แบร์แนแด็ท....น่ารัก....น่ารัก ขี้ลืม.....ขี้ลืม ...... หนังปายหนายหว่า buy แล้ววbuyอีก......... faith, hope and charity เฟศบุ๊ค http://www.facebook.com/bernadette.soubirous.3
Group Blog
 
<<
พฤษภาคม 2551
 
 123
45678910
11121314151617
18192021222324
25262728293031
 
15 พฤษภาคม 2551
 
All Blogs
 
The fall of Roman Empire (1964) :We have changed the world.Can we not change ourslves?.

การล่มสลายของอาณาจักรโรมัน เค้าเรียกยุคมืด ยุคแรกแห่งการเงียบของทางด้านศิลปะวัฒนธรรม วรรณกรรม ต่างๆๆ

Honorable fathers. We have changed the world.
Can we not change ourselves?
It is time t Change" an end of war.

........ท่านผู้ทรงเกียตริย์
เราเปลี่ยนโลกได้......ทำไมเราเปลี่ยนตัวเองไม่ได้

ได้เวลาเปลี่ยนแปลงแล้ว......ยุติสงคราม

Rome



Fathers of Rome, I have lived under four great Emperors. Trogon, Henum,Antonitus และ Marcus Aurelus When during all those years our emprie grow. Change, There all life is grow or die. And you, the Senators,Are the heart of Rome . It is through you that the people speak. Speak up" let the world hear you . Let the world know. That Rome will not die. There are millions like them waiting at our gates.If we do not opent these gates they will break them down And destroy us, but instead,Let us grow ever bigger,Ever greater.Let us take them among us.Let the heart of the empire grow with us.

Honorable fathers. We have changed the world. Can we not change ourselves? It is time t Change" an end of war.


สภาที่เคารพ ข้ามีชีวิตอยู่มา สี่รัชกาล Trogon, Henum,Antonitus และ Marcus Aurelus ตลอดเวลาที่ผ่านมาของเราโตขึ้นเปลี่ยนแปลง กฎของชีวิตถ้าไม่โต..ก็ตาย พวกท่านสมาชิกสภาหัวใจของโรม ......คือปากเสียงของประชาชน พูดออกมาให้โลกได้ยิน ......ได้รับรู้ว่าโรมจะไม่ตาย ......ยังมีพวกเค้าอีกเป็ฯล้านรออยู่ นอกประตู
ถ้าเราไม่เริ่มเปิดประตูพวกเค้ากะทำลายล้างพวกเรา แต่แทนที่จะเป็นอย่างงั้น ........เราน่าจะโตขึ้นแข็งแกร่งขึ้นโดยรับพวกเค้าเอาไว้ให้หัวใจของจักรวรรดิ์โตพร้อมๆกับเรา........ท่านผู้ทรงเกียตริย์
เราเปลี่ยนโลกได้......ทำไมเราเปลี่ยนตัวเองไม่ได้

ได้เวลาเปลี่ยนแปลงแล้ว......ยุติสงคราม




ปัญหาใหญ่ที่สุดสองข้อในประวัติศาสตร์ อะไรทำให้เกิดขึ้นของโรม และอะไรทำให้โรมล่มสลาย เราอาจจะเข้าใจได้ว่า หากเรารู้ว่าโรมล่มสลายลง ในตอนนี้ไม่ใช่สาเหตุหนึ่งที่ยาวนาน แต่เป็ฯช่วงเวลายาวนานกว่า 300 ปี ปีคริสศักราช 180 Marcus Aurelus

THE FALL OF THE ROMAN EMPIRE [AMERICAN TRAILER]


จุดเริ่มต้นของการเริ่มต้นของอาณาจักรโรมันล่มสลาย นี้คือ ความละโมบ ความน่ากลัว ที่ยิ่งใหญ่ของโรม คือเรื่องราวของ ความทะเยอทะเยานสำหรับอำนาจของคนและ มีผลกระทบทำให้สูญเสียกำลังไป และเรื่องเล่าสภาพเลวร้ายที่ประชาชนอาศัยอยู่ที่เสี่ยงต่อสถานการณ์การเมืองในโรมที่สถานการณ์ที่เลวร้าย


Source ://www.capitolium.org/eng/ludi/fotocinema/caduta.jpg

Marcus Aurelius Antonius ท่านเป็นจักรพรรดิ์ของโรมและเป็นนักปรัญชญาด้วย พระองค์ทรงรวบรวมกองกำลังในอาณจักรของพระองค์และทำสงครามกับเยอรมัน และพระองค์สิ้นพระชมน์ถูกลอบวางยาพิษ พระโอรสได้ขึ้นครองราชย์ Livius แตกต่างจาก Aurelius โดยสิ้นเชิง ชอบการ์ดิเอเตอร์ และเก็บภาษี จากอาณาจักรที่ปกครองเป็นสองเท่า มันเป็ฯจุดที่ทำให้โรมจะล่มสลาย ขณะที่โรมหรือทั่วอาณาจักร ภาวะ โรคระบาด อดหยาก มีการปล้นสะดมห์ Lucilla พี่สาวของ Livius ให้ไปแต่งงานกับking แห่ง Sohamus of Armenia เหตุผลทางการเมือง Commodus ที่Aurelius ทรงรักอยากให้ขึ้นครองโรม มาพร้อมกับสิ่งใหม่นั้นคือสันติภาพ เสนอสภาโรม ให้ทุกอาณาจักรที่ขึ้นต่อโรม ยุติสงคราม เป็ฯพลเมืองโรม Livius มองว่า Commodus ได้ใจสภาSenateของโรมไปแล้ว Livius จัดการปล้นวิหารโรมเทพเจ้าต่างๆๆลอกเอาทองออกมาทำสงครามกับ Commodus และจับพี่สาว Lucilla กับCommodus ข้อหากบฎ มันเป็นการดวลกันระหว่าง Livius กับ Commodus ต่อหน้าสาธารณะชนเพื่อให้ได้ใจประชาชน และ Commodus เป็ฯฝ่ายชนะ เค้าได้การยอมรับให้เป็นซีซาร์คนต่อไป เค้าไม่เลือกจะเป็น เค้าไปใช้ชีวิตกับ Lucilla
และกะแย่งชิงอำนาจเกิดขี้นภายในโรมเอง...อย่างไม่มีสิ้นสุดตั้งแต่นั้นมา


Source ://www.roman-emperors.org/commodus.jpg

Marcus Aurelius Antoninus Augustus (called "the Wise")
(April 26, 121[2] – March 17, 180) พระองค์เป็นKingองค์สุด
ท้ายของ "Five Good Emperors" และพระองค์คือบุคคลสำคัญที่สุด
ของพวกถือปรัญชญาของ Stoic Philosophy
สโตอิก (อังกฤษ: Stoicism) คือแนวคิดทางปรัชญาแห่งเฮลเลนิสติก
ก่อตั้งโดยนักปรัชญาชาวกรีกชื่อ เซโน แห่ง ซิติอุม (Zeno of Citium
พ.ศ. 210 - พ.ศ. 279) ในเอเธนส์ ซึ่งได้แพร่หลายเป็นอย่างมากไป
ทั่วกรีก และจักรวรรดิโรมันสโตอิก กลายเป็นปรัชญญาที่ได้รับความนิยมอยู่

ในแนวหน้าระหว่างพวกปัญญาชนผู้มีการศึกษาในสมัยจักรวรรดิเกรโก-โรมันถึงระดับที่ "ผู้สืบทอดของอเล็กซานเดอร์ยอมสารภาพว่าตนเองเป็นพวกสโตอิก" ตามคำกล่าวของกิลเบิร์ต เมอร์เรย์


เฉลียงมีภาพเขียน หรือสโตอาที่บูรณะขึ้นใหม่ในเอเธนส์ ที่ซึ่งกลายเป็นชื่อของสโตอิก
สโตอิกโบราณถูกมองอย่างเข้าใจผิด เนื่องจากการใช้คำนี้ได้มาจากการแปลความหมายที่ไม่ถูกต้องในยุคปัจจุบันซึ่งไม่ตรงกับความหมายโบราณ คำว่าสโตอิกถูกตีความหมายเพี้ยนไปเป็นว่าหมายถึง ความไร้อารมณ์ หรือ ไร้ความเจ็บปวด ลัทธิสโตอิกสอนอิสรภาพจากกัมมภาวะโดยอาศัยอิงตามหลักของเหตุผล ซึ่งความจริงแล้ว ลัทธิสโตอิกไม่ได้มุ่งไปที่การดับอารมณ์ เพียงแต่เป็น การหลีกเลี่ยงการเสียอารมณ์ โดยการพัฒนาทักษะในการชั่งใจที่โปร่งใส และสร้างความสงบภายในด้วยการฝึกตรรกะ การไตร่ตรองและการเข้าถึงสมาธิ


Marcus Aurelius wrote Meditations in Greek at his base in Sirmium in modern-day Serbia and also while positioned at Aquincum on campaign in Pannonia in modern-day Hungary.
การใช้คำสโตอิกในปัจจุบัน
คำว่า "สโตอิก" ในสมัยใหม่มักใช้หมายถึงคนที่ไม่มีอารณ์ในความเจ็บปวด
ไม่รู้สึกถึงความปีติ ความเศร้าโศก หรือความร่าเริง เช่นการใช้ในสมัยใหม่
ว่าหมายถึง "บุคคลผู้ซึ่งสามารถกดเก็บอารมณ์และมีความอดทน"

The Column of Marcus Aurelius, with a spiral relief, was built in honour of Roman emperor Marcus Aurelius and modeled on Trajan's Column. It still stands on its original site in Rome, in Piazza Colonna before Palazzo Chigi.

ความสัมพันธ์ของพระองค์กับพวกคริสเตียน

การครองราชย์ของKingตั้งแต่ Trajan, Hadrian, and Antoninus
Pius, Trajan ออกพระราชกำหนด ถึงPliny โดยมีคำสั่ง นั้นคือไม่ต้อง
ค้นหาชาวคริสเตียน ถ้านำมาก่อนมีการตัดสิน และพิสูจน์ว่าพวกเขาเหล่า
นั้นทำถูกกฎหมาย และบริสุทธิ์และปรากฎออกมา (เป็ฯข้อพระราชกำหนด
ที่มีข้อถกเถียง "Ad conventum Asiae" (Eus., Hist. Eccl., IV,
xiii), see ANTONINUS PIUS]มันเป็นที่ชัดเจนว่า ระหว่างช่วงครองราชย์ของ Aurelius เปรียบเทียบ ความผ่อนผันกับการออกฎหมายของTrajan ทรงยอมตามมากกว่าความเข้มงวดและอยู่ในความสงบ ในทางตอนใต้ของแคว้นGaul(ฝรั่งเศส) อย่างน้อยที่สุด พระราชกำหนดของจักรพรรดิ์ ใช้อย่างเป็นทางการและใส่เข้าไปใหม่ดีกว่าการใช้ความรุนแรงก่อกวนจับมาลงโทษ
(Eus., Hist. Eccl., V, i, 45) ในเอเซียไมเนอร์ และในซีเรียสายเลือดของพี่น้องคริสเตียนซึ่งไหลเชี่ยว (Allard, op. cit. infra. pp. 375, 376, 388, 389). ในการก่อกวนข่มเหงรังแกถูกจับมาลงโทษ ได้ระบาดไปทั่ว รู้สึกว่ามาถึงในไม่ช้าผ่านมายัง คนพื้นเมืองมีการแสดงออกถึง ผู้ว่าราชการจังหวัดผลักดันอย่างบ้าคลั่ง มีการคัดค้านอย่างรุนแรง ซึ่งน่ากลัวมาก ทำให้ยุ่งเหยิงเสื่อมศีลธรรม ในเมืองเต็มไปด้วยฝูงชนสับสนอลม่าน ถ้า จักรพรรดิ์ประกาศพระราชกฤษฎีดากฎหมายนี้ มันไม่มีทางรอดแน่ ถ้าความรู้สึกที่น่าจะเป็นไปได้ คือ"การเพิ่มระดับความร้อนแรงใหม่ขึ้นอีก"เขียนโดย Eusebius (Hist. Eccl. IV, xx-i, 5) คนพื้นเมืองดั้งเดิมที่อยู่ในเทศบาลปกครองตนเอง หรือผู้ว่าราชการจังหวัด และจักรวรรดิ์ ยังคงต่อต้านชาวคริสเตียน ตัวบทกฎหมายยังอยู่ ถึงกระนั้น ยังมีการถกเถียง เรื่องจักรพรรดิ์ออกพระราชกฏษฎีกา (Digests XLVIII, xxix, 30) etc...............
อีกเรื่องหนึ่งของความหมายสำคัญในความเป็นจริง ประเด็นคือ การเติบโตของพี่น้องคริสเตียน และตามมาด้วยอิทธิพลกองกำลัง และการเพิ่มมากขึ้นนี้ เป็นส่วนหนึ่งของอำนาจจักรพรรดิ์ และ ชนชั้นธรรมเนียมประเพณีนิยม
นั้นคือ การเผยแพร่ที่กระจายออกมาจากรอบๆจักรพรรดิ์ ,นักปรัชญา Cynic ( ลัทธิที่เชื่อว่าคุณความดีของมนุษย์นั้นอยู่ที่การควบคุมตัวเอง ) Crescens นำมาเป็นส่วนหนึ่งในการถกเถียง อภิปรายต่อหน้าสาธารณะชนกับ St. Justin ในโรม Rome. Fronto,เป็นครูสอน และเป็นเพื่อนสนิทกับ King Marcus Aurelius,

การวิจารณ์ ตามด้วยศาสนาใหม่ ในประเพณีนิยมของวาทกรรม - ชุดความคิดที่มีลักษณะเป็นระบบและสืบทอดต่อเนื่อง (Min. Felix, "Octavius", cc. ix, xxxi)etc.....

จากหลายๆๆตัวอย่างและเหตุผล ไม่ประหลาดใจเลยว่านั้นคือ สายเลือดพี่น้องคริสเตียน ล้นหลามไปทั่วอาณาจักร ทำให้ระลึกถึงพลเมืองในความทุกข์ยาก และเลือดของพวกเค้าในช่วงเวลาประวัติศาสตร์เป็ฯการพิสูจน์นั้นคือ ให้เสรีภาพในการนับถือศาสนาคริสเตียน etc........ ในสมัยจักรพรรดิ์คอนสแตนท์ไทล์ แห่งโรมัน
Source ://www.newadvent.org/cathen/02109a.htm


Marcus Aurelius and members of the Imperial family offer sacrifice in gratitude for success against Germanic tribes: contemporary bas-relief, Capitoline Museum, Rome
For other uses, see Sacrifice (disambiguation).

อาณาจักรโรมัน


Source ://italophiles.com/images/marcus1.jpg
Temple of Antoninus and Faustina, Marcus Aurelius's adoptive parents.

ในราวศตวรรษที่ 100 BC คลื่นการอพยพเคลื่อนย้ายถิ่นของชาวอินโด-ยูโรเนียนได้กระจายไปทั้งภูมิภาค ชาวอินโด-ยูเรเนียนใช้อาวุธและเครื่องใช้ทำจากเหล็ก และได้ตั้งถิ่นฐานที่อิตาลีในปัจจุบัน ตั้งแต่ยุคสัมฤทธิ์ มีการทำนา เพาะปลูก อาชีพเกษตรกรรมเป็นอาชีพหลัก มีการรวมกลุ่มกันเป็นกลุ่มชน และสร้างเป็นหมู่บ้านอยู่ริมฝั่งแม่น้ำไทเบอร์ ซึ่งต่อมาเจริญก้าวหน้ามาเป็น กรุงโรม จากหลักฐานที่ค้นพบทำให้ทราบว่า โรมได้รับการก่อสร้างขึ้นเมื่อปี 753 BC แต่การพัฒนาได้เกิดขึ้นก่อนหน้านั้น หรือหลังจากนั้น โดยได้รับอิทธิพลของอีตรุสคาน (Etruscan) คนงานช่างโลหะที่มาจากเอเซียไมเนอร์



การขยายตัวของอาณาจักรโรมันขยายตัวออกไปได้มาก อย่างไรก็ดี มีสงครามกลางเมืองเกิดขึ้นหลายครั้ง หลังจากสงครามกลางเมืองที่เกิดการแย่งชิงกันในช่วงเวลาจากปี 82-79 BC ซึ่งอยู่ในยุคของเผด็จการซุลล่า (Sulla) ต่อมาก็เป็นยุคของปอมเปย์ (Pampey) ระหว่างปี 52-46 BC และก็มาถึงยุคซีซาร์ (45-44BC) และจบลงด้วยชัยชนะของอ็อกตาเวียนในปี 31 BC ที่ต่อมาได้ฉายาว่าออกัสตุส (Augustus) และได้สร้างอาณาจักรโรมันให้เป็นปึกแผ่นตั้งแต่ปี 27 BC

อาณาจักรโรมันครอบคลุมไปไกล ครอบคลุมยุโรปเกือบหมดตะวันออกกลางและอัฟริกาเหนือ การขยายอาณาจักรยิ่งใหญ่เกิดขึ้นในยุคจักรพรรดิ์ ทราจัน (Trajan) ระหว่างปี คศ. 98-117 และ ฮาเดรียน (Hadrian) ในปี คศ. 117-138

ความล่มสลายของอาณาจักรโรมัน เกิดจากการแก่งแย่งชิงดี และสงครามกลางเมือง ทำให้อาณาจักรโรมันซึ่งเต็มไปด้วยศิลปวิทยาการต่าง ๆ เกิดความอ่อนแอ ชาวบาร์บาเรียนที่เป็นชนชาวเขาเข้ามาบุกและทำลายโรมัน กรุงโรมเกิดการล้มสลาย ว่ากันว่าทำให้เกิดการสูญหายของวิทยาการต่าง ๆ ไปมากมายจากการถูกทำลายในปี คศ. 235 ต่อมา ไดโอคลีไทน์ (Diocletian) (284-305) พยายามก่อร่างสร้างเมืองใหม่ ต่อมา จักรพรรดิ์คอนสแตนติน (Constantine) (306-337) ได้ย้ายเมืองหลวงไปตั้งที่ไบเซนไทน์ (Byzantine) ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น กรุงคอนสแตนติโนเปิ้ล ต่อมา ในปี 395 ก็ได้แบ่งแยกออกเป็นสองอาณาจักร คือ ทางทิศตะวันออกขึ้นกับกรุงคอนสแตนติโนเปิ้ล และอาณาจักรโรมันทางทิศตะวันตกขึ้นกับกรุงโรม จนกระทั่งถึงปี คศ. 476 อาณาจักรโรมันทางตะวันออกก็ถึงจุดจบ


Source ://www.school.net.th/library/snet2/history_math/mathdev/roman.htm
//th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B9%82%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%81
//en.wikipedia.org/wiki/Marcus_Aurelius


Create Date : 15 พฤษภาคม 2551
Last Update : 15 พฤษภาคม 2551 19:37:52 น. 10 comments
Counter : 2259 Pageviews.

 
พี่ดูหนังเยอะจัง..
ผมไม่ค่อยรู้เรื่องเกี่ยวกับโรมันสักเท่าไหร่
แต่ที่ไม่เข้าใจคือไม่รู้ว่าเค้าจะขยายอำนาจตัวเองไปเพื่ออะไรให้มากมาย
เหมือนทุกๆอาณาจักร ยิ่งมีอำนาจมากเท่าไหร่ก็ยิ่งเสื่อมเร็วเท่านั้น
แต่ที่สำคัญที่สุด คนที่ซวยที่สุดคือประชาชน
มีเรื่องเล่าหนึ่งจากหญิงชาวบ้านแถวๆโซเวียต(ถ้าจำไม่ผิด)ที่พูดถึงประเทศตนเอง- "เราไม่ต้องการรถถังหรือลูกระเบิด เราต้องการเพียงแค่น้ำกับขนมปังเท่านั้นเอง"


โดย: โฉมสมัย วันที่: 16 พฤษภาคม 2551 เวลา:16:23:46 น.  

 
ชอบเรื่องโรมันค่ะ
ชอบความงดงามยุคนี้..(ไม่นับความโหดร้าย)

คลิกๆๆ รูปสวยๆน่ารักๆไว้ส่งต่อเพียบ...


โดย: เริงฤดีนะ วันที่: 16 พฤษภาคม 2551 เวลา:16:57:01 น.  

 
พี่ดูหนังเยอะจัง..
ผมไม่ค่อยรู้เรื่องเกี่ยวกับโรมันสักเท่าไหร่
แต่ที่ไม่เข้าใจคือไม่รู้ว่าเค้าจะขยายอำนาจตัวเองไปเพื่ออะไรให้มากมาย
เหมือนทุกๆอาณาจักร ยิ่งมีอำนาจมากเท่าไหร่ก็ยิ่งเสื่อมเร็วเท่านั้น
แต่ที่สำคัญที่สุด คนที่ซวยที่สุดคือประชาชน
มีเรื่องเล่าหนึ่งจากหญิงชาวบ้านแถวๆโซเวียต(ถ้าจำไม่ผิด)ที่พูดถึงประเทศตนเอง- "เราไม่ต้องการรถถังหรือลูกระเบิด เราต้องการเพียงแค่น้ำกับขนมปังเท่านั้นเอง"




โดย: โฉมสมัย วันที่: 16 พฤษภาคม 2551 เวลา:16:23:46 น.


ตอบ ถูกต้องเลยค่ะ

มีเรื่องเล่าหนึ่งจากหญิงชาวบ้านแถวๆโซเวียต(ถ้าจำไม่ผิด)ที่พูดถึงประเทศตนเอง- "เราไม่ต้องการรถถังหรือลูกระเบิด เราต้องการเพียงแค่น้ำกับขนมปังเท่านั้นเอง"

ขอบพระคุณที่เสริมค่ะ

ในหนังเรื่องนี้ นักปราชญ์ชาวกรีกบอกต่อหน้าสภาโรมัน คือ สภาซีเนท Senator

โรมันล่มสลาย เพราะ ไม่ได้ใจประชาชน

ประชาชนไม่เอาด้วย.......


โดย: Bernadette วันที่: 16 พฤษภาคม 2551 เวลา:19:32:51 น.  

 
ชอบเรื่องโรมันค่ะ
ชอบความงดงามยุคนี้..(ไม่นับความโหดร้าย)





โดย: เริงฤดีนะ วันที่: 16 พฤษภาคม 2551 เวลา:16:57:01 น.


ตอบ แง๊บบพี่นางฟ้า เค้ากะเป็งพี่นางฟ้า วันยังค่ำ มองโลกงดงามมมมมมมมม


โดย: Bernadette วันที่: 16 พฤษภาคม 2551 เวลา:19:33:54 น.  

 
แหม แบร์ ไม่แวะมาเลยน้าา งอนๆ

แผ่นดินไหว หัวใจว้าวุ่น

ดีนะที่ไม่ได้อยู่แถวโน้น ไม่งั้น...


โดย: BloodyMonday วันที่: 17 พฤษภาคม 2551 เวลา:9:01:31 น.  

 
โรมันล่มสลายส่วนหนึ่งเพราะไม่ค่อยยอมปรับตัว

แถมแย่งอำนาจกันไปมาระหว่างสภากับจักรพรรดิ์

ประชาชนเป้นแค่เครื่องมือเท่านั้นเองล่ะแบร์


โดย: mr.cozy วันที่: 17 พฤษภาคม 2551 เวลา:14:47:20 น.  

 
แหม แบร์ ไม่แวะมาเลยน้าา งอนๆ

แผ่นดินไหว หัวใจว้าวุ่น

ดีนะที่ไม่ได้อยู่แถวโน้น ไม่งั้น...



โดย: BloodyMonday วันที่: 17 พฤษภาคม 2551 เวลา:9:01:31 น.


ตอบ ยุ่งเหมือนกันกะ ห่วงอยู่ เห็นว่าเป็ฯเฉินตู ตะเองไปกวางเจามะช่ายเหรอ เง๊อๆๆๆ


โดย: Bernadette วันที่: 17 พฤษภาคม 2551 เวลา:18:12:47 น.  

 
โรมันล่มสลายส่วนหนึ่งเพราะไม่ค่อยยอมปรับตัว

แถมแย่งอำนาจกันไปมาระหว่างสภากับจักรพรรดิ์

ประชาชนเป้นแค่เครื่องมือเท่านั้นเองล่ะแบร์



โดย: mr.cozy วันที่: 17 พฤษภาคม 2551 เวลา:14:47:20 น.


ตอบ ขอบพระคุณที่เสริมค่ะ

แล้วอ้างประชาชนช่ายอะปะ นักปราชณ์กรีกชอบบอกประชากชนมาก่อน ขณะที่สภาซีเนต เอาตัวเองก่อน ว่าอำนาจอยู่ที่ใคร กะรอจังหวะ งะ


โดย: Bernadette วันที่: 17 พฤษภาคม 2551 เวลา:18:16:30 น.  

 
อัฟตามแบร์ขอละนะฮะ


โดย: mr.cozy วันที่: 17 พฤษภาคม 2551 เวลา:21:10:47 น.  

 
อัฟตามแบร์ขอละนะฮะ



โดย: mr.cozy วันที่: 17 พฤษภาคม 2551 เวลา:21:10:47 น.


ตอบขอบพระคุณค่ะ

เดี๊ยวขออนุญาติเอาไปปะบล๊อคเราอะ เรื่องนี้เราขอไม่เขียนอะ......ยากกเกินไปสำหรับเราอะ

หนังดูง่ายๆๆ แต่วิธีคิดยากจริงๆๆๆ คนอเมริกันเค้าคิดกันยังไงของเค้าน๊า


โดย: Bernadette วันที่: 17 พฤษภาคม 2551 เวลา:21:40:43 น.  

ชื่อ : * blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
  *ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
 

Bernadette
Location :
กรุงเทพฯ Thailand

[ดู Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 3 คน [?]




In the name of the Father, and of the Son, and of the Holy Spirit

The Ave Maria asks Mary to "pray for us sinners."

Amen

PaPa for all Father W e pray year of priests.



Card Michael Michai Kitbunchu, Archbishop of Bangkok, is the first member of the College of Cardinals from Thailand.

source :http://www.asianews.it/news-en/Michai-Kitbunchu,-first-cardinal-from-Thailand-3038.html

พระคาร์ดินัล ไมเกิ้ล มีชัย กิจบุญชู คณะเชนต์ปอล part1

ฺBishop ฟรังซิส เซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช พิธีรับPallium Metropolitans Bangkok Thailand >

สารคดี เทศกาลแห่ดาว สกลนคร Welcome
Sakonnakorn Christmas Thailand
Metropolitans Tarae Sakornakorn Thailand


Orchestra and four vocal Choir - *Latin* Recorded for the Anniversary of the Pope Benedict XVI April 19 This is the Anthem of the Vatican City. The Songs are called Inno e Marcia Pontificale ...

We are Catholic.

หน้าเฟส อัพรูป หาที่อัพรูปใหม่อยู่ http://www.facebook.com/bernadette.soubirous.3


MusicPlaylist
MySpace Music Playlist at MixPod.com

Friends' blogs
[Add Bernadette's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.