ขอเป็นกำลังใจให้กับทุก ๆ คน ทุกสิ่งเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และก็ดับไป ขอมีกำลังใจที่เต็มเปี่ยมและเข้มแข็ง มีสติที่ตั้งมั่น ธรรมย่อมรักษาผู้ปฏิบัติธรรม, ทุกสิ่งเป็น อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา, การนำข้อมูลไปใช้ต้องใช้หลักกาลามสูตร. Group Blog จำนวน 215 Group Blog : รวมข้อมูลทั้งหมด 525 เรื่อง (Click (คลิ๊ก) ตรงกล่องสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีฟ้า หรือเครื่องหมายสามเหลี่ยมของกล่องสี่เหลี่ยม (ทางด้านขวามือ) (มีข้อมูลอยู่ในนั้นครับ) "ขอขอบคุณเจ้าของผลงานต่างๆ และข้อมูลเหล่านี้ใช้เพื่อการศึกษา เรียนรู้ และการวิจัยเท่านั้น"
Group Blog
 
All Blogs
 

การให้คำปรึกษาแนะนำ (Counselling)

ที่มา : //www.med.cmu.ac.th/dept/family/LECTURE/onanong/psycho-social%20care.doc (เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง Psycho Social Care & Counselling Technique ของ อรอนงค์ ซ่อนกลิ่น ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว
คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


1. ความหมายของการให้คำปรึกษาแนะนำ
การปรึกษาแนะนำเป็นเครื่องมืออันมีค่าที่จะช่วยเหลือเกื้อกูลให้คนที่ประสบปัญหา สามารถตัดสินใจเลือกวิธีการแก้ปัญหาและผ่านพ้นอุปสรรคช่วงวิกฤตของชีวิตไปได้ด้วยตัวของเขาเอง
การให้คำปรึกษาแนะนำเป็นเรื่องละเอียดอ่อนพอควรที่ผู้ให้คำปรึกษา (Counsellor) พึงปฏิบัติต่อผู้มาขอรับคำปรึกษา (counselee หรือ client) อย่างเอาใจใส่เพราะปัญหาที่ลึกซึ้งเปิดเผยได้ยาก ผู้มีปัญหามักจะอาย ทำให้ผู้ให้คำปรึกษาต้องมีความเป็นกันเอง น่านับถือไว้ใจได้ รักษาความลับได้ มีทัศนคติที่ดี มีทักษะในการให้คำปรึกษา และมีความรู้เป็นอย่างดีในเรื่องที่จะให้คำปรึกษา

2. วัตถุประสงค์ในการให้คำปรึกษาแนะนำ
2.1 เพื่อให้ผู้รับคำปรึกษาได้พูดระบายความรู้สึกคับข้องใจออกมา อันจะทำให้เกิดความเข้าใจใน ความหมายของปัญหาและเหตุการณ์นั้นๆ ได้
2.2 เพื่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างผู้ให้คำปรึกษาและผู้รับคำปรึกษา ในการที่จะวางแผนเผชิญและแก้ไขสถานการณ์ปัญหาของผู้รับคำปรึกษาเองได้

3. ผู้ให้คำปรึกษาแนะนำคือใคร
ผู้ให้คำปรึกษาแนะนำก็คือ คนที่ถูกฝึกอบรมให้มีทักษะ เหมาะสมที่จะเข้ารับหน้าที่ในการให้คำปรึกษาแนะนำ อย่างไรก็ดีผู้ให้คำปรึกษาก็ยังเป็นคนผู้ซึ่งมีความต้องการทางร่างกาย จิตใจและสังคม เป็นผู้ซึ่งถูกขัดเกลามาจากครอบครัวต่างๆ กัน ทำให้มีความเชื่อ ค่านิยมในเรื่องราวต่างๆ ที่ไม่เหมือนกัน ตลอดจนเป็นผู้ที่มีจุดอ่อน จุดเด่นในตัวเองที่แตกต่างกันไป ลักษณะที่แตกต่างกันนี้เอง อาจมีอิทธิพลส่งเสริมหรือขัดขวางในการให้คำปรึกษาแนะนำต่อผู้ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคหรือผู้ป่วยและครอบครัวได้
ดังนั้นผู้ให้คำปรึกษาแนะนำ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องรู้จักตนเอง รู้ว่าตัวเองมีความเชื่อและค่านิยมเกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ อย่างไร และรู้จักระวังตนเองในการแสดงออกทางวาจาและท่าทางขณะให้คำปรึกษาแนะนำอย่างเหมาะสม รู้จักควบคุมและเผชิญอารมณ์ ความรู้สึก ความกลัว หรือความรู้สึกรังเกียจให้อยู่ในสภาพที่ไม่ขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่ หรือเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้รับบริการให้มากที่สุด

3.1 คุณสมบัติของผู้ให้คำปรึกษาแนะนำ
3.1.1 เป็นผู้ที่มีความรู้ในเนื้อหาของเรื่องที่จะให้คำปรึกษาเป็นอย่างดี
3.1.2 เป็นผู้ที่มีความเชื่อมั่น บุคลิกมั่นคง สามารถควบคุมอารมณ์ รับฟังปัญหา และระบายความในใจของผู้มารับบริการ
3.1.3 เป็นผู้ที่ผู้รับบริการยอมรับและให้ความเชื่อถือ
3.1.4 เป็นผู้ที่สามารถสร้างสัมพัทธภาพที่ดีกับผู้รับบริการโดยการวางตัวเป็นกันเอง
3.1.5 เป็นผู้ที่มีความเสียสละ อดทน ตั้งใจที่จะแก้ปัญหาให้ผู้มารับบริการ
3.1.6 เป็นผู้ที่ได้รับการอบรมในการให้คำปรึกษาแนะนำโดยเฉพาะในเรื่องที่ได้รับมอบหมาย
3.1.7 เป็นผุ้มีความสามารถในการสื่อสารเป็นอย่างดี

3.2 ความรับผิดชอบของผู้ที่ทำหน้าที่ให้คำปรึกษาแนะนำ
3.2.1 พยายามเข้าใจถึงสภาพจิตและสังคมของผู้ที่มารับคำปรึกษาทุกประเภท
3.2.2 นอกจากจะให้ข่าวสารด้านความรู้แล้ว ยังต้องพยายามโน้มน้าวให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทัศนะคติและปฏิบัติของผู้รับคำปรึกษาให้เป็นไปในทางที่เหมาะสม
3.2.3 รักษาความลับของผู้รับบริการ

3.3 ข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้ให้คำปรึกษาแนะนำ
3.3.1 ผู้ให้คำปรึกษาควรได้วิเคราะห์ตนเองอยู่เสมอว่า ตนเองเป็นคนอย่างไร มีนิสัยใจคอ ความรู้สึก ความเชื่ออย่างไร
3.3.2 ผู้ให้คำปรึกษาควรรู้จักขอความช่วยเหลือจากผู้อื่น หากรู้สึกว่าตนเองมีความกลัวหรือความรู้สึกสับสนข้องใจในการให้บริการแก่ผู้รับคำปรึกษา
3.3.3 ผู้ให้คำปรึกษาควรได้มีการพบปะพูดคุยระหว่างวิชาชีพเดียวกันและต่างวิชาชีพ เพื่อเป็นการให้กำลังใจซึ่งกันและกันในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อแก้ปัญหา

4. ผู้รับคำปรึกษาคือใคร
ผู้รับคำปรึกษาคือ คนที่กำลังเผชิญปัญหาอย่างใดอย่างหนึ่ง และต้องการความช่วยเหลือ เพื่อให้มองเห็นสาเหตุและวิธีการแก้ปัญหา ผู้รับคำปรึกษาแต่ละคนมีความแตกต่างกัน เนื่องจากสาเหตุหลายประการคือ
- พื้นฐานของวัฒนะธรรมการอบรมเลี้ยงดูจากครอบครัวแต่เยาว์วัย ทำให้เกิดพลังจิตที่เข้มแข็งหรืออ่อนแอได้ ทำให้การรับรู้ปัญหาที่จะต้องมีวิธีการบำบัดแก้ไขของผู้รับคำปรึกษาแต่ละคนแตกต่างกันมากบ้างน้อยบ้าง บางคนมีพลังจิตที่เข้มแข็งและอ่อนแอปะปนกัน การบำบัดหรือการให้คำปรึกษาจะต้องนำเอาพลังจิตที่เข้มแข็ง หรือจุดแข็งมาเอาชนะพลังจิตที่อ่อนแอหรือจุดด้อยให้จงได้
- การเรียนรู้ในสถาบันการศึกษา ตลอดจนสภาพสังคมสิ่งแวดล้อมทำให้เกิดการมองตนเอง การมองปัญหาของตนเองผิดแผกไปได้เหมือนกัน
- ความพร้อมของผู้มารับคำปรึกษา การมารับบริการเพราะภาวะจำยอมต่างๆ จะไม่เป็นผลต่อทุกฝ่ายที่อยู่ในวงการให้คำปรึกษา โดยเฉพาะตัวผู้รับคำปรึกษาเพราะเขาจะขาดความคิดอย่างมีสติ มีเหตุผล

5. หลักการให้คำปรึกษา
5.1 พึงปฏิบัติต่อผู้รับคำปรึกษาแต่ละบุคคลอย่างที่เขาเป็นอยู่ ทั้งนี้เพราะแต่ละคนมาจากครอบครัวและสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกัน
5.2 ให้ผู้รับคำปรึกษาได้แสดงออกอย่างอิสระและพึงศึกษาถึงการแสดงออกทางความรู้สึกของเขา เพราะการแสดงออกเหล่านั้นมีความหมาย ถ้าเขาท้อแท้ก็กระตุ้นให้แสดงออกโดยการพูดออกมา
5.3 พึงควบคุมอารมณ์ขณะให้คำปรึกษาแนะนำ ไม่คล้อยตาม แต่ต้องไวต่อความรู้สึกที่ผู้รับคำปรึกษาได้แสดงออกมา พยายามทำความเข้าใจแล้วตอบได้อย่างเหมาะสม
5.4 พึงยอมรับพฤติกรรมของผู้รับคำปรึกษา ทั้งจุดเด่นและจุดด้อย การมีบรรยากาศของการยอมรับจะช่วยลดกลไกการป้องกันตนเองให้น้อยลงและได้ข้อเท็จจริงมากขึ้น
5.5 พึงให้ผู้รับคำปรึกษาตัดสินใจด้วยตนเอง ผู้ให้คำปรึกษาอาจชี้ทางออกหลายๆ ทาง ให้เขาพิจารณาหาทางที่ดีที่สุด เพื่อแก้ไขหรือป้องกันปัญหา
5.6 พึงรักษาความลับของผู้รับคำปรึกษาตามจรรยาบรรณ มิฉะนั้นอาจนำความเสียหายมาสู่ผู้รับคำปรึกษาและผู้เกี่ยวข้องได้
5.7 พึงระวังไม่ยึดค่านิยมของผู้ให้คำปรึกษาเป็นหลักในการตัดสินใจว่าเขาไม่ดี แต่ต้องปรึกษาปัญหาและพฤติกรรมต่างๆ ของผู้รับคำปรึกษาและวิเคราะห์ปัญหาไปพร้อมๆ กับผู้รับคำปรึกษาเพื่อเขาจะได้เรียนรู้ตนเองมากขึ้น

6. ขั้นตอนในการให้คำปรึกษาแนะนำ
ขั้นตอนในการให้คำปรึกษาแนะนำนั้นเราใช้คำว่า - GATHER - ซึ่งประกอบด้วย
G - Greeting การต้อนรับ ท่าทาง คำพูด การตกลงบริการ
- เมื่อผู้รับคำปรึกษาเข้ามา กล่าวคำทักทาย ถามชื่อ เชื้อเชิญให้นั่งแนะนำตนเอง ควรจัดเก้าอี้ระยะห่างระหว่างผู้ให้คำปรึกษาและผู้รับคำปรึกษาให้อยู่ในระยะที่พอดี ไม่ไกลจนเกิดอาการเกร็ง หรือห่างเกินไปจนต้องใช้เสียงดัง
- สายตามี eye contact ควรจะมองแต่ไม่ใช่จ้อง
- ท่านั่งควรจะให้เรียบร้อย ไม่ควรนั่งเผชิญหน้าควรตั้งเก้าอี้อยู่ทางด้านข้าง
- ไม่ควรวางมือเกะกะหรือบีบของ เช่น ปากกาที่อยู่ในมือ
- การนั่งด้านข้างจะทำให้เห็น Non Verbal ของผู้มารับคำปรึกษาด้วย
- การพูดคุยควรเป็นคำพูดกลางๆ เช่น มีอะไรจะให้ช่วยบ้าง มีอะไรที่มาวันนี้ หลังจากทราบความต้องการของผู้รับคำปรึกษาแล้วก็ตกลงบริการ ซักถามข้อมูล
A - Active listening การฟัง
- ควรฟังด้วยท่าทางที่เป็นมิตร
- เมื่อเกิดความเงียบให้ใช้คำถามช่วย คำถามที่ใช้ส่วนมากจะใช้คำถามเปิด อะไร อย่างไร พอจะบอกหรือเล่าเหตุการณ์ได้ไหม ไม่ใช้คำถามว่าทำไม ควรระมัดระวังคำถามเพราะถ้าถามไม่ดี จะดูเหมือนว่าเราตำหนิติเตียน เราจะใช้คำถามปิดเมื่อต้องการคำยืนยัน
- Silence ความเงียบ Active Silence เงียบเนื่องจากผู้มารับคำปรึกษา ได้มีโอกาสทบทวน Passive Silence เงียบตลอดไม่พูดเลย น่ากลัวมาก ต้องใช้คำถามกระตุ้นให้พูด
T - Telling เป็นการช่วยเหลือที่จะหาปัญหาจริงๆ
Problem คือ 1) Surface Problem เป็นปัญหาที่เห็นผิวเผิน ไม่ใช่ปัญหาที่แท้จริง แต่จะเป็นสิ่งที่นำเขาให้มารับบริการ และ 2) Real Problem คือปัญหาที่แท้จริงหรือต้นเหตุซึ่งต้องขจัดออกไป มิฉะนั้นจะเกิดปัญหาอยู่เรื่อยๆ
H - Helping ช่วยให้เขาตัดสินใจแก้ปัญหาได้ โดยการให้ข้อมูลความรู้ที่ถูกต้อง เสนอแนวทางเลือกให้หลายๆ วิธี
E - Explaining อธิบายข้อดีของแต่ละแนวทางที่เสนอ ข้อเสียที่มี แล้วให้เขาตัดสินใจเลือกวิธีการและแนวทางในการแก้ปัญหาด้วยตัวของเขาเอง หลังจากนั้นจะสรุปความ เป็นการสรุปประเด็นต่างๆ ในการให้บริการ เพื่อผู้รับคำปรึกษาได้เข้าใจปัญหาของตนเองได้เด่นชัดขึ้นสรุปแนวทางการแก้ไขที่ผู้รับคำปรึกษาได้เลือกแล้ว
R - Refer บางครั้งในการให้คำปรึกษาผู้ทำหน้าที่ให้คำปรึกษามีข้อขัดข้องบางประการ ไม่สามารถให้คำปรึกษาแก่ผู้รับคำปรึกษาได้ตลอด เช่น อาจมีข้อขัดแย้ง รู้สึกมีอคติต่อผู้มารับคำปรึกษา หรือปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นปัญหาที่ต้องการความรู้ความชำนาญในวิชาชีพหนึ่งโดยเฉพาะ ผู้ให้คำปรึกษาสามารถส่งต่อผู้มารับคำปรึกษาให้กับผู้อื่นที่มีความรู้ความชำนาญในด้านนั้น เพื่อช่วยให้ผู้มารับคำปรึกษาได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่
หลังจากเสร็จสิ้นการให้คำปรึกษาทุกครั้ง จะต้องกล่าวปิดการให้คำปรึกษา ซักถามข้อข้องใจที่เขายังมีอยู่และกล่าวคำอำลา

7. องค์ประกอบของกระบวนการให้คำปรึกษา
ในการให้คำปรึกษานั้น ผู้ให้คำปรึกษาจำเป็นต้องเข้าใจองค์ประกอบในกระบวนการให้คำปรึกษา ซึ่งประกอบด้วย
7.1 มีความรู้ (Knowledge)
ผู้ให้คำปรึกษาจำเป็นต้องมีความรู้ในเรื่องที่จะให้คำปรึกษาเป็นอย่างดี รวมไปถึงความรู้พื้นฐานที่จะทำความเข้าใจในปัญหาของผู้รับบริการ รู้จุดเด่นและจุดด้อย และสามารถให้การศึกษาให้ความรู้แก่ผู้ที่มีปัญหาได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ
7.2 มีทัศนคติ (Attitude)
ผู้ให้คำปรึกษาแนะนำจำเป็นที่จะต้องมีทัศนคติที่ดีต่อการให้บริการ มีความจริงใจที่จะช่วยเหลือ มีความเข้าใจและเข้าใจความรู้สึกร่วมไปกับผู้ที่มีปัญหา การมีความเข้าใจและเห็นใจย่อมจะช่วยให้ผู้รับคำปรึกษาเข้าใจในเกียรติภูมิและความมีคุณค่าของการเป็นมนุษย์ ช่วยให้รู้สึกไม่อายที่จะพูดถึงปัญหาของตนและค้นหาความเป็นจริง เพื่อทำความเข้าใจในพฤติกรรมของคน
7.3 มีทักษะ (Skill)
ผู้ให้คำปรึกษาจำเป็นต้องมีทักษะในการให้คำปรึกษา ซึ่งหมายถึงการนำความรู้และทัศนคติดังกล่าวแล้วมาประยุกต์ใช้ในการให้คำปรึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงาน ทำให้ผู้มีปัญหามีทางออก เข้าใจตนเอง เป็นที่พอใจที่ได้รับความช่วยเหลือ ทักษะในการให้คำปรึกษาก็เหมือนกับ ทักษะในการให้บริการทางด้านจิตวิทยาสังคม ประกอบด้วย
7.3.1 ทักษะในการสร้างสัมพัทธภาพการเอาใจใส่ ประกอบด้วย
7.3.1.1 การมอง มองด้วยความสนใจที่จะให้ความช่วยเหลือ
7.3.1.2 กริยาท่าทาง มีความเป็นกันเอง แสดงความจริงใจ
7.3.1.3 น้ำเสียง เป็นกันเอง จังหวะพูดไม่เร็วหรือช้า เบาหรือดังจนเกินไป
7.3.1.4 การพูดแบบเป็นกันเอง และพูดอยู่ในเรื่องราวที่เป็นปัญหา หรือเรื่องที่ผู้รับ คำปรึกษาต้องการปรึกษาในขณะนั้น

7.4 ทักษะในการฟัง (Listening Skill)
ผู้ให้คำปรึกษาต้องมีความสนใจเอาใจใส่รับฟังปัญหาของผู้รับคำปรึกษาเพื่อให้ผู้รับคำปรึกษาได้พูดระบายความรู้สึกอัดอั้นตันใจออกมา ทักษะในการฟังได้เขียนไว้ใน Psycho Social Care แล้ว

7.5 ทักษะในการตอบโต้ (Responding Skill)
ทักษะในการตอบโต้เพื่อสนทนาหรือพูดคุยกับผู้รับคำปรึกษา หลังจากใช้ทักษะการฟังมาแล้ว ซึ่งทำให้ผู้รับคำปรึกษาได้ข้อมูลมาเพียงพอ มีความสนิทสนมกันดีขึ้นแล้วจะช่วยให้ผู้รับคำปรึกษาเข้าใจปัญหาตนเองดีขึ้น การตอบโต้นี้ถ้าเร็วเกินไป อาจทำให้ผู้รับการปรึกษาปฎิเสธการช่วยเหลือหรือไม่มารับบริการอีก วัตถุประสงค์ของทักษะในการตอบโต้มุ่งหวังให้ผู้รับคำปรึกษาเกิดความต้องการที่จะเปลี่ยนแปลงและแสดงออกซึ่งพฤติกรรมที่หวังไว้
ทักษะในการตอบโต้มีเทคนิคที่สำคัญคือ
7.5.1 การซักถาม ให้ใช้คำถามเปิดมากกว่าคำถามปิด ไม่ใช้คำว่า”ทำไม” มาใช้คำว่า “อะไร” แทนได้
7.5.2การสนับสนุนให้กำลังใจ เทคนิคนี้กระตุ้นให้ผู้รับคำปรึกษารู้สึกว่ามีผู้ให้กำลังใจ เขามิได้เผชิญปัญหาอยู่คนเดียว ทำให้ผู้รับคำปรึกษารู้ว่าเขามีความสามารถ มีศักยภาพที่จะทำอะไรได้ มีความคิดริเริ่มที่จะต่อสู้รวม ทั้งมีความมั่นใจ ปกติแล้วผู้รับคำปรึกษาบางคนขาดความคิดริเริ่ม ไม่กระตือรือร้นจึงจำเป็นต้องใช้เทคนิคนี้
7.5.3 การเผชิญหน้า เทคนิคนี้ผู้ให้คำปรึกษาใช้เมื่อผู้รับคำปรึกษามีความสับสน มีความขัดแย้งระหว่างพฤติกรรมและความคิดความรู้สึกของตน ทั้งนี้เพื่อช่วยให้ผู้รับคำปรึกษาได้รับรู้ถึงความขัดแย้งดังกล่าวและนำมาวิเคราะห์ตนเอง แม้ว่าจะทำให้เกิดความรู้สึกเจ็บใจอยู่บ้าง เพื่อจะได้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมให้ไปสู่พฤติกรรมที่เหมาะสม
การใช้เทคนิคนี้มักจะใช้เมื่อมีข้อมูลต่างๆ เพียงพอ และผู้ให้คำปรึกษากับผู้รับคำปรึกษามีความสนิทสนมพอควรแล้ว ไม่ควรใช้เทคนิคนี้บ่อยๆ อาจใช้เพียงครั้งเดียวในระยะที่ปรึกษากัน หากใช้บ่อยๆ จะไม่เกิดผลดี ผู้รับคำปรึกษาจะรู้สึกว่าเป็นการตำหนิติเตียนไม่เห็นด้วยหรือรู้สึกขัดแย้ง
การใช้เทคนิคเผชิญหน้า เพื่อวัตถุประสงค์สำคัญที่จะให้ผู้รับคำปรึกษายอมรับความจริงกล้าที่จะเผชิญความจริงเต็มใจที่จะแก้ปัญหา จึงต้องการที่จะสำรวจตนเองแล้วปรับปรุงพฤติกรรมของตนเองให้เหมาะสมนั้นเอง
7.5.4 การตีความหมาย เทคนิคนี้หมายถึงการตีความหรือแปลความหมาย เพื่อให้ผู้รับคำปรึกษาเข้าใจถึงปัญหาของตน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องพฤติกรรมความคิด ความรู้สึกที่เขาได้แสดงออก แม้ว่าเขาไม่ได้เปิดเผยแสดงออกมาตรงๆ แต่การแสดงออกจะมีความหมายทั้งสิ้น การตีความหรือแปลความหมาย เพื่อให้ผู้ให้คำปรึกษาและผู้รับคำปรึกษามีความเข้าใจสื่ออารมณ์กันได้และเข้าใจความจริง จึงเป็นเทคนิคที่ทำให้ผู้รับคำปรึกษาเชื่อถือมีศรัทธาต่อผู้ให้คำปรึกษามากขึ้น มีความสัมพัทธ์ดีขึ้น ยอมเปิดเผยตนเองมากขึ้นทำให้ผู้รับคำปรึกษาได้สำรวจตนเองไปด้วย เมื่อผู้ให้คำปรึกษาและผู้รับคำปรึกษาเห็นใจและเข้าใจร่วมกัน ย่อมช่วยให้ผู้รับคำปรึกษาเข้าใจตนเองปรับปรุงเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตนให้มีความสุขในชีวิต
เทคนิคนี้มีจุดอ่อนที่สำคัญประการหนึ่ง คือผู้ให้คำปรึกษามีอคติ ซึ่งทำให้ตนเองใช้ประสบการณ์ที่ผ่านมาในอดีตของตนที่จะต่อต้านพฤติกรรมบางอย่าง เช่น คนมีปัญหาชีวิตคู่ทำให้ไม่อยากแต่งงาน เลยตีความหมายและให้คำปรึกษาไปในทางเดียวกับตน ซึ่งไม่สมควรอย่างยิ่ง เพราะชีวิตของผู้รับคำปรึกษามิใช่ชีวิตของผู้ให้คำปรึกษา

7.6 ทักษะในการเปิดเผยตน
การเปิดเผยตนเองถึงความรู้สึกของผู้ให้คำปรึกษาเป็นเทคนิคอย่างหนึ่งของการให้คำปรึกษา เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้รับคำปรึกษา วัตถุประสงค์ในการเปิดเผยตนเองมีเพื่อให้บรรยากาศเป็นกันเองช่วยให้ผู้ให้คำปรึกษาบอกเรื่องราวต่างๆ ของตน เมื่อผู้รับคำปรึกษารู้สึกว่าผู้ให้คำปรึกษาก็มีลักษณะคล้ายๆ กับตน ก็จะช่วยให้เขารู้สึกสบายใจขึ้นไม่มีช่องว่างระหว่างกัน อยากรู้ทางออกหรือแนวทางแก้ไขปัญหาของผู้ให้คำปรึกษาได้เรียนรู้ด้วยตนเองที่จะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและทัศนคติของตนไปในทางสร้างสรรค์ค์ต่อไป
การเปิดเผยตนเองนี้จะเกิดประโยชน์ต่อผู้รับคำปรึกษาที่จะเปิดเผยเรื่องทั่วไปของเขา เช่น เรื่องความไม่สบายใจเป็นต้น เรื่องส่วนตัวที่ไม่ลึกซึ้งมาก เรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวกับจุดเด่นและจุดด้อยของเขา เพราะเรื่องเหล่านี้ผู้ให้คำปรึกษาก็มีเช่นกันในฐานะปุถุชน

7.7 การมุ่งที่ปัจจุบัน (Immediacy) และทักษะที่นำมาประยุกต์ใช้
การให้คำปรึกษาเป็นการสะท้อนความคิดความรู้สึกของผู้ให้คำปรึกษาและของผู้รับคำปรึกษา ซึ่งเป็นการสัมพัทธ์กันในทางที่ดีหรือทางที่เกิดประโยชน์ต่อผู้รับคำปรึกษาในที่นี้ ขณะนี้ ( Here and Now) โดยใช้เทคนิคต่างๆ ดังกล่าวแล้ว เพื่อที่จะเปิดเผยเรื่องราวและความรู้สึกต่างๆ ออกมา

โดยปกติผู้รับคำปรึกษามักจะเก็บกดความรู้สึก หรือปกปิดเหตุการณ์หรือความรู้สึกบางอย่างเอาไว้ บางครั้งผู้รับคำปรึกษามีความรู้สึกต่อต้านด้วย ซึ่งเป็นการยากที่จะให้ความสัมพันธ์ของทั้งสองฝ่ายเป็นไปด้วยดี จึงต้องเริ่มจากปัจจุบันก่อนไม่ก้าวลึกลงไปถึงอดีต

การให้คำปรึกษาแนะนำจะได้รับความสำเร็จก็ขึ้นอยู่กับผู้ให้บริการที่จะนำเอาความรู้ มีทัศนคติที่ดี และมีทักษะในการให้คำปรึกษาและนำสิ่งเหล่านี้มาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม




 

Create Date : 20 กันยายน 2550    
Last Update : 20 สิงหาคม 2552 13:30:28 น.
Counter : 8501 Pageviews.  


muansuk
Location :


[Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 84 คน [?]




blog counter
blog counterDiseño Web
Share on Facebook



 Follow Me on Twitter
 คลิ๊ก


 ลงนามสมุดเยี่ยม muansuk blog ครับ คลิ๊ก




“ทาน ศีล ภาวนา ธรรมทั้ง 3 นี้
เป็นรากแก้วของความเป็นมนุษย์
และเป็นรากเหง้าของพระศาสนา”

หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต




“ถ้าเรารู้เรื่องธรรมดาของโลก และรู้จักความเป็นจริงของธรรมแล้ว
เราก็จะไม่ต้องมีความยุ่งยากในการเป็นอยู่
เรื่องภายนอกนั้น ถึงเราจะศึกษาให้มีความรู้สักเท่าไรๆ
ก็ไม่ทำให้เราพ้นจากทุกข์ได้
สู้การเรียนรู้จิตใจของตนอยู่ภายในวงแคบๆ นี้ไม่ได้”

ท่านพ่อลี ธมฺมธโร




“… อย่าไปอยากรู้เรื่องของคนอื่นมันเป็นทุกข์
ให้สนใจเรื่องของตัวเอง
คือเรื่องของกายกับใจ
ดูให้มันชัด …”

หลวงปู่เพียร วิริโย




“… สิ่งใดมันล่วงไปแล้ว สิ่งนั้นมันก็ล่วงไปแล้ว หมดไปแล้ว
ไม่ควรเอามาคิด มาติดอยู่ในใจ ละทิ้งให้หมด
ส่วนว่าอารมณ์อันเป็นอนาคตกาล
ดีร้ายประการใด ทั้งทางโลก และทางธรรม
สิ่งนั้นก็ยังอยู่ข้างหน้า คือยังไม่มาถึง
เวลาปัจจุบัน คือ เป็นเวลาเรานั่งภาวนา ฟังธรรม
สงบกาย สงบวาจา สงบจิต สงบใจ อยู่นี้แหละ
เป็นธรรมะปัจจุบัน ให้ระลึกภาวนาทุกลมหายใจเข้าออก...”

หลวงปู่สิม พุทธาจาโร




“... ให้รักษาศีล
ให้รู้จักพิจารณา เกิด แก่ เจ็บ ตาย
รู้จักแก้ไขจิตของตน ... ”

หลวงปู่จาม มหาปุณฺโญ





หลวงพ่อชา สุภทฺโท : ปล่อยวาง 1





พระอาจารย์สิงห์ทอง ธมฺมวโร : ธรรมสู่ใจ





หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ : ไม่ยอมละ





ดาวน์โหลดหนังสือธรรมะ (Download E-Book) :

ดาวน์โหลด (Download): หนังสือมุตโตทัย-อาจาโรวาท โดย หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต และ หลวงปู่ฝั้น อาจาโร (PDF) (9.25 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือหลวงปู่ฝากไว้ บันทึกคติธรรมและธรรมเทศนาของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล (โดย พระโพธินันทมุนี) (PDF) (625 KB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือธรรมธาตุ โดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน (PDF) (13.38) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือชาติสุดท้าย (หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน) (PDF) (6.97) คลิ๊ก  ดาวน์โหลด (Download): หนังสือพ่อแม่ครูอาจารย์ ชีวประวัติ คติธรรม และปฏิปทา พระธรรมวิสุทธิมงคล (หลวงตามหาบัว  ญาณสัมปันโน (PDF) (12.82 MB) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): หนังสือปฏิปทาของพระธุดงคกรรมฐาน สายพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต (ท่านอาจารย์พระมหาบัว ญาณสัมปันโน) (PDF) (14.68 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือไม่มาเกิดมาตายเรียกว่าชาติสุดท้าย (หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน) (PDF) (4.72 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือหลวงตา พระผู้สืบสานอริยวงศ์  รวบรวมโดยคณะศิษยานุศิษย์หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน (PDF) (50.51 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือกายคตาสติ โดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน (PDF) (10.8 MB) คลิ๊ก
 ดาวน์โหลด (Download): หนังสือธรรมปกครองใจ โดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน และหลวงปู่จันทร์ศรี  จันททีโป (PDF) (11.47 MB) คลิ๊ก  ดาวน์โหลด (Download): หนังสือปัญญาอบรมสมาธิ โดยท่านอาจารย์พระมหาบัว  ญาณสัมปันโน (PDF) (1.29 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หลวงตานิพพาน (พิธีพระราชทานเพลิงถวายสรีระสังขารหลวงตามหาบัวญาณสมฺปนฺโน) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือธรรมะทะลุโลก โดยท่านพ่อลี ธมฺมธโร (PDF) (3.18 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือท่านพ่อลี ธมฺมธโร พระอริยเจ้าผู้มีพลังแก่กล้า (PDF) (30.21 MB) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): หลวงปู่เล่าเรื่อง (หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือธรรม...ย้ำเตือน  โดยหลวงปู่เพียร  วิริโย (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือธรรมพระเพียร  วิริโย เป็นเพชรน้ำหนึ่งเพราะความพากเพียร (หลวงตาพระมหาบัว  ญาณสัมปันโน) (PDF) (8.68 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือธรรมพเนจร (หลวงปู่จันทา  ถาวโร) (PDF) (30.39 MB) คลิ๊ก Download หนังสือหลวงปู่เจี๊ยะ  จุนฺโท  พระผู้เป็นดั่งผ้าขี้ริ้วห่อทอง (PDF) (13.58 MB) คลิ๊ก
Download หนังสือพระธรรมเทศนา หลวงพ่อชา สุภัทโท (PDF) คลิ๊ก Download หนังสือสุภัททานุสรณ์ ชุด..จาริกสู่ประเทศอังกฤษ (PDF) (21.06 MB) คลิ๊ก Download หนังสือธรรมะหลวงปู่หล้า เขมปัตโต (PDF) (8.5MB) คลิ๊ก Download หนังสือสันติธมฺโมบูชา โดยหลวงปู่ฟัก สันติธมฺโม (PDF) (37.97 MB) คลิ๊ก Download หนังสือหนีนรก โดยหลวงพ่อฤๅษีลิงดำ (PDF) คลิ๊ก
Download หนังสือสังโยชน์ 10 โดยหลวงพ่อฤๅษีลิงดำ (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือวัดป่าบ้านตาด (PDF) (10.72 MB) ( คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือเศรษฐีธรรม (หลวงปู่ลี กุสลธโร) (PDF) (6.83 MB) ( คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือชีวิตนี้น้อยนัก โดยสมเด็จพระญาณสังวร (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือทำอย่างไรจะหายโกรธ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือภูมิธรรมชาวพุทธ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) (PDF) คลิ๊ก  ดาวน์โหลด (Download): หนังสือพระหลวงตา (หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน) (PDF) (7.98 MB)  คลิ๊ก  ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือจิตตวิชา หลักความรู้แจ้งทางจิตต์ (พระอาจารย์ลี ธมฺมธโร) (PDF) (3.97 MB) คลิ๊ก Download หนังสือเปิดใจรับความสุข โดยพระไพศาล  วิสาโล (PDF) คลิ๊ก Download E-Book ว.วชิรเมธี คลิ๊ก




ดาวน์โหลดหนังสือธรรมะ โครงการบูรพาจารย์ (Download E-Book) :

ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ประวัติ ข้อวัตร และปฏิปทา (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 1) (PDF) (12.5 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):   หนังสือหลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม พระอรหันต์ผู้มีฤทธิ์ในยุคปัจจุบัน (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 2)  (PDF) (15.77 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือหลวงปู่แหวน สุจิณโณ (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 3) (PDF) (19.12 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือหลวงปู่ขาว อนาลโย (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 4) (PDF) (12.53 MB) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): หนังสือพระครูวิเวกพุทธกิจ หลวงปู่ใหญ่เสาร์ กนฺตสีโล พระปรมาจารย์ใหญ่ฝ่ายพระกรรมฐาน (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 5) (PDF) (12.13 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือพระกรรมฐานสู่ล้านนา (ตอน 1) (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 6) (PDF) (24.41 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือพระกรรมฐานสู่ล้านนา (ตอน 2) (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 7) (PDF) (43.49 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือหลวงปู่หลุย จนฺทสาโร (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 8) (PDF) (70.26 MB) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): หนังสือหลวงปู่ชอบ ฐานสโม (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 9) (PDF) (10.17 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 10) (PDF) (10.17 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือหลวงปู่ฝั้น อาจาโร (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 11).pdf (PDF) (14.3 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หลวงปู่สิม พุทฺธาจาโร (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 12).pdf (PDF) (13.41 MB) คลิ๊ก




ดาวน์โหลดหนังสือวิธีปฏิบัติสมาธิ วิปัสสนากัมมัฏฐาน (Download E-Book) :

ดาวน์โหลด (Download): หนังสือวิธีทำสมาธิแบบหลวงปู่มั่น โดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน (PDF) (1.05 MB)คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): แนวทางปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน 2 (พระอาจารย์ลี ธมฺมธโร)  (PDF) (5.75 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): เรื่องของลม (ท่านพ่อลี ธมฺมธโร) (PDF) (271.99 KB) คลิ๊ก  ดาวน์โหลด (Download): หนังสือวิธีเดินจงกรมภาวนา-นั่งสมาธิภาวนา โดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน (PDF) (9.18 MB) คลิ๊ก




ดาวน์โหลดหนังสือธรรมะ สำหรับผู้ป่วย, ญาติ และผู้รักษา (Download E-Book) :

ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือธรรมะสำหรับผู้ป่วย โดยพระไพศาล  วิสาโล (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือกายหายไข้ ใจหายทุกข์ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) (PDF) คลิ๊ก
Download หนังสือรักษาใจยามป่วยไข้ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) (PDF) คลิ๊ก Download หนังสือโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) (PDF) คลิ๊ก Download หนังสือนึกถึงความตายสบายนัก โดยพระไพศาล  วิสาโล (PDF) คลิ๊ก




ดาวน์โหลดหนังสือพระไตรปิฎก :

Download หนังสืออริยวินัย (PDF) (9.27 MB) คลิ๊ก




ดาวน์โหลดหนังสือธรรมะทั่วไป (Download E-Book) :

Download หนังสืออริยวินัย (PDF) (9.27 MB) คลิ๊ก








Google

 ศีลและกรรมบถ คลิ๊ก
 พระธรรมเทศนาของหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน วัดป่าบ้านตาด จังหวัดอุดรธานี คลิ๊ก  ธรรมบรรยาย และธรรมนิพนธ์ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) วัดญาณเวศกวัน คลิ๊ก
 รวบรวมงานเขียนและบทความของพระไพศาล วิสาโล คลิ๊ก  วัดสังฆทาน จ.นนทบุรี (หลวงพ่อสนอง กตปุญโญ) : วัดที่รักษาโรคมะเร็ง คลิ๊ก



 กำลังใจสู้มะเร็ง คลิ๊ก  การดูแลสภาพจิตใจผู้ป่วยมะเร็ง คลิ๊ก





ดาวน์โหลด (Download): วารสาร นิตยสาร และสถิติ ที่เกี่ยวข้องกับมะเร็ง:

ดาวน์โหลด (Download) : วารสารมะเร็งวิวัฒน์ ปีที่ 18, ฉบับที่ 1 ปี 2555 (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download) : วารสารมะเร็งวิวัฒน์ ปีที่ 17, ฉบับที่ 1 ปี 2554 (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download) : หนังสือ Cancer in Thailand Volume.5, 2001-2003 (PDF) คลิ๊ก





ดาวน์โหลด (Download): เอกสาร, คู่มือมะเร็ง และที่เกี่ยวข้อง:

ดาวน์โหลด (Download) :  หนังสือ, เอกสาร และคู่มือ เกี่ยวกับมะเร็ง ที่น่าสนใจ (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download) : เอกสาร และคู่มือเกี่ยวกับเคมีบำบัด (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : เอกสาร และคู่มือเกี่ยวกับรังสีรักษา, การดูแลตนเองของผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา และอื่น ๆ (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : เอกสาร และคู่มือควบคุมอาการปวดสำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็งและครอบครัว, อาการปวดจากโรคมะเร็ง (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) :  เอกสาร และคู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง, การดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งระยะสุดท้ายที่บ้าน (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download) : หนังสือ, เอกสาร และคู่มือมะเร็งปอด (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : หนังสือ, เอกสาร และคู่มือมะเร็งเต้านม (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : หนังสือ, เอกสาร และคู่มือมะเร็งเต้าตับ (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download) :  แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (โรงพยาบาลสงฆ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) :  สมาธิบำบัดกับการรักษาโรคมะเร็ง (วัดคำประมง  จังหวัดสกลนคร) (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download):  แนวทางการปฏิบัติการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉินด้วยอากาศยาน (PDF) คลิ๊ก




ดาวน์โหลด (Download) :  เอกสารแนวทางเวชปฏิบัติ การวินิจฉัยโรคมะเร็งปอด (2547) (กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) :  เอกสารแนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งปอด (2549) (ศ.พญ.สุมิตรา  ทองประเสริฐ และคณะ) (PDF) คลิ๊ก





ลิงค์ (Link): เรื่องที่น่าสนใจเกี่ยวกับมะเร็ง

ลิงค์ (Link): การตรวจวินิจฉัยวิธีใหม่ด้วย PET-CT สแกน โดย รศ.นพ.สุภัทรพร เทพมงคล คลิ๊ก ลิงค์ (Link): Bone Scan: การตรวจสแกนกระดูก (พญ.ศิริอนงค์ นามวงศ์พรหม; คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) (PDF)  คลิ๊ก ลิงค์ (Link) : การผ่าตัดมะเร็งทำให้โรคแพร่กระจายจริงหรือ (รศ.นพ.อดุลย์ รัตนวิจิตราศิลป์ : ภาควิชาศัลยศาสตร์  สาขาวิชาศัลยศาสตร์ศีรษะ คอ และเต้านม คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล) คลิ๊ก
ลิงค์ (Link): ผลข้างเคียงจากยาเคมีบำบัด (สาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา ภาควิชารังสีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) คลิ๊ก ลิงค์ (Link): ความรู้เกี่ยวกับรังสีรักษา การฉายรังสีและเครื่องมือทางรังสีรักษา (สาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา ภาควิชารังสีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) คลิ๊ก
ลิงค์ (Link): สูตรอาหารต้านมะเร็ง (เอื้อเฟื้อโดย น.พ.สำราญ อาบสุวรรณ; ผู้หายจากมะเร็งปอดระยะสุดท้าย) : ข้อมูลจาก วัดคำประมง จังหวัดสกลนคร  คลิ๊ก


 ลิงค์ (Link): การตรวจ MRI คลิ๊ก





ลิงค์ (Link): การแพทย์ทางเลือก, การแพทย์แผนไทย และธรรมชาติบำบัด

ลิงค์ (Link): วัดคำประมง จังหวัดสกลนคร (หลวงตาปพนพัชร์  จิรธัมโม) : วัดที่รักษาโรคมะเร็ง คลิ๊ก  ลิงค์ (Link): การแพทย์ทางเลือก บีเมสส คลินิก จังหวัดนครราชสีมา (นพ.สำราญ  อาบสุวรรณ : ผู้หายจากมะเร็งปอดระยะสุดท้าย) คลิ๊ก  ลิงค์ (Link): วิถีไทยคลินิกการแพทย์แผนไทย กรุงเทพมหานคร (อาจารย์เภสัชกร มงคลศิลป์  บุญเย็น) คลิ๊ก
ลิงค์ (Link): Gerson Institute
 (รักษาตามแนวธรรมชาติบำบัด) คลิ๊ก





Link: ลิงค์ หน่วยงาน, สถาบัน, องค์กร และที่เกี่ยวข้องกับมะเร็ง

ลิงค์ (Link) :  สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข คลิ๊ก ลิงค์ (Link) :  สาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา ภาควิชารังสีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คลิ๊ก
ลิงค์ (Link) : สถานวิทยามะเร็งศิริราช คลิ๊ก ลิงค์ (Link) : โครงการโรคมะเร็ง คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี คลิ๊ก
ลิงค์ (Link) :  วัดคำประมง จ.สกลนคร (หลวงตาปพนพัชร์  จิรธัมโม) : วัดที่รักษาโรคมะเร็ง คลิ๊ก



 http://www.cancer.gov: National Cancer Institute คลิ๊ก  http://www.eortc.be: European Organisation for Research and Treatment of Cancer คลิ๊ก  http://www.oncolink.org: OncoLink (University of Pennsylvania) มีข้อมูลข่าวสารมากมาย และได้ผ่านการคัดเลือกและตรวจสอบโดย editorial board ของ OncoLink แล้ว, มีข่าวใหม่ประจำสัปดาห์เกี่ยวกับโรคมะเร็ง, บทคัดย่อใหม่ของการวิจัยโรคมะเร็งที่ตีพิมพ์, การประชุมทางวิชาการต่าง ๆ ฯลฯ  คลิ๊ก
 http://www.iarc.fr/: The International Agency for Research on Cancer (IARC) คลิ๊ก  http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed: Pubmed เป็นเครื่องมือค้นหาฐานข้อมูล เรียกใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูล MEDLINE ซึ่งประกอบด้วยแหล่งอ้างอิง, บทคัดย่อ และบทความตัวเต็มทางวิทยาศาสตร์และชีวเวชศาสตร์ คลิ๊ก






Link: ลิงค์ หน่วยงาน, สถาบัน, องค์กรด้านการสาธารณสุข และที่เกี่ยวข้อง

 กระทรวงสาธารณสุข คลิ๊ก





 องค์การเภสัชกรรม คลิ๊ก
 กรมสุขภาพจิต คลิ๊ก

 สภากาชาดไทย คลิ๊ก



แพทยสภา คลิ๊ก ทันตแพทยสภา คลิ๊ก  สภาเทคนิคการแพทย์ คลิ๊ก  สภากายภาพบำบัด คลิ๊ก  สภาเภสัชกรรม คลิ๊ก  สภาการพยาบาล คลิ๊ก



 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) คลิ๊ก  สำนักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาพ (สสส.) คลิ๊ก



 สำนักงานประกันสังคม คลิ๊ก






ดาวน์โหลด (Download): กฎหมาย, ประกาศ, ระเบียบ, ข้อบังคับ, คำสั่ง

ดาวน์โหลด (Download) :  พระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525 คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) :  พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2550 คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download) :  พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2553 คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) :  พระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ.2551 คลิ๊ก

ดาวน์โหลด (Download) : ข้อบังคับแพทยสภา คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : ข้อบังคับ, ประกาศ และระเบียบ ทันตแพทยสภา คลิ๊ก



ลิงค์ (Link) : ค้นหาราชกิจจานุเบกษา : ค้นหาพระบรมราชโองการ, พระราชบัญญัติ, พระราชกำหนด, พระราชกฤษฎีกา, กฎกระทรวง, ประกาศ, ระเบียบ, ข้อบังคับ และคำสั่ง คลิ๊ก





ดาวน์โหลด (Download): เอกสารข้อมูลทางการแพทย์และสาธารณสุขที่สำคัญ

ดาวน์โหลด (Download) : สิทธิผู้ป่วย คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : สิทธิการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : ใบรับรองแพทย์ คลิ๊ก





ลิงค์ (Link): การเดินทาง, แผนที่, ตารางเวลา และการส่งกลับทางอากาศ :

 การบินไทย (Thai Airways) คลิ๊ก นกแอร์ (Nok Air) คลิ๊ก  แอร์เอเชีย (Air Aisa) คลิ๊ก  บางกอกแอร์เวย์ (Bangkok Airways) คลิ๊ก  รถไฟฟ้า BTS คลิ๊ก  รถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) : (รถไฟฟ้าใต้ดิน)
คลิ๊ก การรถไฟแห่งประเทศไทย : จำหน่ายตั๋วล่วงหน้า, ตารางเวลาเดินรถและราคาค่าโดยสาร, ระบบติดตามขบวนรถ  คลิ๊ก  เรียกแท็กซี่ (Taxi) คลิ๊ก


 ตรวจสอบ, คำนวณ ระยะทาง และพิมพ์แผนที่ คลิ๊ก  ตรวจสอบ, หาพิกัดดาวเทียม
 GPS คลิ๊ก  ตรวจสอบสภาพการจราจร   Near Real Time คลิ๊ก
 ตรวจสอบสถานการณ์น้ำกับ กรมทรัพยากรน้ำ กระทรวงทรัพยากรทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คลิ๊ก  ตรวจสอบเส้นทางน้ำท่วมทางหลวง โดยกรมทางหลวง คลิ๊ก  ตรวจสอบเวลาการเดินรถไฟ คลิ๊ก
 ค้นหารถประจำทาง คลิ๊ก  เส้นทางการเดินรถไฟฟ้าใต้ดิน MRT คลิ๊ก  เส้นทางการเดินรถไฟฟ้า BTS คลิ๊ก
 ท่าขึ้นรถตู้ กรุงเทพ ฯ (และที่ใกล้เคียง) – ต่างจังหวัด คลิ๊ก  ค้นหาสายรถตู้ คลิ๊ก  เรือด่วนเจ้าพระยา คลิ๊ก






ลิงค์ (Link): หมายเลขโทรศัพท์, การติดต่อสื่อสาร และการขนส่ง

 YellowPages (เยลโล่เพจเจส) : ค้นหาหมายเลขโทรศัพท์ และอื่น ๆ คลิ๊ก

 หอพัก สกสค. (หอพักคุรุสภา) คลิ๊ก



 บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน)
 คลิ๊ก  บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) คลิ๊ก  AIS คลิ๊ก  DTAC คลิ๊ก  Truemove คลิ๊ก  ไปรษณีย์ไทย : บริการด้วยใจ เชื่อมไทย เชื่อมโลก คลิ๊ก







ลิงค์ (Link): ค้นหาแผนที่


 Google Map: กูเกิ้ล แม็ฟส์ คลิ๊ก  Maps.com: แม็ฟส์ ดอท คอม คลิ๊ก



 ค้นหาค้นหาแผนที่โรงพยาบาล คลิ๊ก  ค้นหาค้นหาแผนที่โรงพยาบาล คลิ๊ก
 ค้นหาสถานีบริการ LPG คลิ๊ก  ค้นหาสถานีบริการ NGV คลิ๊ก







Facebook: เฟสบุ๊ค – เข้าระบบ, ลงทะเบียน หรือเรียนรู้เพิ่มเติม คลิ๊ก Twitter: ทวิตเตอร์ – ลงชื่อเข้าใช้งาน คลิ๊ก YouTube: ยูทูป  – เข้าใช้งาน คลิ๊ก Wikipedia: วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี คลิ๊ก ดาว์นโหลด (Download) :  Adobe Reader คลิ๊ก  Google Map: กูเกิ้ล แม็ฟส์ คลิ๊ก ดาว์นโหลด (Download) Adobe Flash Player คลิ๊ก





สมาทานศีล 5



หลวงพ่อชา สมาทานศีล 5



พุทธมนต์, พุทธคุณ ๑๐๘ นำสวดโดย หลวงพ่อจรัญ ธิตธมฺโม



ทำวัตรเช้า นำสวดโดย หลวงพ่อจรัญ ธิตธมฺโม



ทำวัตรเย็น นำสวดโดย หลวงพ่อจรัญ ธิตธมฺโม



ทำวัตรเย็น นำสวดโดย หลวงพ่ออุทัย สิริธโร



พาหุงมหากา นำสวดโดย หลวงพ่อจรัญ ธิตธมฺโม



บทสวดพระคาถาชินบัญชร



บทสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก



บทสวดโพชฌังคปริตร



พระคาถาสักกัตวา



หลวงพ่อชา สอนการทำสมาธิ



หลวงพ่อจรัญสอนกรรมฐาน ตอนที่ 3/9



หลวงพ่อจรัญสอนกรรมฐาน ตอนที่ 4/9



หลวงพ่อฤๅษี ลิงดำ สอนกรรมฐาน 40 ตอนที่ 1



หลวงพ่อฤๅษี ลิงดำ สอนกรรมฐาน 40 ตอนที่ 2



หลวงพ่อฤๅษี ลิงดำ สอนกรรมฐาน 40 ตอนที่ 3



หลวงพ่อฤๅษี ลิงดำ สอนกรรมฐาน 40 ตอนที่ 4



หลวงพ่อพุธ ฐานิโย สอนกรรมฐาน









ลิงค์ (Link): ข่าวสาร, ข้อมูล, บทความเกี่ยวกับน้ำท่วม



 แจ้งขอความช่วยเหลือ (Thaiflood.com) คลิ๊ก




Thaiflood

 18 วิธีรับมือน้ำท่วม คลิ๊ก  การเตรียมการก่อนน้ำท่วม คลิ๊ก  การรับมือระหว่างน้ำท่วม คลิ๊ก
 การเตรียมการอพยพ คลิ๊ก  ข้อมูลดาวเทียมแสดงอุทกภัยประเทศไทย (ข้อมูลจาก GISTDA) คลิ๊ก  ภาพแสดงระดับความสูงต่ำของพื้นที่กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เพื่อการวิเคราะห์การเคลื่อนตัวของมวลน้ำ คลิ๊ก
 วิกฤตการณ์น้ำท่วมประเทศไทย 2554 (Crisis Map) คลิ๊ก  ตรวจสอบแผนที่น้ำท่วมกับ esri Thailand คลิ๊ก  สถานการณ์น้ำในเขื่อน คลิ๊ก
 ตรวจสอบเส้นทางน้ำท่วมทางหลวง โดยกรมทางหลวง คลิ๊ก  แผนที่เส้นทางหนีน้ำท่วมจาก กทม.ไป ภาคเหนือ, อีสาน คลิ๊ก  รวมข้อมูล ที่จอดรถหนีน้ำท่วม สำหรับผู้ประสบอุทกภัย คลิ๊ก
 เทคนิควาง “กระสอบทราย” สู้น้ำท่วม คลิ๊ก
 การป้องกันน้ำเข้าบ้าน และวิธีอุดปิดช่องทางน้ำเข้าบ้าน คลิ๊ก  เมื่อต้องขับรถลุยน้ำ น้ำท่วม!!! และเมื่อรถตกน้ำควรปฏิบัติอย่างไร คลิ๊ก  การทำเรืออย่างง่าย ๆ คลิ๊ก
 “ตะคริว” กับการเรียนรู้สู้ภัยน้ำท่วม คลิ๊ก  การปฏิบัติการช่วยฟื้นชีวิตขั้นพื้นฐาน (Basic Cardio Life Support : BCLS) (กรมแพทย์ทหารเรือ) คลิ๊ก  จะช่วยคนจมน้ำได้อย่างไร (ศ.พญ.วันดี วราวิทย์) คลิ๊ก


ดาวน์โหลด (Download): เอกสาร คู่มือเกี่ยวกับน้ำท่วม

ดาวน์โหลด (Download): Flood Fighting Methods (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): British Columbia Flood Plan (BC Flood Plan) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): Fact Sheet Floods (FEMA) (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วม (จัดทำโดย : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): คู่มือรับมือน้ำท่วมไม่ยาก (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): โรคที่มากับน้ำท่วม (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): อีกทางเลือกหนึ่งของชูชีพอย่างง่าย (สามารถทำเองได้) (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): การใช้ถุงทรายเพื่อป้องกันน้ำท่วม (รศ.ดร.อมร  พิมานมาศ) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): 6 แนวทางกันนํ้าท่วมเข้าบ้าน (รศ.ดร.อมร  พิมานมาศ) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): รวมวิธีป้องกันรถจากภัยน้ำท่วม (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): “ผนึกกำลัง ร่วมใจ สู้ภัยน้ำท่วม” การเตรียมตัวเตรียมใจก่อนภัยน้ำท่วม ฉบับประชาชน (กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข) (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (PDF) คลิ๊ก




หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ :




 หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ คลิ๊ก  หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ คลิ๊ก  หนังสือพิมพ์คมชัดลึก คลิ๊ก  หนังสือพิมพ์ข่าวสด คลิ๊ก  หนังสือพิมพ์บ้านเมือง คลิ๊ก

 TV 3 คลิ๊ก  TV 5 คลิ๊ก  TV 7 คลิ๊ก  ModerNine TV คลิ๊ก  Thai PBS คลิ๊ก



Ayutthaya Thai Flood 2011



น้ำท่วมกรุงเทพ ปี 2485 (Bangkok floods in 1942)



Nuidears Flood Control



mobile flood barrier



ถุงคลุมรถ



ข้อควรปฏิบัติขับรถช่วงน้ำท่วม



Thai PBS ฝ่าวิกฤตน้ำท่วม – พบหมอรถ 1/5 (23 ต.ค.54



Thai PBS ฝ่าวิกฤตน้ำท่วม – พบหมอรถ 2/5 (23 ต.ค.54



Thai PBS ฝ่าวิกฤตน้ำท่วม – พบหมอรถ 3/5 (23 ต.ค.54)



Thai PBS ฝ่าวิกฤตน้ำท่วม – พบหมอรถ 4/5 (23 ต.ค.54)



Thai PBS ฝ่าวิกฤตน้ำท่วม – พบหมอรถ 5/5 (23 ต.ค.54)



Thai PBS ฝ่าวิกฤตน้ำท่วม - พบหมอบ้าน 1/6 (22 ต.ค.54)



เพลง ประสบทุกข์ ประสบภัย ฝ่าไปด้วยกัน (ขับร้องโดย พนักงานไทยพีบีเอส



เพลงน้ำใจไทย (ขับร้องโดย แอ๊ด คาราบาว)



Friends' blogs
[Add muansuk's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.