เบี้ยช่วยบังกัน .............. ไขว้ผูกพันเบื้องหลังพอบังสกนธ์
หมากรูปนี้มักจะมีอยู่บ่อยบ่อย .............. จงคิดคอยดูอย่าเฟือนเลือนฉงน
ทั้งเบี้ยเทียมเทียบถูกผูกจำนน .............. นิยมผลหกสิบสี่ที่สัญญา
แม้ไม่จนพ้นคำนวณคำนึงเสนอ ............. ก็เสมอเหมือนตำหรับตำราว่า
อย่าเลินเล่อเผลอพล้ำให้พลั้งตา ........... จงไตร่ตราตรึกตริดำริตรอง
ฝ่ายไล่: ขุน, เรือ ๑, เบี้ยหงาย ๒ (ผูก หรือ เทียม ก็ได้)
ฝ่ายหนี: ขุน, เรือ ๑
หมากไล่-หมากหนี นับศักดิ์กระดาน ๖๔ รูปนี้คือ รูปแบบที่ ๒ จาก
เพลงยาวกระบวรไล่หมากรุก ตามที่นำเสนอไว้ในบล็อกชื่อ
หมากรุกไทย - ๑๒ รูปแบบ หมากไล่-หมากหนีตัวอย่างที่นำเสนอในบล็อกนี้ นำมาจากส่วนหนึ่งของบันทึกเกมการแข่งขันใน
ตำราหมากรุกไทย ฉบับสมบูรณ์แบบ โดย สุนทร ศราภัยวานิช ซึ่งเกมนี้แข่งขันที่สนามหลวง วันที่ ๑ เมษายน ๒๔๗๘
ฝ่ายหนีคือ นายมูล และฝ่ายไล่คือ นายพลบ จาดบรรเทิง เป็นการไล่แบบเบี้ยหงายผูก โดยฝ่ายหนีนับศักดิ์กระดานได้ครบ ๖๔ เสมอกันไป ซึ่งมีเทคนิคการหนีที่น่าสนใจมากครับ ดังนี้
(หมายเหตุ: ในเกมการแข่งขันที่ยกตัวอย่างมานี้ เบี้ยหงายที่ตา จ๕ จะเป็นเม็ด แต่เพื่อให้อยู่ในรูปทั่วไป ผมจึงขออนุญาตเปลี่ยนเป็นเบี้ยหงายครับ)
1) ร, ก3-ก5 ข, จ4-ฉ5
2) ร, ก5-ง5 ร, ค1-ญ1
3) ร, ง5-ง2 ร, ญ1-ญ7+
4) ข, ง7-ค6 ข, ฉ5-จ6
5) ร, ง2-ง3 ร, ญ7-ญ1
6) ข, ค6-ค5 ร, ญ1-ญ4
7) ร, ง3-ง1 ง, ฉ6-จ7
8) ร, ง1-ง2 ง, จ7-ง6+
9) ข, ค5-ค6 ง, จ5-ง4
10) ร, ง2-ช2 ง, ง6-จ5
11) ร, ช2-ช8 ง, จ5-ฉ6
12) ร, ช8-ง8 ง, ฉ6-จ7
13) ร, ง8-ง5 ง, ง4-จ5
14) ร, ง5-ข5 ง, จ7-ง6
15) ร, ข5-ข4 ง, จ5-ง4
ภาพหลังจาก 15) ร, ข5-ข416) ร, ข4-ข8 ร, ญ4-ญ5
17) ร, ข8-ข5 ง, ง6-จ5
ภาพหลังจาก 17) ร, ข8-ข518) ร, ข5-ข8 ร, ญ5-ญ6
19) ร, ข8-ข6 ข, จ6-ฉ5 (เปิดรุก)
20) ข, ค6-ค7 ร, ญ6-ญ1
ภาพหลังจาก 20) ข, ค6-ค721) ข, ค7-ง7 ง, ง4-ค5
22) ร, ข6-ข2 ข, ฉ5-จ4
23) ข, ง7-ค6 ร, ญ1-ค1
24) ร, ข2-จ2+ ข, จ4-ง3
ภาพหลังจาก 24) ร, ข2-จ2+ ข, จ4-ง3(ถ้าต่อมาฝ่ายหนีเดิน ร, จ๒xจ๕ จะถูกฝ่ายไล่เดิน ง, ค๕-ง๔ เปิดรุก
ฝ่ายหนีจะเสียเรือฟรี แล้วถูกไล่นับศักดิ์หมากเรือคือ ๑๖ ซึ่งฝ่ายไล่น่าจะชนะได้)
25) ร, จ2-ญ2 ง, ค5-ง4 (เปิดรุก)
26) ข, ค6-ง7 ข, ง3-จ4
27) ร, ญ2-ญ7 ข, จ4-ง5
28) ข, ง7-จ8 ง, จ5-ง6
29) ร, ญ7-ก7 ง, ง4-จ5
30) ร, ก7-ข7 ร, ค1-ญ1
31) ร, ข7-ช7 ง, จ5-ฉ6
32) ร, ช7-ข7 ร, ญ1-ญ8+
33) ข, จ8-ง7 ร, ญ8-ญ7+
34) ข, ง7-ค8 ง, ฉ6-จ7
ภาพหลังจาก 34) ข, ง7-ค835) ร, ข7-ข6 ง, ง6-ค5
36) ร, ข6-ข7 ร, ญ7-ญ8+
37) ข, ค8-ค7 ง, จ7-ง6+
38) ข, ค7-ง7 ร, ญ8-ช8
39) ร, ข7-ข1 ร, ช8-ช7+
40) ข, ง7-จ8 ข, ง5-จ6
41) ร, ข1-จ1+ ง, ง6-จ5
ภาพหลังจาก 41) ร, ข1-จ1+42) ข, จ8-ง8 ข, จ6-ง6
43) ร, จ1-ง1+ ง, ค5-ง4
ภาพหลังจาก 43) ร, จ1-ง1+44) ข, ง8-ค8 ร, ช7-ค7+
45) ข, ค8-ง8 ร, ค7-ข7
46) ข, ง8-ค8 ร, ข7-ข4
47) ร, ง1-ก1 ร, ข4-ค4+
48) ข, ค8-ข7 ง, ง4-ค5
49) ร, ก1-ก6 ข, ง6-ง7
50) ร, ก6-ก7 ง, จ5-ง6
51) ข, ข7-ข8 (เปิดรุก) ข, ง7-ง8
ภาพหลังจาก 51) ข, ข7-ข8 (เปิดรุก)52) ข, ข8-ข7 ง, ง6-ค7
53) ร, ก7-ก1 ข, ง8-ง7
54) ร, ก1-ข1 ง, ค7-ง6
55) ข, ข7-ก6 ข, ง7-ค6
56) ร, ข1-ข6+ ข, ค6-ง5
ภาพหลังจาก 56) ร, ข1-ข6+57) ร, ข6-ข1 ร, ค4-ญ4
58) ข, ก6-ข7 ร, ญ4-ญ7+
59) ข, ข7-ก6 ร, ญ7-จ7
60) ร, ข1-ข2 ง, ง6-ค7
61) ร, ข2-ง2+ ข, ง5-ค6
62) ร, ง2-ข2 ร, จ7-จ8
63) ร, ข2-ข6+ ข, ค6-ง5
ภาพหลังจาก 63) ร, ข2-ข6+64) ร, ข6-ข3
อ้างอิง:
- ตำราหมากรุกไทย ฉบับสมบูรณ์แบบ โดย สุนทร ศราภัยวานิช
- สนุกกับหมากรุกไทย โดย วินัย ลิ้มดำรงค์ชิต
- หมากรุกไทย โดย นายแพทย์ ประกอบ บุญไทย
- หลักการและวิธีการเดินหมากรุกไทย โดย สุนทร ศราภัยวานิช
- ภาพ และข้อความบันทึกหมากส่วนใหญ่ นำมาจากโปรแกรมถอดหมาก thaichess.net/chess ที่พัฒนาโดยคุณเอก และคุณไพรัฐ ศรีดุรงคธรรมพ์ (ข้อมูลจาก thaichess.net/?page_id=673)