การสังเกต คำเป็น คำตาย คำครุ- ลหุ วันนี้ ฉันขอเสนอความรู้เกี่ยวกับภาษาไทย เรื่อง การสังเกตคำเป็น คำตาย คำครุ- ลหุ โดยจะให้ความรู้เกี่ยวกับลักษณะเด่นของคำเป็น คำตาย และ คำ ครุ ลหุ เพื่อใช้สังเกต ความแตกต่างของคำทั้งสองประเภทนี้ค่ะ คำเป็น คำตาย ในภาษาไทยเป็นเรื่องสำคัญอีกเรื่องหนึ่ง เพราะตามฉันทลักษณ์ารบอกเสียงวรรณยุกต์ สำคัญต่อการแต่งคำประพันธ์ เช่น โคลง กลอน เป็นต้น เราจึงมีความรู้เรื่องเหล่านี้ไว้ต่อยอดในการเรียนเรื่องอื่น ๆ ในภาษาไทย ลักษณะคำเป็น 1.จะประสมกับสระเสียงยาว เช่น ยา มี ดู โอ้ หรือ 2.จะมีตัวสะกดอยู่ในแม่ กง กน กม เกอว เกย เช่น มอง กัน จม แมว เฉย หรือ 3.คำที่ประสมกับสระเกิน คือ อำ ไอ ใอ เอา เช่น เรา ได้ จำ ใจ ลักษณะคำตาย 1.จะประสมกับสระเสียงสั้น เช่น กะปิ ฉุ อุ เอ๊ะ เลอะเทอะ หรือ 2.วิธีจำง่าย ๆ คือ กบด เอ็งตาย (กบฏ) เช่น จด มัก ตบ คำครุ -ลหุ มีความสำคัญต่อการแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ ซึ่งเป็นคำประพันธ์ที่บังคับว่าต้องใช้ คำครุ และ ลหุ ในการแต่งตามฉันทลักษณ์ที่กำหนดไว้ นักเรียนจึงต้องเรียนรู้และสังเกตได้ว่า ลักษณะของ คำครุและลหุ ว่า เป็นอย่างไร ลักษณะคำครุ 1.จะประสมกับสระเสียงยาว เช่น เจอ รู้ น้า พี่ หรือ 2.จะมีตัวสะกดได้ทุกแม่ เช่น จิ้งจก ดม งด แจว เลย ดิ้น ปน นักเรียนจะสังเกตได้ว่า คำครู กับ คำเป็น ที่เราเรียนมาแล้ว จะมีทั้งข้อเหมือนและข้อต่าง ดังนี้ ความแตกต่างระหว่างคำเป็นกับคำครุ คือ คำครุ จะสามารถมีตัวสะกดได้ทุกแม่ แต่คำเป็นมีตัวสะกดที่ยกเว้น คือ แม่ กบด ความเหมือนกันของคำเป็นกับคำครุ คือ มีคุณสมบัติเพียงข้อใดข้อหนึ่ง ก็เป็นตำเป็น หรือ เป็นครุได้แล้ว ลักษณะคำ ลหุ 1.จะประสมกับสระเสียงสั้น เช่น นะ จุ โอ๊ะ เอะอะ และ 2.ต้องไม่มีตัวสะกดทุกแม่ ความแตกต่างระหว่างคำตายกับ คำลหุ คือ คำลหุ จะต้องไม่มีตัวสะกด แต่คำตาย มีตัวสะกดได้ 3 แม่ คือ แม่ กบด และคำลหุ บังคับคุณสมบัติ 2 ประการ แต่ คำตายบังคับคุณสมบัติข้อใดข้อหนึ่งเพียงข้อเดียว ความเหมือนกันระหว่างคำตายกับคำลหุ คือ ต่างต้องประสมกับสระเสียงสั้น นักเรียนลองใช้ความเหมือนและความต่าง ระหว่างคำเป็น คำตาย คำครุ และ คำลหุ ที่ครูให้เป็นข้อสังเกต เล่นเกมปริศนา ต่อไปนี้ดูสิคะ เกมปริศนาคำเป็น คำตอบจะเป็น คำเป็น 1.คำยืมอังกฤษน่ะซี่ จำนวนที่เทียบร้อยละ ใช้กันบ่อยบ่อยนะ คิดซิจ๊ะว่าคำใด 2.จัดเจนหรือเชี่ยวชาญ เรื่องการงานทุกอย่างไป ไม่ว่าเป็นเรื่องใด ต้นคำใช้สระอก 3.เครื่องหมายรูปสระ ขีนเขียนนะบนพินอิ เหมือนรูปไม้เอกซี่ คิดดูซิแล้วตอบเอย 4.ความหมายคำศัพท์มี หยิ่ง ถือดี ทะนงตัว การแสดงกริยาชั่ว อย่าทำตัวเช่นนี้เอย เกมปริศนาคำตาย คำตอบจะเป็น คำตาย ลองเล่นดูซิคะ 1.อาการที่เริ่มต้น น้อยน้อยจนตั้งตนได้ เช่นเด็กสอนเดินไง คงทายได้ใช่ไหมเอย 2.หมายถึงเปียกเลอะเทอะ หรือเปื้อนเปรอะไม่น่าดู หน้าฝนทุกคนรู้ พวกหนุหนุทายซิเอย 3.คำนี้แปลว่าผี คิดให้ดีสองพยางค์ คนกลัวตัวหนีห่าง ใช้ลักษณนามว่าตนเอย 4.ศัพท์นี้น่าประหลาด หมายปีศาจหรือภูตผี คิดคิดให้ดีดี หมายผู้ที่ไม่ใช่คน (จากเกมปริศนาของ นุกูล ณรงค์อินทร์) คำเฉลย ชุดเกมปริศนาคำทาย เรื่อง คำเป็น 1.เปอร์เซ็นต์ 2.ชำนาญ 3.ฝนทอง 4.จองหอง คำเฉลย ชุดเกมปริศนา เรื่อง คำตาย 1.เตาะเตะ 2.เฉอะแฉะ 3.ปิศาจ 4.อมนุษย์ ทายถูกกี่ข้อคะ ฉันคิดว่า คงสนุกนะคะ ฉันเอาใจช่วย ที่สำคัญ อย่าแอบดูคำตอบก่อนนะคะ ไม่งั้นจะไม่สนุกนะคะ สวัสดีค่ะ แวะมาทักทายค่ะ
เพิ่งกลับมาจากบ้าน ^^ คุณครูสบายดีนะค่ะ โดย: Nepster
![]() =https://www.bloggang.com/emo/emo105.gi
โดย: อัญญตะวัน IP: 180.180.77.44 วันที่: 24 ธันวาคม 2554 เวลา:10:12:08 น.
=https://www.bloggang.com/emo/emo101.gif
โดย: ปานตะวัน IP: 180.180.77.44 วันที่: 24 ธันวาคม 2554 เวลา:10:15:05 น.
ขอบคุณสำหรับความรู้ค่ะอาจารย์
อ่านแล้วรู้สึกเข้าใจมากขึ้น ขอบคุณอีกครั้งค่ะ โดย: mauretto67
![]() สวัสดีค่ะอาจารย์สุวิมล
ขอบคุณสำหรับข้อความของอาจารย์ค่ะ อาจารย์ใจดีจังเลย ถ้าดิฉันมีเรื่องอะไรไม่เ้ข้าใจเกี่ยวกับภาษาไทยขอรบกวนปรึกษาอาจารย์เป็นครั้งคราวนะคะ ตอนนี้ดิฉันมีความคิดที่จะสอนภาษาไทยให้กับคนต่างชาติโดยเริ่มที่สามีตัวเองก่อน ซึ่งดิฉันจะทำการบันทึกข้อมูลต่างๆอย่างเป็นเรื่องเป็นราว เช่น การออกเสียง ข้อสงสัยที่เขามี พัฒนาการต่างๆของเขา เป็นต้น จะได้ทราบว่าต้องไปค้นคว้าเรื่องอะไรบ้าง และเตรียมแนวการสอนไปในทางใด ถ้าอะไรต่างๆพร้อมแล้วถึงจะเริ่มนำไปสอนคนอื่นๆค่ะ ดิฉันชอบอ่านสารคดีเกี่ยวกับการท่องเที่ยวค่ะ วันก่อนก็ได้เข้าไปอ่านคร่าวๆที่อาจารย์เขียนไว้ ชอบสไตล์การเล่าเรื่องแบบนี้ค่ะ ถ้ามีเวลาจะกลับเข้ามาอ่านอย่างตั้งใจทุกเรื่องแน่นอนค่ะ ขอขอบคุณอาจารย์อีกครั้งนะคะ วนิดา โดย: mauretto67
![]() สวัสดีค่ะอาจารย์สุวิมล
ขอบคุณสำหรับข้อความของอาจารย์ค่ะ อาจารย์ใจดีจังเลย ถ้าดิฉันมีเรื่องอะไรไม่เ้ข้าใจเกี่ยวกับภาษาไทยขอรบกวนปรึกษาอาจารย์เป็นครั้งคราวนะคะ ตอนนี้ดิฉันมีความคิดที่จะสอนภาษาไทยให้กับคนต่างชาติโดยเริ่มที่สามีตัวเองก่อน ซึ่งดิฉันจะทำการบันทึกข้อมูลต่างๆอย่างเป็นเรื่องเป็นราว เช่น การออกเสียง ข้อสงสัยที่เขามี พัฒนาการต่างๆของเขา เป็นต้น จะได้ทราบว่าต้องไปค้นคว้าเรื่องอะไรบ้าง และเตรียมแนวการสอนไปในทางใด ถ้าอะไรต่างๆพร้อมแล้วถึงจะเริ่มนำไปสอนคนอื่นๆค่ะ ดิฉันชอบอ่านสารคดีเกี่ยวกับการท่องเที่ยวค่ะ วันก่อนก็ได้เข้าไปอ่านคร่าวๆที่อาจารย์เขียนไว้ ชอบสไตล์การเล่าเรื่องแบบนี้ค่ะ ถ้ามีเวลาจะกลับเข้ามาอ่านอย่างตั้งใจทุกเรื่องแน่นอนค่ะ ขอขอบคุณอาจารย์อีกครั้งนะคะ วนิดา โดย: emotion IP: 110.168.75.122 วันที่: 5 พฤษภาคม 2555 เวลา:15:43:56 น.
การสังเกต คำเป็น คำตาย คำครุ- ลหุ
วันนี้ ฉันขอเสนอความรู้เกี่ยวกับภาษาไทย เรื่อง การสังเกตคำเป็น คำตาย คำครุ- ลหุ โดยจะให้ความรู้เกี่ยวกับลักษณะเด่นของคำเป็น คำตาย และ คำ ครุ ลหุ เพื่อใช้สังเกต ความแตกต่างของคำทั้งสองประเภทนี้ค่ะ คำเป็น คำตาย ในภาษาไทยเป็นเรื่องสำคัญอีกเรื่องหนึ่ง เพราะตามฉันทลักษณ์ารบอกเสียงวรรณยุกต์ สำคัญต่อการแต่งคำประพันธ์ เช่น โคลง กลอน เป็นต้น เราจึงมีความรู้เรื่องเหล่านี้ไว้ต่อยอดในการเรียนเรื่องอื่น ๆ ในภาษาไทย ลักษณะคำเป็น 1.จะประสมกับสระเสียงยาว เช่น ยา มี ดู โอ้ หรือ 2.จะมีตัวสะกดอยู่ในแม่ กง กน กม เกอว เกย เช่น มอง กัน จม แมว เฉย หรือ 3.คำที่ประสมกับสระเกิน คือ อำ ไอ ใอ เอา เช่น เรา ได้ จำ ใจ ลักษณะคำตาย 1.จะประสมกับสระเสียงสั้น เช่น กะปิ ฉุ อุ เอ๊ะ เลอะเทอะ หรือ 2.วิธีจำง่าย ๆ คือ กบด เอ็งตาย (กบฏ) เช่น จด มัก ตบ คำครุ -ลหุ มีความสำคัญต่อการแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ ซึ่งเป็นคำประพันธ์ที่บังคับว่าต้องใช้ คำครุ และ ลหุ ในการแต่งตามฉันทลักษณ์ที่กำหนดไว้ นักเรียนจึงต้องเรียนรู้และสังเกตได้ว่า ลักษณะของ คำครุและลหุ ว่า เป็นอย่างไร ลักษณะคำครุ 1.จะประสมกับสระเสียงยาว เช่น เจอ รู้ น้า พี่ หรือ 2.จะมีตัวสะกดได้ทุกแม่ เช่น จิ้งจก ดม งด แจว เลย ดิ้น ปน นักเรียนจะสังเกตได้ว่า คำครู กับ คำเป็น ที่เราเรียนมาแล้ว จะมีทั้งข้อเหมือนและข้อต่าง ดังนี้ ความแตกต่างระหว่างคำเป็นกับคำครุ คือ คำครุ จะสามารถมีตัวสะกดได้ทุกแม่ แต่คำเป็นมีตัวสะกดที่ยกเว้น คือ แม่ กบด ความเหมือนกันของคำเป็นกับคำครุ คือ มีคุณสมบัติเพียงข้อใดข้อหนึ่ง ก็เป็นตำเป็น หรือ เป็นครุได้แล้ว ลักษณะคำ ลหุ 1.จะประสมกับสระเสียงสั้น เช่น นะ จุ โอ๊ะ เอะอะ และ 2.ต้องไม่มีตัวสะกดทุกแม่ ความแตกต่างระหว่างคำตายกับ คำลหุ คือ คำลหุ จะต้องไม่มีตัวสะกด แต่คำตาย มีตัวสะกดได้ 3 แม่ คือ แม่ กบด และคำลหุ บังคับคุณสมบัติ 2 ประการ แต่ คำตายบังคับคุณสมบัติข้อใดข้อหนึ่งเพียงข้อเดียว ความเหมือนกันระหว่างคำตายกับคำลหุ คือ ต่างต้องประสมกับสระเสียงสั้น นักเรียนลองใช้ความเหมือนและความต่าง ระหว่างคำเป็น คำตาย คำครุ และ คำลหุ ที่ครูให้เป็นข้อสังเกต เล่นเกมปริศนา ต่อไปนี้ดูสิคะ เกมปริศนาคำเป็น คำตอบจะเป็น คำเป็น 1.คำยืมอังกฤษน่ะซี่ จำนวนที่เทียบร้อยละ ใช้กันบ่อยบ่อยนะ คิดซิจ๊ะว่าคำใด 2.จัดเจนหรือเชี่ยวชาญ เรื่องการงานทุกอย่างไป ไม่ว่าเป็นเรื่องใด ต้นคำใช้สระอก 3.เครื่องหมายรูปสระ ขีนเขียนนะบนพินอิ เหมือนรูปไม้เอกซี่ คิดดูซิแล้วตอบเอย 4.ความหมายคำศัพท์มี หยิ่ง ถือดี ทะนงตัว การแสดงกริยาชั่ว อย่าทำตัวเช่นนี้เอย เกมปริศนาคำตาย คำตอบจะเป็น คำตาย ลองเล่นดูซิคะ 1.อาการที่เริ่มต้น น้อยน้อยจนตั้งตนได้ เช่นเด็กสอนเดินไง คงทายได้ใช่ไหมเอย 2.หมายถึงเปียกเลอะเทอะ หรือเปื้อนเปรอะไม่น่าดู หน้าฝนทุกคนรู้ พวกหนุหนุทายซิเอย 3.คำนี้แปลว่าผี คิดให้ดีสองพยางค์ คนกลัวตัวหนีห่าง ใช้ลักษณนามว่าตนเอย 4.ศัพท์นี้น่าประหลาด หมายปีศาจหรือภูตผี คิดคิดให้ดีดี หมายผู้ที่ไม่ใช่คน (จากเกมปริศนาของ นุกูล ณรงค์อินทร์) คำเฉลย ชุดเกมปริศนาคำทาย เรื่อง คำเป็น 1.เปอร์เซ็นต์ 2.ชำนาญ 3.ฝนทอง 4.จองหอง คำเฉลย ชุดเกมปริศนา เรื่อง คำตาย 1.เตาะเตะ 2.เฉอะแฉะ 3.ปิศาจ 4.อมนุษย์ ทายถูกกี่ข้อคะ ฉันคิดว่า คงสนุกนะคะ ฉันเอาใจช่วย ที่สำคัญ อย่าแอบดูคำตอบก่อนนะคะ ไม่งั้นจะไม่สนุกนะคะ โดย: ด่หน่ดฟหดฟ IP: 110.168.75.122 วันที่: 5 พฤษภาคม 2555 เวลา:15:44:39 น.
การสังเกต คำเป็น คำตาย คำครุ- ลหุ
วันนี้ ฉันขอเสนอความรู้เกี่ยวกับภาษาไทย เรื่อง การสังเกตคำเป็น คำตาย คำครุ- ลหุ โดยจะให้ความรู้เกี่ยวกับลักษณะเด่นของคำเป็น คำตาย และ คำ ครุ ลหุ เพื่อใช้สังเกต ความแตกต่างของคำทั้งสองประเภทนี้ค่ะ คำเป็น คำตาย ในภาษาไทยเป็นเรื่องสำคัญอีกเรื่องหนึ่ง เพราะตามฉันทลักษณ์ารบอกเสียงวรรณยุกต์ สำคัญต่อการแต่งคำประพันธ์ เช่น โคลง กลอน เป็นต้น เราจึงมีความรู้เรื่องเหล่านี้ไว้ต่อยอดในการเรียนเรื่องอื่น ๆ ในภาษาไทย ลักษณะคำเป็น 1.จะประสมกับสระเสียงยาว เช่น ยา มี ดู โอ้ หรือ 2.จะมีตัวสะกดอยู่ในแม่ กง กน กม เกอว เกย เช่น มอง กัน จม แมว เฉย หรือ 3.คำที่ประสมกับสระเกิน คือ อำ ไอ ใอ เอา เช่น เรา ได้ จำ ใจ ลักษณะคำตาย 1.จะประสมกับสระเสียงสั้น เช่น กะปิ ฉุ อุ เอ๊ะ เลอะเทอะ หรือ 2.วิธีจำง่าย ๆ คือ กบด เอ็งตาย (กบฏ) เช่น จด มัก ตบ คำครุ -ลหุ มีความสำคัญต่อการแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ ซึ่งเป็นคำประพันธ์ที่บังคับว่าต้องใช้ คำครุ และ ลหุ ในการแต่งตามฉันทลักษณ์ที่กำหนดไว้ นักเรียนจึงต้องเรียนรู้และสังเกตได้ว่า ลักษณะของ คำครุและลหุ ว่า เป็นอย่างไร ลักษณะคำครุ 1.จะประสมกับสระเสียงยาว เช่น เจอ รู้ น้า พี่ หรือ 2.จะมีตัวสะกดได้ทุกแม่ เช่น จิ้งจก ดม งด แจว เลย ดิ้น ปน นักเรียนจะสังเกตได้ว่า คำครู กับ คำเป็น ที่เราเรียนมาแล้ว จะมีทั้งข้อเหมือนและข้อต่าง ดังนี้ ความแตกต่างระหว่างคำเป็นกับคำครุ คือ คำครุ จะสามารถมีตัวสะกดได้ทุกแม่ แต่คำเป็นมีตัวสะกดที่ยกเว้น คือ แม่ กบด ความเหมือนกันของคำเป็นกับคำครุ คือ มีคุณสมบัติเพียงข้อใดข้อหนึ่ง ก็เป็นตำเป็น หรือ เป็นครุได้แล้ว ลักษณะคำ ลหุ 1.จะประสมกับสระเสียงสั้น เช่น นะ จุ โอ๊ะ เอะอะ และ 2.ต้องไม่มีตัวสะกดทุกแม่ ความแตกต่างระหว่างคำตายกับ คำลหุ คือ คำลหุ จะต้องไม่มีตัวสะกด แต่คำตาย มีตัวสะกดได้ 3 แม่ คือ แม่ กบด และคำลหุ บังคับคุณสมบัติ 2 ประการ แต่ คำตายบังคับคุณสมบัติข้อใดข้อหนึ่งเพียงข้อเดียว ความเหมือนกันระหว่างคำตายกับคำลหุ คือ ต่างต้องประสมกับสระเสียงสั้น นักเรียนลองใช้ความเหมือนและความต่าง ระหว่างคำเป็น คำตาย คำครุ และ คำลหุ ที่ครูให้เป็นข้อสังเกต เล่นเกมปริศนา ต่อไปนี้ดูสิคะ เกมปริศนาคำเป็น คำตอบจะเป็น คำเป็น 1.คำยืมอังกฤษน่ะซี่ จำนวนที่เทียบร้อยละ ใช้กันบ่อยบ่อยนะ คิดซิจ๊ะว่าคำใด 2.จัดเจนหรือเชี่ยวชาญ เรื่องการงานทุกอย่างไป ไม่ว่าเป็นเรื่องใด ต้นคำใช้สระอก 3.เครื่องหมายรูปสระ ขีนเขียนนะบนพินอิ เหมือนรูปไม้เอกซี่ คิดดูซิแล้วตอบเอย 4.ความหมายคำศัพท์มี หยิ่ง ถือดี ทะนงตัว การแสดงกริยาชั่ว อย่าทำตัวเช่นนี้เอย เกมปริศนาคำตาย คำตอบจะเป็น คำตาย ลองเล่นดูซิคะ 1.อาการที่เริ่มต้น น้อยน้อยจนตั้งตนได้ เช่นเด็กสอนเดินไง คงทายได้ใช่ไหมเอย 2.หมายถึงเปียกเลอะเทอะ หรือเปื้อนเปรอะไม่น่าดู หน้าฝนทุกคนรู้ พวกหนุหนุทายซิเอย 3.คำนี้แปลว่าผี คิดให้ดีสองพยางค์ คนกลัวตัวหนีห่าง ใช้ลักษณนามว่าตนเอย 4.ศัพท์นี้น่าประหลาด หมายปีศาจหรือภูตผี คิดคิดให้ดีดี หมายผู้ที่ไม่ใช่คน (จากเกมปริศนาของ นุกูล ณรงค์อินทร์) คำเฉลย ชุดเกมปริศนาคำทาย เรื่อง คำเป็น 1.เปอร์เซ็นต์ 2.ชำนาญ 3.ฝนทอง 4.จองหอง คำเฉลย ชุดเกมปริศนา เรื่อง คำตาย 1.เตาะเตะ 2.เฉอะแฉะ 3.ปิศาจ 4.อมนุษย์ ทายถูกกี่ข้อคะ ฉันคิดว่า คงสนุกนะคะ ฉันเอาใจช่วย ที่สำคัญ อย่าแอบดูคำตอบก่อนนะคะ ไม่งั้นจะไม่สนุกนะคะ โดย: dDASDASD IP: 110.168.75.122 วันที่: 5 พฤษภาคม 2555 เวลา:15:45:00 น.
การสังเกต คำเป็น คำตาย คำครุ- ลหุ
วันนี้ ฉันขอเสนอความรู้เกี่ยวกับภาษาไทย เรื่อง การสังเกตคำเป็น คำตาย คำครุ- ลหุ โดยจะให้ความรู้เกี่ยวกับลักษณะเด่นของคำเป็น คำตาย และ คำ ครุ ลหุ เพื่อใช้สังเกต ความแตกต่างของคำทั้งสองประเภทนี้ค่ะ คำเป็น คำตาย ในภาษาไทยเป็นเรื่องสำคัญอีกเรื่องหนึ่ง เพราะตามฉันทลักษณ์ารบอกเสียงวรรณยุกต์ สำคัญต่อการแต่งคำประพันธ์ เช่น โคลง กลอน เป็นต้น เราจึงมีความรู้เรื่องเหล่านี้ไว้ต่อยอดในการเรียนเรื่องอื่น ๆ ในภาษาไทย ลักษณะคำเป็น 1.จะประสมกับสระเสียงยาว เช่น ยา มี ดู โอ้ หรือ 2.จะมีตัวสะกดอยู่ในแม่ กง กน กม เกอว เกย เช่น มอง กัน จม แมว เฉย หรือ 3.คำที่ประสมกับสระเกิน คือ อำ ไอ ใอ เอา เช่น เรา ได้ จำ ใจ ลักษณะคำตาย 1.จะประสมกับสระเสียงสั้น เช่น กะปิ ฉุ อุ เอ๊ะ เลอะเทอะ หรือ 2.วิธีจำง่าย ๆ คือ กบด เอ็งตาย (กบฏ) เช่น จด มัก ตบ คำครุ -ลหุ มีความสำคัญต่อการแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ ซึ่งเป็นคำประพันธ์ที่บังคับว่าต้องใช้ คำครุ และ ลหุ ในการแต่งตามฉันทลักษณ์ที่กำหนดไว้ นักเรียนจึงต้องเรียนรู้และสังเกตได้ว่า ลักษณะของ คำครุและลหุ ว่า เป็นอย่างไร ลักษณะคำครุ 1.จะประสมกับสระเสียงยาว เช่น เจอ รู้ น้า พี่ หรือ 2.จะมีตัวสะกดได้ทุกแม่ เช่น จิ้งจก ดม งด แจว เลย ดิ้น ปน นักเรียนจะสังเกตได้ว่า คำครู กับ คำเป็น ที่เราเรียนมาแล้ว จะมีทั้งข้อเหมือนและข้อต่าง ดังนี้ ความแตกต่างระหว่างคำเป็นกับคำครุ คือ คำครุ จะสามารถมีตัวสะกดได้ทุกแม่ แต่คำเป็นมีตัวสะกดที่ยกเว้น คือ แม่ กบด ความเหมือนกันของคำเป็นกับคำครุ คือ มีคุณสมบัติเพียงข้อใดข้อหนึ่ง ก็เป็นตำเป็น หรือ เป็นครุได้แล้ว ลักษณะคำ ลหุ 1.จะประสมกับสระเสียงสั้น เช่น นะ จุ โอ๊ะ เอะอะ และ 2.ต้องไม่มีตัวสะกดทุกแม่ ความแตกต่างระหว่างคำตายกับ คำลหุ คือ คำลหุ จะต้องไม่มีตัวสะกด แต่คำตาย มีตัวสะกดได้ 3 แม่ คือ แม่ กบด และคำลหุ บังคับคุณสมบัติ 2 ประการ แต่ คำตายบังคับคุณสมบัติข้อใดข้อหนึ่งเพียงข้อเดียว ความเหมือนกันระหว่างคำตายกับคำลหุ คือ ต่างต้องประสมกับสระเสียงสั้น นักเรียนลองใช้ความเหมือนและความต่าง ระหว่างคำเป็น คำตาย คำครุ และ คำลหุ ที่ครูให้เป็นข้อสังเกต เล่นเกมปริศนา ต่อไปนี้ดูสิคะ เกมปริศนาคำเป็น คำตอบจะเป็น คำเป็น 1.คำยืมอังกฤษน่ะซี่ จำนวนที่เทียบร้อยละ ใช้กันบ่อยบ่อยนะ คิดซิจ๊ะว่าคำใด 2.จัดเจนหรือเชี่ยวชาญ เรื่องการงานทุกอย่างไป ไม่ว่าเป็นเรื่องใด ต้นคำใช้สระอก 3.เครื่องหมายรูปสระ ขีนเขียนนะบนพินอิ เหมือนรูปไม้เอกซี่ คิดดูซิแล้วตอบเอย 4.ความหมายคำศัพท์มี หยิ่ง ถือดี ทะนงตัว การแสดงกริยาชั่ว อย่าทำตัวเช่นนี้เอย เกมปริศนาคำตาย คำตอบจะเป็น คำตาย ลองเล่นดูซิคะ 1.อาการที่เริ่มต้น น้อยน้อยจนตั้งตนได้ เช่นเด็กสอนเดินไง คงทายได้ใช่ไหมเอย 2.หมายถึงเปียกเลอะเทอะ หรือเปื้อนเปรอะไม่น่าดู หน้าฝนทุกคนรู้ พวกหนุหนุทายซิเอย 3.คำนี้แปลว่าผี คิดให้ดีสองพยางค์ คนกลัวตัวหนีห่าง ใช้ลักษณนามว่าตนเอย 4.ศัพท์นี้น่าประหลาด หมายปีศาจหรือภูตผี คิดคิดให้ดีดี หมายผู้ที่ไม่ใช่คน (จากเกมปริศนาของ นุกูล ณรงค์อินทร์) คำเฉลย ชุดเกมปริศนาคำทาย เรื่อง คำเป็น 1.เปอร์เซ็นต์ 2.ชำนาญ 3.ฝนทอง 4.จองหอง คำเฉลย ชุดเกมปริศนา เรื่อง คำตาย 1.เตาะเตะ 2.เฉอะแฉะ 3.ปิศาจ 4.อมนุษย์ ทายถูกกี่ข้อคะ ฉันคิดว่า คงสนุกนะคะ ฉันเอาใจช่วย ที่สำคัญ อย่าแอบดูคำตอบก่อนนะคะ ไม่งั้นจะไม่สนุกนะคะ โดย: D IP: 110.168.75.122 วันที่: 5 พฤษภาคม 2555 เวลา:15:45:15 น.
การสังเกต คำเป็น คำตาย คำครุ- ลหุ
วันนี้ ฉันขอเสนอความรู้เกี่ยวกับภาษาไทย เรื่อง การสังเกตคำเป็น คำตาย คำครุ- ลหุ โดยจะให้ความรู้เกี่ยวกับลักษณะเด่นของคำเป็น คำตาย และ คำ ครุ ลหุ เพื่อใช้สังเกต ความแตกต่างของคำทั้งสองประเภทนี้ค่ะ คำเป็น คำตาย ในภาษาไทยเป็นเรื่องสำคัญอีกเรื่องหนึ่ง เพราะตามฉันทลักษณ์ารบอกเสียงวรรณยุกต์ สำคัญต่อการแต่งคำประพันธ์ เช่น โคลง กลอน เป็นต้น เราจึงมีความรู้เรื่องเหล่านี้ไว้ต่อยอดในการเรียนเรื่องอื่น ๆ ในภาษาไทย ลักษณะคำเป็น 1.จะประสมกับสระเสียงยาว เช่น ยา มี ดู โอ้ หรือ 2.จะมีตัวสะกดอยู่ในแม่ กง กน กม เกอว เกย เช่น มอง กัน จม แมว เฉย หรือ 3.คำที่ประสมกับสระเกิน คือ อำ ไอ ใอ เอา เช่น เรา ได้ จำ ใจ ลักษณะคำตาย 1.จะประสมกับสระเสียงสั้น เช่น กะปิ ฉุ อุ เอ๊ะ เลอะเทอะ หรือ 2.วิธีจำง่าย ๆ คือ กบด เอ็งตาย (กบฏ) เช่น จด มัก ตบ คำครุ -ลหุ มีความสำคัญต่อการแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ ซึ่งเป็นคำประพันธ์ที่บังคับว่าต้องใช้ คำครุ และ ลหุ ในการแต่งตามฉันทลักษณ์ที่กำหนดไว้ นักเรียนจึงต้องเรียนรู้และสังเกตได้ว่า ลักษณะของ คำครุและลหุ ว่า เป็นอย่างไร ลักษณะคำครุ 1.จะประสมกับสระเสียงยาว เช่น เจอ รู้ น้า พี่ หรือ 2.จะมีตัวสะกดได้ทุกแม่ เช่น จิ้งจก ดม งด แจว เลย ดิ้น ปน นักเรียนจะสังเกตได้ว่า คำครู กับ คำเป็น ที่เราเรียนมาแล้ว จะมีทั้งข้อเหมือนและข้อต่าง ดังนี้ ความแตกต่างระหว่างคำเป็นกับคำครุ คือ คำครุ จะสามารถมีตัวสะกดได้ทุกแม่ แต่คำเป็นมีตัวสะกดที่ยกเว้น คือ แม่ กบด ความเหมือนกันของคำเป็นกับคำครุ คือ มีคุณสมบัติเพียงข้อใดข้อหนึ่ง ก็เป็นตำเป็น หรือ เป็นครุได้แล้ว ลักษณะคำ ลหุ 1.จะประสมกับสระเสียงสั้น เช่น นะ จุ โอ๊ะ เอะอะ และ 2.ต้องไม่มีตัวสะกดทุกแม่ ความแตกต่างระหว่างคำตายกับ คำลหุ คือ คำลหุ จะต้องไม่มีตัวสะกด แต่คำตาย มีตัวสะกดได้ 3 แม่ คือ แม่ กบด และคำลหุ บังคับคุณสมบัติ 2 ประการ แต่ คำตายบังคับคุณสมบัติข้อใดข้อหนึ่งเพียงข้อเดียว ความเหมือนกันระหว่างคำตายกับคำลหุ คือ ต่างต้องประสมกับสระเสียงสั้น นักเรียนลองใช้ความเหมือนและความต่าง ระหว่างคำเป็น คำตาย คำครุ และ คำลหุ ที่ครูให้เป็นข้อสังเกต เล่นเกมปริศนา ต่อไปนี้ดูสิคะ เกมปริศนาคำเป็น คำตอบจะเป็น คำเป็น 1.คำยืมอังกฤษน่ะซี่ จำนวนที่เทียบร้อยละ ใช้กันบ่อยบ่อยนะ คิดซิจ๊ะว่าคำใด 2.จัดเจนหรือเชี่ยวชาญ เรื่องการงานทุกอย่างไป ไม่ว่าเป็นเรื่องใด ต้นคำใช้สระอก 3.เครื่องหมายรูปสระ ขีนเขียนนะบนพินอิ เหมือนรูปไม้เอกซี่ คิดดูซิแล้วตอบเอย 4.ความหมายคำศัพท์มี หยิ่ง ถือดี ทะนงตัว การแสดงกริยาชั่ว อย่าทำตัวเช่นนี้เอย เกมปริศนาคำตาย คำตอบจะเป็น คำตาย ลองเล่นดูซิคะ 1.อาการที่เริ่มต้น น้อยน้อยจนตั้งตนได้ เช่นเด็กสอนเดินไง คงทายได้ใช่ไหมเอย 2.หมายถึงเปียกเลอะเทอะ หรือเปื้อนเปรอะไม่น่าดู หน้าฝนทุกคนรู้ พวกหนุหนุทายซิเอย 3.คำนี้แปลว่าผี คิดให้ดีสองพยางค์ คนกลัวตัวหนีห่าง ใช้ลักษณนามว่าตนเอย 4.ศัพท์นี้น่าประหลาด หมายปีศาจหรือภูตผี คิดคิดให้ดีดี หมายผู้ที่ไม่ใช่คน (จากเกมปริศนาของ นุกูล ณรงค์อินทร์) คำเฉลย ชุดเกมปริศนาคำทาย เรื่อง คำเป็น 1.เปอร์เซ็นต์ 2.ชำนาญ 3.ฝนทอง 4.จองหอง คำเฉลย ชุดเกมปริศนา เรื่อง คำตาย 1.เตาะเตะ 2.เฉอะแฉะ 3.ปิศาจ 4.อมนุษย์ ทายถูกกี่ข้อคะ ฉันคิดว่า คงสนุกนะคะ ฉันเอาใจช่วย ที่สำคัญ อย่าแอบดูคำตอบก่อนนะคะ ไม่งั้นจะไม่สนุกนะคะ โดย: F IP: 110.168.75.122 วันที่: 5 พฤษภาคม 2555 เวลา:15:45:33 น.
เ
โดย: กดเหกดเกดเกด IP: 110.168.75.122 วันที่: 5 พฤษภาคม 2555 เวลา:15:46:01 น.
|
บทความทั้งหมด
|
ขอบคุณอาจารย์ที่ช่วยบอกคำที่สะกดผิดให้นะค่ะ "พรรณนา" อิอิ ต่อไปนี้คงจำได้ตลอดเเล้วค่ะ ไม่สะกดผิดอีกแน่นอนค่ะ
พอเห็นคำว่า คำครุ ลหุ ทำให้นึกถึงการแต่งฉันท์ขึ้นมาทันทีเลยค่ะ ^^
สมัยที่เรียนมธยมปลาย อาจารย์ให้แต่งร้อยกรองบ่อยมากค่ะ ^^
สนุกดีค่ะ มีทั้งกลอนทั้งบทความ แต่ตอนนี้ห่างไปนานมากแล้วค่ะ
ขอบพระคุณอาจารย์สำหรับความรู้ภาษาไทยที่น่าสนใจแบบนี้นะค่ะ
หนูคงต้องขออนุญาต สมัครเป็นลูกศิษย์แล้วค่ะ