bloggang.com mainmenu search
คำชี้แจง

1. เป็นเพียง คำแนะนำเบื้องต้น คำแนะนำทั่วไป เท่านั้น ... ซึ่งอาจไม่เหมาะสำหรับผู้ป่วยทุกคน จึงควรปรึกษาแพทย์ที่รักษาอยู่ว่า จะทำท่าไหนได้บ้าง ควรทำหรือไม่ ฯลฯ

2. เป็นภาพจากเอกสารที่ผมทำไว้แจกผู้ป่วยที่คลินิก ( ฟรี ) ... ซึ่ง ผมนำภาพประกอบมาจากอินเทอร์เนต จึงไม่สงวนลิขสิทธิ์ ที่จะนำไปใช้เพื่อประโยชน์ต่อไป


3. ลิงค์ดาวน์โหลด ..วิธีบริหาร วิธีใช้ไม้เท้า ไม้ค้ำยัน วอค์เกอร์  .. ที่ผมนำมาลงในบล๊อก และ ทำเป็นเอกสารไว้แจกผู้ป่วย ..

ผมทำเป็น pdf file จะได้สะดวกถ้าจะนำไปใช้ นะครับ

https://www.mediafire.com/?uav4vq0mtsf24iv





ไม้ค้ำยัน ( Crutches )






การลงน้ำหนัก มีความสำคัญต่อการฝึกเดินในผู้ป่วยกระดูกหัก แบ่งเป็น 5 ประเภท คือ

Non weight bearing ไม่ลงน้ำหนักเลย 0% Toe touch weight bearing ลงน้ำหนักไม่เกิน 20 % ของน้ำหนักตัว Partial weight bearing ลงน้ำหนัก 20-50 % ของน้ำหนักตัว Weight bearing as tolerate ลงน้ำหนัก 50-100 % ของน้ำหนักตัว Full weight bearing ลงน้ำหนักไม่เกิน 100 % ของน้ำหนักตัว

ปล.  ใช้ขาข้างที่เจ็บ ลองเหยียบบนตาชั่ง ตามน้ำหนักที่กำหนด แล้วจำความรู้สึกนั้นไว้ตอนเดิน

ที่มา https://meded.psu.ac.th/binlaApp/class05/388_571_2/Walking_aids/index.html
Create Date :18 พฤษภาคม 2551 Last Update :9 กันยายน 2563 21:16:38 น. Counter : Pageviews. Comments :1