ติดตาม twitter ได้ที่ @karnoi กด
ติดตามข้อมูลเว็บทาง FaceBook กด

การติดอินเทอร์เน็ตทำให้เกิดสมาธิสั้นและภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น





การศึกษาใหม่ อ้างว่า : การติดอินเทอร์เน็ตทำให้เกิดสมาธิสั้นและภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น


การติดอินเทอร์เน็ตเป็นจุดอ่อนของเด็กและวัยรุ่นที่มีปัญหาภาวะด้าน
อารมณ์ จากการสำรวจครั้งใหม่ นักเรียนเกรด 7 ของประเทศไต้หวัน
มีความประพฤติหรือแนวโน้มที่จะติดอินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.8 หรือ
2,293 ราย


นักวิจัยประเทศไต้หวัน ติดตามผลของเด็กในระยะเวลา 2 ปี พบว่า
เด็กที่มีสมาธิสั้นและก้าวร้าวสามารถติดอินเทอร์เน็ตได้ง่ายกว่าเด็กที่ชอบ
ใช้พลังงาน วิ่ง เล่น รวมถึงพวกที่ไม่นิยมออนไลน์


ในเด็กผู้หญิงโดยเฉพาะเด็กที่ขี้อาย หรือหวาดกลัวสังคมจะทำให้ติดอินเทอร์เน็ตเพิ่มง่ายขึ้น
อย่างไรก็ตาม เด็กผู้ชายจะมีความเสี่ยงสูงกว่าเด็กผู้หญิง ถ้าพวกเด็กๆ ใช้อินเตอร์เน็ตเกินกว่า 20 ชั่วโมงต่อสัปดาห์


แถบเอเชียมีความกังวลเกี่ยวกับเรื่องนี้มากกว่าสหรัฐอเมริกา
โลกอินเทอร์เน็ตกลายมาเป็นปัจจัยสำคัญที่ขาดไม่ได้
ในชีวิตประจำวันของเราไปแล้ว
สังคมเราควรจะเริ่มต้นทำอะไรจริงจังกับเรื่องนี้
แทนที่จะปล่อยให้อินเทอร์เน็ตกลายมาเป็น พี่เลี้ยงเด็กในรุ่นนี้ต่อไป.







การศึกษา : "โรคคลั่ง-ดิจิตอล" เป็นอุปสรรคต่อทักษะทางสังคมของเยาวชน



FaceTime

โปรแกรมแอปเปิ้ล วิดีโอแชท, ไม่ได้เป็นตัวแทนของการโต้ตอบของมนุษย์เท่านั้น
โดยเฉพาะ เยาวชนตามหลักสูตรการศึกษาใหม่ หญิงวัยรุ่นที่ใช้เวลาส่วนใหญ่
<ช่วงกลางวัน> หมดไปกับ YouTube, Facebook, โทรทัศน์ และ Text
การส่งข้อความ มีแนวโน้มที่จะพัฒนาปัญหาทางสังคมเพิ่มขึ้น


งานวิจัยชิ้นหนึ่ง ตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสแตนท์ฟอร์ด
มีการสำรวจของอาสาสมัครผู้หญิงอเมริกัน 3,461 คน ผลที่ได้ คือ
หญิงสาวที่มีอายุระหว่าง 8 ถึง 12
เป็นกลุ่มที่ใช้เวลามากที่สุดในที่สามารถทำงานหลายอย่างหรือใช้สื่อดิจิตอล
อาทิ อุปกรณ์ดิจิตอลต่างๆ การสื่อสารออนไลน์ หรือ
ดูวิดีโอที่ไม่มีสาระมากนัก ไปพร้อมๆกันได้



แม้ว่าการศึกษาครั้งนี้ จะเป็นการศึกษาโดยเฉพาะผู้หญิงที่ตอบสนอง
ต่อการสํารวจในการค้นพบจาก "นิตยสารหญิง"
แต่ก็มีความเห็นว่าผลที่ได้ควรจะนำไปใช้กับเด็กผู้ชายด้วย นาย คริปฟอร์ด
เนสส์ ศาสตราจารย์ของมหาวิทยาลัย สแตนท์ฟอร์ด ด้านการสื่อสาร
ที่ทำงานในการศึกษาใหม่ กล่าวว่า "การพัฒนาทางอารมณ์ ของเด็กผู้ชาย
เป็นเรื่องยากมากในการวิเคราะห์ เพราะการพัฒนาทางสังคม เพศชายจะแตกต่างกัน,
กว้างขวางและในช่วงเวลาที่นานกว่า "


"ไม่มีใครเคยมองจุดนี้ ซึ่งน่าตกใจต่อเราซึ่งเป็นกลุ่มผู้ชาย" มาก เนสส์
กล่าวว่า :
"เด็กต้องเรียนรู้เกี่ยวกับอารมณ์และวิธีที่พวกเขาต้องทำนั้นคือ
การให้ความสนใจกับคนอื่น ๆ และจะต้องมองพวกเขาเข้าไปในสายตา."



การแก้ไขสำหรับปรากฏการณ์ คลั่ง- ดิจิตอล สำหรับเด็กคือ
ต้องใช้เวลาพูดคุยโต้ตอบแบบ ตัวต่อตัวกับคนอื่นๆ การศึกษาใหม่พบว่า :
กลุ่มวัยรุ่นในการศึกษาที่ประจำอยู่ได้พูดคุยกับเพื่อนและครอบครัวบ่อยๆ
มีโอกาสน้อยที่จะแสดงปัญหาสังคม แต่หาก "คุณหลบหนีการสื่อสารแบบตัวต่อตัว,
คุณไม่ได้เรียนรู้สิ่งที่สำคัญที่คุณต้องเรียนรู้" เนสส์ กล่าวว่า :
"คุณต้องเรียนรู้ทักษะทางสังคม.
คุณต้องเรียนรู้เกี่ยวกับอารมณ์ความรู้สึก."



อย่างไรก็ตาม นักวิจัยมหาวิทยาลัยสแตนท์ฟอร์ด
ยังไม่สามารถที่จะกำหนดจำนวนชั่วโมงที่เหมาะสม
ซึ่งเด็กควรจะใช้เวลาสนทนาต่อสัปดาห์ เนสส์กล่าวว่า :
ทักษะทางสังคมมักจะเรียนรู้เฉพาะเมื่อเด็กมีส่วนร่วมและการติดต่อ
,มองตากันและกันมากกว่า ที่เล่นกับ iPod ได้ในระหว่างการสนทนา FaceTime และ
Skype จะไม่สามารถแทนที่ได้กับ การแสดงอากัปกิริยาบนใบหน้าที่แท้จริง
เพราะมีการสำรวจอื่น ๆ
พบว่าผู้คนมีแนวโน้มที่จะทำงานหลากหลายอย่างในขณะที่อยู่ในการสนทนานั้น
เนสส์กล่าว


เนสส์ เรียกตนเองว่าเป็นนักเทคโนโลยี มา25 ปี เป็นที่ปรึกษากับหลาย
บริษัท อิเล็กทรอนิกส์ ที่สำคัญรวมทั้ง Google และ Microsoft
เขากล่าวว่าเขาไม่พอใจกับสถานการณ์นี้อย่างมาก



ไม่กี่ปีที่ผ่านมาเนสส์ ทำงานเกี่ยวกับการศึกษา : เกี่ยวกับวิธีการทำงานแบบ "หลายอย่างในเวลาเดียวกัน"
ยังส่งผลกระทบต่อผู้ใหญ่ เขาพบว่าการทำงานหลายอย่างในเวลาเดียวกัน
ประสบปัญหาอย่างมากกับความรู้ความเข้าใจ เช่นความยากลำบากในการมุ่งเน้น
และการจดจำ เป็นสิ่งที่เลวร้ายอย่างยิ่งที่ทำเป็นเล่นกับกิจกรรมต่างๆ
กับทักษะที่สำคัญอย่างยิ่ง
ต่อชีวิตการทำงานของมุนษย์มากกว่าผู้ที่ใช้เวลาน้อยกว่าในการทำอะไรน้อย
อย่าง


Source : cnn.com













Create Date : 03 กุมภาพันธ์ 2555
Last Update : 3 กุมภาพันธ์ 2555 8:03:37 น. 0 comments
Counter : 1437 Pageviews.  

ชื่อ : * blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
  *ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
 

sitcomthai
Location :
กรุงเทพฯ Thailand

[Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 53 คน [?]










ติดตามข้อมูลของเว็บทาง twitter ได้ที่ @karnoi กด
ติดตามข้อมูลเว็บทาง FaceBook กด







Online Users


New Comments
[Add sitcomthai's blog to your web]