เส้นชายแดนขวานทองยาวเหยียด เกียรติยศของไทย ให้ลูกหลานร่วมยุคสมัย สืบสานไปยาวนาน
Group Blog
เพื่อน-วรรณกรรม-สังคม-เพลง
ความรู้สู่ชุมชน
<<
สิงหาคม 2549
>>
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
13 สิงหาคม 2549
เขื่อนขุนด่านปราการชล ส.ค 49
All Blogs
พลังงานท้ายเขื่อนขนาดเล็ก
จากกงไกรลาศ ถึง เขื่อนนเรศวร
สงกรานต์ 58 กันเพื่อนเก่า เพลงเก่าๆ
ต้นกำเนิดแม่น้ำเจ้าพระยา
Micro Hydro Power Plant
15 Days Indonesia
25 มิถุนายน 54 โป่งก้อนเส้า เจ็ดคต
นายกคนที่ 28 กับทางออกการเมืองไทย
กำหนดทิศทางประเทศ 3 กค.54
หงา คาราวาน ศิลปินแห่งชาติ 2553
วันเสาร์ สบายๆ
15 วัน แผ่นดินลุงโฮ "เวียดนาม"
14 ตุลา 53
15 วัน"หมายเหตุจากเมืองจีน"
จึงเปลี่ยนหนทางสู้ "ขึ้นภูพาน"
เด่นชัย สู่ล้านนา บอลบ้านโคก
พฤษภา "จุดไฟเผาแผ่นดิน"
จากศรีสัชนาลัย สู่ ลำน้ำน่าน
สงกรานต์ 53 รวมเพื่อนโรงเรียนเก่า
ครั้งแรก กับ เชียงใหม่
กระท่อม ไม้หมาก
Sutter's mill ปีใหม่ 53
อีกครั้ง ที่สวนผี้ง
14 ตุลา 52
หลับตาเก็บฝัน
นายแม็ก 9 พค 52
สงกรานต์ 52 กับความเปราะบาง
กองเกวียนบ้านไพร
เพลงยามเหงากับ ใกล้ตา ไกลตีน
การเมืองใหม่-กว่า
แค่วันเวลา..ที่เปลี่ยน..ก้าวต่อไป
เขื่อนเชี่ยวหลาน (รัชชประภา)-สุราษฎร์
...เลือด นอง แผ่นดิน....
เจ็ดคต-โป่งก้อนเส้า สระบุรี
การกลับมา ของ ตุลา...เลือด
หยุดเหล้า เข้าพรรษา กค.51
ริมน้ำโขง มิ.ย 51
บางช่วง ของวันเวลา
สงกรานต์ 51 HOME
สู่ เขาค้อ ก.พ 51 เพลงน้ำฝน
ใต้ต้นสะแบง จาก หงา คาราวาน
ชม พระปรางค์สามยอด
เที่ยววัดขุนอินประมูล
ทางสามแพร่ง การเมืองไทย เพลง2548
TGTK สังสรรค์
ไปแล หนัง
วันรัฐธรรมนูญ
ลำตะคอง โรงไฟฟ้าแบบสูบกลับ
Knowledge
ปราสาทหินพิมาย สุริยันจันทรา
ริมเล ประจวบ เดือนตุลา
เยี่ยมสหาย ขอนแก่น
สู่เขาใหญ่ ถนนมิตรภาพ
สู่ภาคเหนือ
สยามประเทศ กับรัฐธรรมนูญ 50
Home Michael Bublé
มาจากบ้าน(นอก)
จากชายแดน สวนผึ้ง
เขตเดียว เรียงเบอร์
กลับ บ้าน สงกรานต์ 50
กูคือ..... ผู้แทน
ปณิธาน หงา คาราวาน
SIG.Team building
แหล่งชุ่มน้ำโลก ทะเลน้อย (Ramsar site)
ทานตะวัน
ใกล้ตาไกลตีน
เขื่อนขุนด่านปราการชล ส.ค 49
นายผี คิดถึงบ้าน
เราและเธอ
เพื่อนพ้องน้องพี่
เวลาแห่งวันคืน ยิ้มกลางสายฝน
เขื่อนขุนด่านปราการชล ส.ค 49
เขื่อนคลองท่าด่าน
การสร้างเขื่อนโดยวิธีคอนกรีตบดอัดแน่น (Rooller Compacted Cancrete : RCC)สามารถย่นระยะเวลาการทำงาน ในการเทคอนกรีต ได้แต่ละครั้งถึง 1,000 ลูกบาศก์เมตร/7 วัน (ตั้งแบบและผูกเหล็ก) ถือว่าใช้เวลาน้อยที่สุดแล้ว หากใช้การก่อสร้างโดยวิธีแบบคอนกรีตบดอัดแน่นสามารถเทคอนกรีตบดอัดได้ครั้งละ 10,000 ลูกบาศก์เมตร/วัน โดยสามารถทำงานได้ต่อเนื่องเป็นแรมเดือน
การก่อสร้างเขื่อนคอนกรีตบดอัดที่เขื่อนคลองท่าด่าน รูปแบบของเขื่อนด้านเปลือกนอก เป็นลักษณะแบบสร้างเขื่อนแบบปกติ มีความหนาข้างละประมาณ 70 ซม. ส่วนด้านในเป็นขี้เถ้าลอย ซึ่งได้จากถ่านหินลิกไนต์ (RCC.) ถือเป็นสิ่งใหม่ที่เพิ่งนำมาใช้ในประเทศไทยเป็นครั้งแรก สิ่งที่ควรระมัดระวังสำหรับการก่อสร้างเขื่อนโดยวิธีคอนกรีตบดอัดนี้คือ เรื่องการควบคุมอุณหภูมิในระหว่างการก่อสร้างเพราะจะต้องมีการควบคุมอุณหภูมิไม่ให้สูงมาก หากอุณหภูมิสูงมากจะเกิดความร้อน จะทำให้เขื่อนแตกได้
ข้อดีของการสร้างเขื่อนโดยคอนกรีตบดอัด คือ
1. ระยะเวลาสั้นลง
2. การคืนทุนทางเศรษฐกิจ สามารถคืนทุนก่อนระยะเวลาอันควร
3. ประหยัดงบประมาณ
4. วัสดุก่อสร้างสามารถหาได้ภายในประเทศ เช่น หิน ทราย ปูนซิเมนต์
5. สร้างเขื่อนคอนกรีตบดอัดแน่น เป็นการ่อสร้างโดยเครื่องจักรเกือบทั้งหมด ให้แรงงานน้อย ปัญหาด้านแรงงาน บุคลากรมีน้อย
ข้อเสียของการสร้างเขื่อนคลองท่าด่านโดยคอนกรีตบดอัน คือ
1. ค่าลงทุนซื้อเครื่องจักรกลสูง
2. ผู้รับเหมาคนไทย ยังไม่เคยมีประสบการณ์ในการสร้างวิธีนี้ จึงจำเป็นต้อง ดำเนินการร่วมกับผู้รับเหมาต่างประเทศ
คนจร "คาราวาน"
ข้างถนน หนทางเรื่องราวได้เรียนรู้.......
เมื่อไรหนอสานธารที่ฝันถึงจึงจะมี จึงจะมา...
13 สิงหาคม 2549 เดินทางมาที่นี่พร้อมทีมงานจากอ่างทองตั้งใจจะมาพักผ่อนตอนวันหยุด
Create Date : 13 สิงหาคม 2549
Last Update : 7 พฤศจิกายน 2561 8:29:05 น.
0 comments
Counter : 1149 Pageviews.
Share
Tweet
ชื่อ :
Comment :
*ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
ชัยบุรี
Location :
พัทลุง Thailand
[ดู Profile ทั้งหมด]
ให้ทิปเจ้าของ Blog
[
?
]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 1 คน [
?
]
ภายใต้ดวงตะวัน ไม่โดดเดี่ยว และ เหงา อย่างน้อย มี เงา คอยเป็นเพื่อน
Friends' blogs
ชัยบุรี
Webmaster - BlogGang
[Add ชัยบุรี's blog to your web]
Links
ผู้จัดการ
บ้านนอก
จากลานโพธิ์ถึงภูพาน
อัศนี พลจันทร (นายผี)
มติชน
กรุงเทพธุรกิจ
9 Engineer
รูปภาพต่างๆ การท่องเที่ยว
เครือข่ายแม่น้ำเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
BlogGang.com
Pantip.com
|
PantipMarket.com
|
Pantown.com
| © 2004
BlogGang.com
allrights reserved.