ขอเป็นกำลังใจให้กับทุก ๆ คน ทุกสิ่งเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และก็ดับไป ขอมีกำลังใจที่เต็มเปี่ยมและเข้มแข็ง มีสติที่ตั้งมั่น ธรรมย่อมรักษาผู้ปฏิบัติธรรม, ทุกสิ่งเป็น อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา, การนำข้อมูลไปใช้ต้องใช้หลักกาลามสูตร. Group Blog จำนวน 215 Group Blog : รวมข้อมูลทั้งหมด 525 เรื่อง (Click (คลิ๊ก) ตรงกล่องสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีฟ้า หรือเครื่องหมายสามเหลี่ยมของกล่องสี่เหลี่ยม (ทางด้านขวามือ) (มีข้อมูลอยู่ในนั้นครับ) "ขอขอบคุณเจ้าของผลงานต่างๆ และข้อมูลเหล่านี้ใช้เพื่อการศึกษา เรียนรู้ และการวิจัยเท่านั้น"
Group Blog
 
All Blogs
 

ผ่าตัด"แช่แข็ง"เซลล์มะเร็ง ทางเลือกใหม่รักษาโรคมะเร็งปอด

ที่มา : //www.socialwarning.m-society.go.th/socwarn/data/views.php?recordID=603

ผู้ป่วยโรคมะเร็งปอดมีทางเลือกใหม่ในการรักษานอกเหนือจากการผ่าตัด

คณะแพทย์มหาวิทยาลัยแฮร์ฟิลด์ในมิดเดิลเซ็กซ์แถลงว่า ผลการรักษาปอดด้วยการ "แช่แข็งเซลล์มะเร็ง" ประสบความสำเร็จดี โดยคนไข้ที่เข้ารับการรักษาด้วยวิธีนี้ในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา ไม่มีอาการแทรกซ้อนหรือผิดปกติแต่อย่างใด

ดร.โอมาร์ ไมวานด์ แพทย์ โรงพยาบาลแฮร์ฟิลด์ ผู้ทำการผ่าตัดรักษาเซลล์มะเร็งด้วยการแช่แข็ง หรือใช้สารทำความเย็นจี้ใส่เซลล์มะเร็งในปอด (ไครโอเซอเจอรี่) กล่าวว่า การรักษามะเร็งปอดด้วยวิธีนี้จะใช้กับผู้ป่วยที่พิจารณาแล้วว่ามีร่างกายอ่อนแอเกินไปเกินกว่าจะใช้วิธีผ่าตัดปอดทิ้งไป ซึ่งอาจทำให้ระบบทางเดินหายใจของคนไข้มีปัญหาอย่างรุนแรงในภายหลัง

ดร.ไมวานด์ระบุว่า การผ่าตัดแช่แข็งดังกล่าวทำโดยการผ่าเปิดช่องอกของคนไข้กว้างประมาณ 12 เซนติเมตร จากนั้นสอดอุปกรณ์เข้าไปยังจุดที่เกิดเซลล์มะเร็งในปอดเพื่อฉีดสารทำความเย็นประเภท "ไนโตรเจนเหลว" เข้าไปจับตัวกับเซลล์มะเร็ง ส่งผลให้เซลล์ไม่แบ่งตัวเนื่องจากถูกแช่แข็งอยู่ในสภาพอุณหภูมิลดต่ำ -190 องศาเซลเซียส การผ่าตัดด้วยวิธีนี้ใช้เวลาพักฟื้น 4 วันคนไข้ก็กลับบ้านได้

คณะแพทย์แฮร์ฟิลด์เชื่อว่า ถึงแม้วิธีการผ่าตัดแบบไครโอเซอเจอรี่ถูกใช้ในการรักษาโรคอื่นๆ มาแล้ว แต่ครั้งนี้เป็นครั้งแรกที่มีการนำมาประยุกต์ใช้รักษามะเร็งปอด และผู้ป่วย 16 คนที่เข้ารับการรักษายังมีสุขภาพสมบูรณ์ดี ด้านแพทย์จากศูนย์วิจัยมะเร็งอังกฤษชี้ว่า วิธีการของ โรงพยาบาลแฮร์ฟิลด์เป็นทางเลือกที่ดี แต่ต้องรอการพิสูจน์ให้มากกว่านี้ว่าดีกว่าวิธีรักษาตามปกติ เช่น การทำเคมีบำบัด

แหล่งข้อมูล : ผู้จัดการ 27 ตค.48




 

Create Date : 16 พฤศจิกายน 2550    
Last Update : 24 สิงหาคม 2552 12:54:57 น.
Counter : 2592 Pageviews.  

การผ่าตัดปอดโดยใช้กล้องส่อง

ที่มา : โรงพยาบาลกรุงเทพ (//www.bangkokhospital.com/tha/LungMicroscope.aspx)

โรคปอด เป็นโรคที่พบบ่อย ในการวินิจฉัยโรค ส่วนใหญ่เราวินิจฉัยได้จากอาการ อาการแสดง การตรวจเลือด การตรวจเสมหะ และการตรวจทางรังสีทรวงอก ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นเอกซเรย์ธรรมดา เพียงแค่นี้ ส่วนใหญ่ ก็พอบอกสาเหตุของโรค และให้การรักษาได้แล้ว แต่บางคราว แพทย์ต้องการรายละเอียดเพิ่มเติม ก็อาจขอตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (Computer Scan หรือ CT Scan) หรือตรวจสมรรถภาพปอดด้วยก็ได้ แต่ก็มีผู้ป่วยบางราย ที่ต้องการชิ้นเนื้อมาตรวจ เพื่อการวินิจฉัยโรคที่แน่นอน ชิ้นเนื้อซึ่งมองเห็นในหลอดลม อาจตัดออกมาได้โดยใช้ การส่องกล้อง ที่เรียกว่า Bronchoscopy ส่วนกรณี ที่โรคอยู่ในเนื้อปอด ในสมัยก่อนต้องผ่าตัดเปิดทรวงอก ที่เรียกว่า Thoracotomy ลงไป เพื่อเข้าไปเอาชิ้นเนื้อออกมา

ในระยะหลัง ที่การแพทย์ก้าวหน้ามากขึ้น การใช้เข็มเจาะ เอาเอาชิ้นเนื้อมาตรวจ (Needle Aspiration หรือ Biopsy) ทำกันมากขึ้น มักทำในรายที่เป็นก้อนเนื้อ ถ้าก้อนมีขนาดเล็ก ก็ใช้อัลตร้าซาวด์หรือ CT-Scan ช่วยดูแนวทางของเข็ม ทำให้เจาะตรงก้อนเนื้อ และได้ผลมากขึ้น ถ้าทำไม่ได้ก็ใช้ตัดชิ้นเนื้อมาตรวจ โดยเจาะรูที่ผนังทรวงอก และส่องกล้องเข้าไปตัดชิ้นเนื้อออกมาที่เรียกว่า Thoracoscopy เช่นเดียวกับการรักษาโรคปอด ส่วนใหญ่ก็เป็นการรักษาทางยา มีส่วนน้อยที่ต้องใช้การผ่าตัด ส่วนใหญ่มักเป็นก้อนเนื้อโดยเฉพาะมะเร็งปอด ซึ่งสมัยก่อน ต้องเปิดทรวงอก เพื่อตัดก้อนเนื้อออกมา นอกนั้นมีการผ่าตัดเอาถุงลมที่ โ ป่งออก (Bleb หรือ Bullous) หรือเย็บถุงลมที่แตก ลมรั่วเข้าไปในช่องบุเยื่อหุ้มปอด (Pneumothorax)




รูปที่ 1 เป็นรูปวาดรูปทรวงอกของมนุษย์ ภาพซ้ายมือเป็นรูปปอดข้างขวาและซ้าย ข้างขวามี 3 กลีบ ข้างซ้ายมี 2 กลีบ ภาพขวาเป็นรูปทางเดินหายใจ จากหลอดลมใหญ่ (Trachea) ซึ่งต่อมาจากลำคอ แล้วแบ่งเป็นหลอดลมแยกเข้าปอดขวาและซ้าย (Right และ Left Main Bronchus) จากนั้นแบ่งไปเป็นหลอดลมขนาดเล็กลงไป จนเป็นหลอดลมขนาดเล็กมาก (Bronchiole)



รูปที่ 2 เป็นรูปวาดแสดงปอดทั้ง 2 ข้าง ข้างขวามี 3 กลีบ คือ กลีบบน (Superior หรือ Upper Lobe) สีแดง กลีบกลาง (Middle Lobe) สีเหลือง และกลีบล่าง (Inferior หรือ Lower Lobe) สีม่วง ส่วนปอดซ้ายมี 2กลีบ คือ กลีบบนสีเขียวและกลีบล่างสีฟ้า บริเวณที่หลอดลมแยกเป็นขวาซ้ายแล้วและเข้าสู่เนื้อปอดเรียกว่าขั้วปอด หรือ Hilum



รูปที่ 3 เป็นรูปวาดแสดงก้อนมะเร็งในปอด (Cancerous Mass) ซึ่งเกือบทั้งหมดเริ่มต้นจากหลอดลมจึงเห็นก้อนในรูของหลอดลม มะเร็งมักแพร่ไปตามกระแสน้ำเหลือง (Lymphatic Spread) ไปสู่ต่อมน้ำเหลืองที่ขั้วปอด และในทรวงอก ช่องในทรวงอกระหว่างปอดทั้งสองข้างเป็นส่วนที่เรียกว่า Mediastinum ซึ่งมีอวัยวะอยู่หลายอย่างรวมทั้งหัวใจด้วย




รูปที่ 4 เป็นรูปวาดแสดงกล้อง Fiber Optic Bronchoscope ที่ใช้ส่องและการส่องตรวจ การส่องกล้องนี้อาจทำได้โดยไม่ต้องดมยาสลบและทำแบบเป็นผู้ป่วยนอกได้




รูปที่ 5 เป็นรูป CT Scan ของปอดแสดงมีก้อนมะเร็งที่ปอดซ้ายล่าง (ปลายลูกศรสีเหลือง)




รูปที่ 6 เป็นรูป CT Scan ของปอดแสดงมีก้อนมะเร็งที่ปอดซ้ายล่าง ได้ทำการใช้เข็มเจาะเพื่อเอาชิ้นเนื้อไปตรวจโดยใช้ CT Scan ช่วยดูตำแหน่งเข็ม เข็มเห็นเป็นแท่งสีขาวที่ปลายลูกศรสีส้มชี้




รูปที่ 7 เป็นชิ้นเนื้อที่ตัดมาได้ จะเห็นมีเซลล์ของมะเร็งอยู่เต็ม
Thoracotomy คือ อะไร
Thoracotomy คือ การผ่าตัดเปิดลงไปในช่องทรวงอก ซึ่งอวัยวะมีทั้งปอด หัวใจและอวัยวะอื่นๆ อีก การเปิดทรวงอกในการผ่าตัด Thoracotomy นั้นมักทำ 2 วิธี คือ เข้าบริเวณแนวกลาง (Median Sternotomy) และเข้าทางด้านข้าง (Lateral Approach)



รูปที่ 8 เป็นภาพ คือ เข้าบริเวณแนวกลาง (Median Sternotomy) คือ แนวผ่าตัดจากต้นคอลงมาที่หน้าท้องตามแนวของกระ ดู กทรวงอก (Sternum) ในรูปคือ ตามแนวเส้นขาดที่ปลายลูกศรสีแดง เราต้องตัดกระดูกทรวงอกตามยาว ซึ่งจะแยกทรวงอกออกเป็น 2 ข้างใช้ในการผ่าตัดหัวใจหรืออวัยวะใน Mediastinum สำหรับผ่าตัดปอดมักใช้ในกรณีที่ต้องทำทั้งสองข้าง เช่น ผ่าตัดลดปริมาตรปอด (Lung Volume Reduction Surgery หรือ LVRS)




รูปที่ 9 เป็นภาพถ่ายแสดงเริ่มการผ่าตัดโดยกรีดผิวหนังเป็นรอยยาวตามแนว



รูปที่ 10 แสดงภาพเมื่อผ่าถึงในทรวงอก เห็นหัวใจอยู่ด้านล่างของช่องทรวงอก




รูปที่ 11 แสดงแผลเป็นจากการผ่าตัด Thoracotomy และเข้าทางด้านข้าง (Lateral Approach)



รูปที่ 12 แสดงภาพการผ่าตัดเปิดเข้าไปในทรวงอกโดยเข้าทางด้านข้าง
การตัดปอด (Lung Resection) ก่อนอื่นเราควรทราบเรื่องกายวิภาคศาสตร์ของปอด เมื่อหลอดลมใหญ่แยกเข้าไปในปอดซ้ายและขวา ก็จะแบ่งตัวไปเลี้ยงปอดกลีบต่าง (Lobar Bronchus) โดยที่ปอดนอกจากแบ่งเป็น ข้างขวาและข้างซ้ายแล้ว ปอดข้างขวายังแบ่งออกเป็น 3 กลีบ ข้างซ้ายมี 2 กลีบ จากนั้นหลอดลมที่เลี้ยงปอดแต่ละกลีบ ก็จะแบ่งตัวออกไปเลี้ยงปอดกลีบย่อยที่ทางการแพทย์เรียกว่า Segment ซึ่งมีข้างละ 10 Segment ปอดซ้ายทั้งกลีบบนและล่างมีกลีบละ 5 Segment ส่วนกลีบขวาโดยที่แบ่งเป็นสามกลีบ กลีบบนจึงมี 3 Segment กลีบกลางมี 2 Segment และกลีบล่างมี 5 Segment



รูปที่ 13 แสดงตัวอย่างของ Segmental Bronchus ในรูปเราเอาเนื้อปอดออกหมดที่เหลือ คือ หลอดลม เมื่อเข้ามาใน Segment แล้วหลอดลมก็จะแยกออกเป็นหลอดลมขนาดเล็กลง จนในที่สุดถึงถุงลม




รูปที่ 14 เป็นรูปหลอดลมในปอดทั้งสองข้าง สีที่ระบายแสดงขอบเขตของ Segment แต่ละอัน




การตัดปอดนั้นจะตัดออกมากน้อยแค่ไหนแล้วแต่แพทย์จะพิจารณา รูปที่ 15 แสดงถึงปริมาณปอดที่ตัดออก ถ้าตัดออกเป็นแฉกเป็นชิ้นเล็กๆ รูปสามเหลี่ยม โดยทั่วไปมักเล็กว่ากลีบย่อย เราเรียกว่าทำ Wedge Resection (สีเขียวในรูป) ถ้าตัดออกแค่กลีบย่อยเรียก Segmental Resection (สีน้ำเงินในรูป) ถ้าตัดออกทั้งกลีบ เช่น ปอดขวากลีบบนเราเรียกว่า Lobectomy (สีแดงในรูป)



ถ้าตัดปอด ออกทั้งข้าง เช่น ข้างขวาหรือข้างซ้ายก็ตาม เรียก Pneumonectomy ซึ่งไม่ได้แสดงในรูป ตัวที่บ่งว่าจะตัดปอดออกแค่ไหนนั้นนอกจากขนาดของก้อนที่ต้องเอาออก และลักษณะของเซลล์ว่าร้ายแค่ไหน ไปที่ไหนในปอดแล้วยังแล้ว ตัวสำคัญอีกอย่างก็คือ ตำแหน่งก้อนกับหลอดลม รูปที่ 16 ถ้าไม่สัมพันธ์กับหลอดลม ก้อนมีขนาดเล็ก อาจทำ Wedge Resection ตามรูปซ้ายบน หรือตัดเอาชิ้นเนื้อมาตรวจเฉยๆ ถ้าก้อนนั้นอยู่ที่หลอดลมลมของปอดกลีบย่อยก็ต้องทำ Segmental Resection ตามรูปขวาบน ถ้าก้อนอยู่ที่หลอดลมของกลีบปอดก็ต้องทำ Lobectomy ตามรูปล่างซ้าย แต่ถ้ากินถึงหลอดลมใหญ่ซ้ายหรือขวาก็ต้องทำ Pneumonectomy ตามรูปล่างขวา

การผ่าตัดโดยใช้กล้องส่อง
วิธีนี้เรียกว่า Video Assisted Thoracic Surgery (VATS) ซึ่งเริ่มทำกันมากขึ้น ในปัจจุบันการผ่าตัดนี้ใช้แทนการผ่าตัด Thoracotomy ซึ่งใช้กันมาแต่เดิม ถ้าการผ่าตัดไม่ใหญ่เกิน Segmental Resection แต่คนที่ชำนาญอาจทำ Lobectomy ได้ ซึ่งเมื่อเทียบกับ Thoracotomy แล้วนอกจากแผลผ่าตัดเล็กกว่าแล้วและ อันตรายน้อยกว่า เจ็บตัวน้อยกว่า อยู่โรงพยาบาลสั้นกว่า คือ อยู่โรงพยาบาลไม่เกิน 2-3 วันแทนที่จะเป็น 7-12 วัน กลับไปทำงานได้เร็วกว่าคือ 7-10 วันแทนที่จะเป็น 6-8 อาทิตย์ อาการแรกซ้อนใหญ่หลังผ่าตัดน้อยกว่ามาก คือ ไม่เกิน 5% แทนที่จะเป็นถึง 30% ในการทำ Thoracotomy



รูปที่ 17 เป็นภาพวาดแสดงรูปผู้ป่วยในท่านอนและเครื่องมือ พร้อมด้วยจอทีวี การเจาะรูอาจทำ 2 หรือ 3 รู




รูปที่ 18 แสดงแบบเจาะ 3 รู




รูปที่ 19 แสดงผ่าตัดแบบเจาะ 2 รู




รูปที่ 20 แผลเป็นหลังผ่าตัดด้านหน้าของผู้ป่วย




รูปที่ 21 แผลเป็นด้านข้างของผู้ป่วย




รูปที่ 22 CT-Scan แสดงก้อนมะเร็งในปอด ที่ปลายลูกศรชี้



รูปที่ 23 แสดงก้อนมะเร็งที่ตัดออกมาโดยใช้วิธี VATS
ในปัจจุบัน การผ่าตัดวิธีนี้ได้ก้าวไปถึงการผ่าตัดทางเดินอาหาร กระดูกหลัง และหัวใจ และกำลังก้าวต่อไปเรื่อยๆ




 

Create Date : 27 กันยายน 2550    
Last Update : 20 สิงหาคม 2554 15:21:23 น.
Counter : 4446 Pageviews.  


muansuk
Location :


[Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 84 คน [?]




blog counter
blog counterDiseño Web
Share on Facebook



 Follow Me on Twitter
 คลิ๊ก


 ลงนามสมุดเยี่ยม muansuk blog ครับ คลิ๊ก




“ทาน ศีล ภาวนา ธรรมทั้ง 3 นี้
เป็นรากแก้วของความเป็นมนุษย์
และเป็นรากเหง้าของพระศาสนา”

หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต




“ถ้าเรารู้เรื่องธรรมดาของโลก และรู้จักความเป็นจริงของธรรมแล้ว
เราก็จะไม่ต้องมีความยุ่งยากในการเป็นอยู่
เรื่องภายนอกนั้น ถึงเราจะศึกษาให้มีความรู้สักเท่าไรๆ
ก็ไม่ทำให้เราพ้นจากทุกข์ได้
สู้การเรียนรู้จิตใจของตนอยู่ภายในวงแคบๆ นี้ไม่ได้”

ท่านพ่อลี ธมฺมธโร




“… อย่าไปอยากรู้เรื่องของคนอื่นมันเป็นทุกข์
ให้สนใจเรื่องของตัวเอง
คือเรื่องของกายกับใจ
ดูให้มันชัด …”

หลวงปู่เพียร วิริโย




“… สิ่งใดมันล่วงไปแล้ว สิ่งนั้นมันก็ล่วงไปแล้ว หมดไปแล้ว
ไม่ควรเอามาคิด มาติดอยู่ในใจ ละทิ้งให้หมด
ส่วนว่าอารมณ์อันเป็นอนาคตกาล
ดีร้ายประการใด ทั้งทางโลก และทางธรรม
สิ่งนั้นก็ยังอยู่ข้างหน้า คือยังไม่มาถึง
เวลาปัจจุบัน คือ เป็นเวลาเรานั่งภาวนา ฟังธรรม
สงบกาย สงบวาจา สงบจิต สงบใจ อยู่นี้แหละ
เป็นธรรมะปัจจุบัน ให้ระลึกภาวนาทุกลมหายใจเข้าออก...”

หลวงปู่สิม พุทธาจาโร




“... ให้รักษาศีล
ให้รู้จักพิจารณา เกิด แก่ เจ็บ ตาย
รู้จักแก้ไขจิตของตน ... ”

หลวงปู่จาม มหาปุณฺโญ





หลวงพ่อชา สุภทฺโท : ปล่อยวาง 1





พระอาจารย์สิงห์ทอง ธมฺมวโร : ธรรมสู่ใจ





หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ : ไม่ยอมละ





ดาวน์โหลดหนังสือธรรมะ (Download E-Book) :

ดาวน์โหลด (Download): หนังสือมุตโตทัย-อาจาโรวาท โดย หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต และ หลวงปู่ฝั้น อาจาโร (PDF) (9.25 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือหลวงปู่ฝากไว้ บันทึกคติธรรมและธรรมเทศนาของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล (โดย พระโพธินันทมุนี) (PDF) (625 KB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือธรรมธาตุ โดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน (PDF) (13.38) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือชาติสุดท้าย (หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน) (PDF) (6.97) คลิ๊ก  ดาวน์โหลด (Download): หนังสือพ่อแม่ครูอาจารย์ ชีวประวัติ คติธรรม และปฏิปทา พระธรรมวิสุทธิมงคล (หลวงตามหาบัว  ญาณสัมปันโน (PDF) (12.82 MB) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): หนังสือปฏิปทาของพระธุดงคกรรมฐาน สายพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต (ท่านอาจารย์พระมหาบัว ญาณสัมปันโน) (PDF) (14.68 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือไม่มาเกิดมาตายเรียกว่าชาติสุดท้าย (หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน) (PDF) (4.72 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือหลวงตา พระผู้สืบสานอริยวงศ์  รวบรวมโดยคณะศิษยานุศิษย์หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน (PDF) (50.51 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือกายคตาสติ โดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน (PDF) (10.8 MB) คลิ๊ก
 ดาวน์โหลด (Download): หนังสือธรรมปกครองใจ โดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน และหลวงปู่จันทร์ศรี  จันททีโป (PDF) (11.47 MB) คลิ๊ก  ดาวน์โหลด (Download): หนังสือปัญญาอบรมสมาธิ โดยท่านอาจารย์พระมหาบัว  ญาณสัมปันโน (PDF) (1.29 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หลวงตานิพพาน (พิธีพระราชทานเพลิงถวายสรีระสังขารหลวงตามหาบัวญาณสมฺปนฺโน) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือธรรมะทะลุโลก โดยท่านพ่อลี ธมฺมธโร (PDF) (3.18 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือท่านพ่อลี ธมฺมธโร พระอริยเจ้าผู้มีพลังแก่กล้า (PDF) (30.21 MB) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): หลวงปู่เล่าเรื่อง (หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือธรรม...ย้ำเตือน  โดยหลวงปู่เพียร  วิริโย (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือธรรมพระเพียร  วิริโย เป็นเพชรน้ำหนึ่งเพราะความพากเพียร (หลวงตาพระมหาบัว  ญาณสัมปันโน) (PDF) (8.68 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือธรรมพเนจร (หลวงปู่จันทา  ถาวโร) (PDF) (30.39 MB) คลิ๊ก Download หนังสือหลวงปู่เจี๊ยะ  จุนฺโท  พระผู้เป็นดั่งผ้าขี้ริ้วห่อทอง (PDF) (13.58 MB) คลิ๊ก
Download หนังสือพระธรรมเทศนา หลวงพ่อชา สุภัทโท (PDF) คลิ๊ก Download หนังสือสุภัททานุสรณ์ ชุด..จาริกสู่ประเทศอังกฤษ (PDF) (21.06 MB) คลิ๊ก Download หนังสือธรรมะหลวงปู่หล้า เขมปัตโต (PDF) (8.5MB) คลิ๊ก Download หนังสือสันติธมฺโมบูชา โดยหลวงปู่ฟัก สันติธมฺโม (PDF) (37.97 MB) คลิ๊ก Download หนังสือหนีนรก โดยหลวงพ่อฤๅษีลิงดำ (PDF) คลิ๊ก
Download หนังสือสังโยชน์ 10 โดยหลวงพ่อฤๅษีลิงดำ (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือวัดป่าบ้านตาด (PDF) (10.72 MB) ( คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือเศรษฐีธรรม (หลวงปู่ลี กุสลธโร) (PDF) (6.83 MB) ( คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือชีวิตนี้น้อยนัก โดยสมเด็จพระญาณสังวร (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือทำอย่างไรจะหายโกรธ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือภูมิธรรมชาวพุทธ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) (PDF) คลิ๊ก  ดาวน์โหลด (Download): หนังสือพระหลวงตา (หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน) (PDF) (7.98 MB)  คลิ๊ก  ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือจิตตวิชา หลักความรู้แจ้งทางจิตต์ (พระอาจารย์ลี ธมฺมธโร) (PDF) (3.97 MB) คลิ๊ก Download หนังสือเปิดใจรับความสุข โดยพระไพศาล  วิสาโล (PDF) คลิ๊ก Download E-Book ว.วชิรเมธี คลิ๊ก




ดาวน์โหลดหนังสือธรรมะ โครงการบูรพาจารย์ (Download E-Book) :

ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ประวัติ ข้อวัตร และปฏิปทา (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 1) (PDF) (12.5 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):   หนังสือหลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม พระอรหันต์ผู้มีฤทธิ์ในยุคปัจจุบัน (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 2)  (PDF) (15.77 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือหลวงปู่แหวน สุจิณโณ (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 3) (PDF) (19.12 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือหลวงปู่ขาว อนาลโย (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 4) (PDF) (12.53 MB) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): หนังสือพระครูวิเวกพุทธกิจ หลวงปู่ใหญ่เสาร์ กนฺตสีโล พระปรมาจารย์ใหญ่ฝ่ายพระกรรมฐาน (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 5) (PDF) (12.13 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือพระกรรมฐานสู่ล้านนา (ตอน 1) (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 6) (PDF) (24.41 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือพระกรรมฐานสู่ล้านนา (ตอน 2) (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 7) (PDF) (43.49 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือหลวงปู่หลุย จนฺทสาโร (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 8) (PDF) (70.26 MB) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): หนังสือหลวงปู่ชอบ ฐานสโม (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 9) (PDF) (10.17 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 10) (PDF) (10.17 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือหลวงปู่ฝั้น อาจาโร (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 11).pdf (PDF) (14.3 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หลวงปู่สิม พุทฺธาจาโร (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 12).pdf (PDF) (13.41 MB) คลิ๊ก




ดาวน์โหลดหนังสือวิธีปฏิบัติสมาธิ วิปัสสนากัมมัฏฐาน (Download E-Book) :

ดาวน์โหลด (Download): หนังสือวิธีทำสมาธิแบบหลวงปู่มั่น โดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน (PDF) (1.05 MB)คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): แนวทางปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน 2 (พระอาจารย์ลี ธมฺมธโร)  (PDF) (5.75 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): เรื่องของลม (ท่านพ่อลี ธมฺมธโร) (PDF) (271.99 KB) คลิ๊ก  ดาวน์โหลด (Download): หนังสือวิธีเดินจงกรมภาวนา-นั่งสมาธิภาวนา โดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน (PDF) (9.18 MB) คลิ๊ก




ดาวน์โหลดหนังสือธรรมะ สำหรับผู้ป่วย, ญาติ และผู้รักษา (Download E-Book) :

ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือธรรมะสำหรับผู้ป่วย โดยพระไพศาล  วิสาโล (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือกายหายไข้ ใจหายทุกข์ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) (PDF) คลิ๊ก
Download หนังสือรักษาใจยามป่วยไข้ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) (PDF) คลิ๊ก Download หนังสือโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) (PDF) คลิ๊ก Download หนังสือนึกถึงความตายสบายนัก โดยพระไพศาล  วิสาโล (PDF) คลิ๊ก




ดาวน์โหลดหนังสือพระไตรปิฎก :

Download หนังสืออริยวินัย (PDF) (9.27 MB) คลิ๊ก




ดาวน์โหลดหนังสือธรรมะทั่วไป (Download E-Book) :

Download หนังสืออริยวินัย (PDF) (9.27 MB) คลิ๊ก








Google

 ศีลและกรรมบถ คลิ๊ก
 พระธรรมเทศนาของหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน วัดป่าบ้านตาด จังหวัดอุดรธานี คลิ๊ก  ธรรมบรรยาย และธรรมนิพนธ์ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) วัดญาณเวศกวัน คลิ๊ก
 รวบรวมงานเขียนและบทความของพระไพศาล วิสาโล คลิ๊ก  วัดสังฆทาน จ.นนทบุรี (หลวงพ่อสนอง กตปุญโญ) : วัดที่รักษาโรคมะเร็ง คลิ๊ก



 กำลังใจสู้มะเร็ง คลิ๊ก  การดูแลสภาพจิตใจผู้ป่วยมะเร็ง คลิ๊ก





ดาวน์โหลด (Download): วารสาร นิตยสาร และสถิติ ที่เกี่ยวข้องกับมะเร็ง:

ดาวน์โหลด (Download) : วารสารมะเร็งวิวัฒน์ ปีที่ 18, ฉบับที่ 1 ปี 2555 (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download) : วารสารมะเร็งวิวัฒน์ ปีที่ 17, ฉบับที่ 1 ปี 2554 (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download) : หนังสือ Cancer in Thailand Volume.5, 2001-2003 (PDF) คลิ๊ก





ดาวน์โหลด (Download): เอกสาร, คู่มือมะเร็ง และที่เกี่ยวข้อง:

ดาวน์โหลด (Download) :  หนังสือ, เอกสาร และคู่มือ เกี่ยวกับมะเร็ง ที่น่าสนใจ (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download) : เอกสาร และคู่มือเกี่ยวกับเคมีบำบัด (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : เอกสาร และคู่มือเกี่ยวกับรังสีรักษา, การดูแลตนเองของผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา และอื่น ๆ (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : เอกสาร และคู่มือควบคุมอาการปวดสำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็งและครอบครัว, อาการปวดจากโรคมะเร็ง (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) :  เอกสาร และคู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง, การดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งระยะสุดท้ายที่บ้าน (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download) : หนังสือ, เอกสาร และคู่มือมะเร็งปอด (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : หนังสือ, เอกสาร และคู่มือมะเร็งเต้านม (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : หนังสือ, เอกสาร และคู่มือมะเร็งเต้าตับ (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download) :  แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (โรงพยาบาลสงฆ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) :  สมาธิบำบัดกับการรักษาโรคมะเร็ง (วัดคำประมง  จังหวัดสกลนคร) (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download):  แนวทางการปฏิบัติการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉินด้วยอากาศยาน (PDF) คลิ๊ก




ดาวน์โหลด (Download) :  เอกสารแนวทางเวชปฏิบัติ การวินิจฉัยโรคมะเร็งปอด (2547) (กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) :  เอกสารแนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งปอด (2549) (ศ.พญ.สุมิตรา  ทองประเสริฐ และคณะ) (PDF) คลิ๊ก





ลิงค์ (Link): เรื่องที่น่าสนใจเกี่ยวกับมะเร็ง

ลิงค์ (Link): การตรวจวินิจฉัยวิธีใหม่ด้วย PET-CT สแกน โดย รศ.นพ.สุภัทรพร เทพมงคล คลิ๊ก ลิงค์ (Link): Bone Scan: การตรวจสแกนกระดูก (พญ.ศิริอนงค์ นามวงศ์พรหม; คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) (PDF)  คลิ๊ก ลิงค์ (Link) : การผ่าตัดมะเร็งทำให้โรคแพร่กระจายจริงหรือ (รศ.นพ.อดุลย์ รัตนวิจิตราศิลป์ : ภาควิชาศัลยศาสตร์  สาขาวิชาศัลยศาสตร์ศีรษะ คอ และเต้านม คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล) คลิ๊ก
ลิงค์ (Link): ผลข้างเคียงจากยาเคมีบำบัด (สาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา ภาควิชารังสีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) คลิ๊ก ลิงค์ (Link): ความรู้เกี่ยวกับรังสีรักษา การฉายรังสีและเครื่องมือทางรังสีรักษา (สาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา ภาควิชารังสีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) คลิ๊ก
ลิงค์ (Link): สูตรอาหารต้านมะเร็ง (เอื้อเฟื้อโดย น.พ.สำราญ อาบสุวรรณ; ผู้หายจากมะเร็งปอดระยะสุดท้าย) : ข้อมูลจาก วัดคำประมง จังหวัดสกลนคร  คลิ๊ก


 ลิงค์ (Link): การตรวจ MRI คลิ๊ก





ลิงค์ (Link): การแพทย์ทางเลือก, การแพทย์แผนไทย และธรรมชาติบำบัด

ลิงค์ (Link): วัดคำประมง จังหวัดสกลนคร (หลวงตาปพนพัชร์  จิรธัมโม) : วัดที่รักษาโรคมะเร็ง คลิ๊ก  ลิงค์ (Link): การแพทย์ทางเลือก บีเมสส คลินิก จังหวัดนครราชสีมา (นพ.สำราญ  อาบสุวรรณ : ผู้หายจากมะเร็งปอดระยะสุดท้าย) คลิ๊ก  ลิงค์ (Link): วิถีไทยคลินิกการแพทย์แผนไทย กรุงเทพมหานคร (อาจารย์เภสัชกร มงคลศิลป์  บุญเย็น) คลิ๊ก
ลิงค์ (Link): Gerson Institute
 (รักษาตามแนวธรรมชาติบำบัด) คลิ๊ก





Link: ลิงค์ หน่วยงาน, สถาบัน, องค์กร และที่เกี่ยวข้องกับมะเร็ง

ลิงค์ (Link) :  สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข คลิ๊ก ลิงค์ (Link) :  สาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา ภาควิชารังสีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คลิ๊ก
ลิงค์ (Link) : สถานวิทยามะเร็งศิริราช คลิ๊ก ลิงค์ (Link) : โครงการโรคมะเร็ง คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี คลิ๊ก
ลิงค์ (Link) :  วัดคำประมง จ.สกลนคร (หลวงตาปพนพัชร์  จิรธัมโม) : วัดที่รักษาโรคมะเร็ง คลิ๊ก



 http://www.cancer.gov: National Cancer Institute คลิ๊ก  http://www.eortc.be: European Organisation for Research and Treatment of Cancer คลิ๊ก  http://www.oncolink.org: OncoLink (University of Pennsylvania) มีข้อมูลข่าวสารมากมาย และได้ผ่านการคัดเลือกและตรวจสอบโดย editorial board ของ OncoLink แล้ว, มีข่าวใหม่ประจำสัปดาห์เกี่ยวกับโรคมะเร็ง, บทคัดย่อใหม่ของการวิจัยโรคมะเร็งที่ตีพิมพ์, การประชุมทางวิชาการต่าง ๆ ฯลฯ  คลิ๊ก
 http://www.iarc.fr/: The International Agency for Research on Cancer (IARC) คลิ๊ก  http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed: Pubmed เป็นเครื่องมือค้นหาฐานข้อมูล เรียกใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูล MEDLINE ซึ่งประกอบด้วยแหล่งอ้างอิง, บทคัดย่อ และบทความตัวเต็มทางวิทยาศาสตร์และชีวเวชศาสตร์ คลิ๊ก






Link: ลิงค์ หน่วยงาน, สถาบัน, องค์กรด้านการสาธารณสุข และที่เกี่ยวข้อง

 กระทรวงสาธารณสุข คลิ๊ก





 องค์การเภสัชกรรม คลิ๊ก
 กรมสุขภาพจิต คลิ๊ก

 สภากาชาดไทย คลิ๊ก



แพทยสภา คลิ๊ก ทันตแพทยสภา คลิ๊ก  สภาเทคนิคการแพทย์ คลิ๊ก  สภากายภาพบำบัด คลิ๊ก  สภาเภสัชกรรม คลิ๊ก  สภาการพยาบาล คลิ๊ก



 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) คลิ๊ก  สำนักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาพ (สสส.) คลิ๊ก



 สำนักงานประกันสังคม คลิ๊ก






ดาวน์โหลด (Download): กฎหมาย, ประกาศ, ระเบียบ, ข้อบังคับ, คำสั่ง

ดาวน์โหลด (Download) :  พระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525 คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) :  พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2550 คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download) :  พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2553 คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) :  พระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ.2551 คลิ๊ก

ดาวน์โหลด (Download) : ข้อบังคับแพทยสภา คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : ข้อบังคับ, ประกาศ และระเบียบ ทันตแพทยสภา คลิ๊ก



ลิงค์ (Link) : ค้นหาราชกิจจานุเบกษา : ค้นหาพระบรมราชโองการ, พระราชบัญญัติ, พระราชกำหนด, พระราชกฤษฎีกา, กฎกระทรวง, ประกาศ, ระเบียบ, ข้อบังคับ และคำสั่ง คลิ๊ก





ดาวน์โหลด (Download): เอกสารข้อมูลทางการแพทย์และสาธารณสุขที่สำคัญ

ดาวน์โหลด (Download) : สิทธิผู้ป่วย คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : สิทธิการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : ใบรับรองแพทย์ คลิ๊ก





ลิงค์ (Link): การเดินทาง, แผนที่, ตารางเวลา และการส่งกลับทางอากาศ :

 การบินไทย (Thai Airways) คลิ๊ก นกแอร์ (Nok Air) คลิ๊ก  แอร์เอเชีย (Air Aisa) คลิ๊ก  บางกอกแอร์เวย์ (Bangkok Airways) คลิ๊ก  รถไฟฟ้า BTS คลิ๊ก  รถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) : (รถไฟฟ้าใต้ดิน)
คลิ๊ก การรถไฟแห่งประเทศไทย : จำหน่ายตั๋วล่วงหน้า, ตารางเวลาเดินรถและราคาค่าโดยสาร, ระบบติดตามขบวนรถ  คลิ๊ก  เรียกแท็กซี่ (Taxi) คลิ๊ก


 ตรวจสอบ, คำนวณ ระยะทาง และพิมพ์แผนที่ คลิ๊ก  ตรวจสอบ, หาพิกัดดาวเทียม
 GPS คลิ๊ก  ตรวจสอบสภาพการจราจร   Near Real Time คลิ๊ก
 ตรวจสอบสถานการณ์น้ำกับ กรมทรัพยากรน้ำ กระทรวงทรัพยากรทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คลิ๊ก  ตรวจสอบเส้นทางน้ำท่วมทางหลวง โดยกรมทางหลวง คลิ๊ก  ตรวจสอบเวลาการเดินรถไฟ คลิ๊ก
 ค้นหารถประจำทาง คลิ๊ก  เส้นทางการเดินรถไฟฟ้าใต้ดิน MRT คลิ๊ก  เส้นทางการเดินรถไฟฟ้า BTS คลิ๊ก
 ท่าขึ้นรถตู้ กรุงเทพ ฯ (และที่ใกล้เคียง) – ต่างจังหวัด คลิ๊ก  ค้นหาสายรถตู้ คลิ๊ก  เรือด่วนเจ้าพระยา คลิ๊ก






ลิงค์ (Link): หมายเลขโทรศัพท์, การติดต่อสื่อสาร และการขนส่ง

 YellowPages (เยลโล่เพจเจส) : ค้นหาหมายเลขโทรศัพท์ และอื่น ๆ คลิ๊ก

 หอพัก สกสค. (หอพักคุรุสภา) คลิ๊ก



 บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน)
 คลิ๊ก  บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) คลิ๊ก  AIS คลิ๊ก  DTAC คลิ๊ก  Truemove คลิ๊ก  ไปรษณีย์ไทย : บริการด้วยใจ เชื่อมไทย เชื่อมโลก คลิ๊ก







ลิงค์ (Link): ค้นหาแผนที่


 Google Map: กูเกิ้ล แม็ฟส์ คลิ๊ก  Maps.com: แม็ฟส์ ดอท คอม คลิ๊ก



 ค้นหาค้นหาแผนที่โรงพยาบาล คลิ๊ก  ค้นหาค้นหาแผนที่โรงพยาบาล คลิ๊ก
 ค้นหาสถานีบริการ LPG คลิ๊ก  ค้นหาสถานีบริการ NGV คลิ๊ก







Facebook: เฟสบุ๊ค – เข้าระบบ, ลงทะเบียน หรือเรียนรู้เพิ่มเติม คลิ๊ก Twitter: ทวิตเตอร์ – ลงชื่อเข้าใช้งาน คลิ๊ก YouTube: ยูทูป  – เข้าใช้งาน คลิ๊ก Wikipedia: วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี คลิ๊ก ดาว์นโหลด (Download) :  Adobe Reader คลิ๊ก  Google Map: กูเกิ้ล แม็ฟส์ คลิ๊ก ดาว์นโหลด (Download) Adobe Flash Player คลิ๊ก





สมาทานศีล 5



หลวงพ่อชา สมาทานศีล 5



พุทธมนต์, พุทธคุณ ๑๐๘ นำสวดโดย หลวงพ่อจรัญ ธิตธมฺโม



ทำวัตรเช้า นำสวดโดย หลวงพ่อจรัญ ธิตธมฺโม



ทำวัตรเย็น นำสวดโดย หลวงพ่อจรัญ ธิตธมฺโม



ทำวัตรเย็น นำสวดโดย หลวงพ่ออุทัย สิริธโร



พาหุงมหากา นำสวดโดย หลวงพ่อจรัญ ธิตธมฺโม



บทสวดพระคาถาชินบัญชร



บทสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก



บทสวดโพชฌังคปริตร



พระคาถาสักกัตวา



หลวงพ่อชา สอนการทำสมาธิ



หลวงพ่อจรัญสอนกรรมฐาน ตอนที่ 3/9



หลวงพ่อจรัญสอนกรรมฐาน ตอนที่ 4/9



หลวงพ่อฤๅษี ลิงดำ สอนกรรมฐาน 40 ตอนที่ 1



หลวงพ่อฤๅษี ลิงดำ สอนกรรมฐาน 40 ตอนที่ 2



หลวงพ่อฤๅษี ลิงดำ สอนกรรมฐาน 40 ตอนที่ 3



หลวงพ่อฤๅษี ลิงดำ สอนกรรมฐาน 40 ตอนที่ 4



หลวงพ่อพุธ ฐานิโย สอนกรรมฐาน









ลิงค์ (Link): ข่าวสาร, ข้อมูล, บทความเกี่ยวกับน้ำท่วม



 แจ้งขอความช่วยเหลือ (Thaiflood.com) คลิ๊ก




Thaiflood

 18 วิธีรับมือน้ำท่วม คลิ๊ก  การเตรียมการก่อนน้ำท่วม คลิ๊ก  การรับมือระหว่างน้ำท่วม คลิ๊ก
 การเตรียมการอพยพ คลิ๊ก  ข้อมูลดาวเทียมแสดงอุทกภัยประเทศไทย (ข้อมูลจาก GISTDA) คลิ๊ก  ภาพแสดงระดับความสูงต่ำของพื้นที่กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เพื่อการวิเคราะห์การเคลื่อนตัวของมวลน้ำ คลิ๊ก
 วิกฤตการณ์น้ำท่วมประเทศไทย 2554 (Crisis Map) คลิ๊ก  ตรวจสอบแผนที่น้ำท่วมกับ esri Thailand คลิ๊ก  สถานการณ์น้ำในเขื่อน คลิ๊ก
 ตรวจสอบเส้นทางน้ำท่วมทางหลวง โดยกรมทางหลวง คลิ๊ก  แผนที่เส้นทางหนีน้ำท่วมจาก กทม.ไป ภาคเหนือ, อีสาน คลิ๊ก  รวมข้อมูล ที่จอดรถหนีน้ำท่วม สำหรับผู้ประสบอุทกภัย คลิ๊ก
 เทคนิควาง “กระสอบทราย” สู้น้ำท่วม คลิ๊ก
 การป้องกันน้ำเข้าบ้าน และวิธีอุดปิดช่องทางน้ำเข้าบ้าน คลิ๊ก  เมื่อต้องขับรถลุยน้ำ น้ำท่วม!!! และเมื่อรถตกน้ำควรปฏิบัติอย่างไร คลิ๊ก  การทำเรืออย่างง่าย ๆ คลิ๊ก
 “ตะคริว” กับการเรียนรู้สู้ภัยน้ำท่วม คลิ๊ก  การปฏิบัติการช่วยฟื้นชีวิตขั้นพื้นฐาน (Basic Cardio Life Support : BCLS) (กรมแพทย์ทหารเรือ) คลิ๊ก  จะช่วยคนจมน้ำได้อย่างไร (ศ.พญ.วันดี วราวิทย์) คลิ๊ก


ดาวน์โหลด (Download): เอกสาร คู่มือเกี่ยวกับน้ำท่วม

ดาวน์โหลด (Download): Flood Fighting Methods (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): British Columbia Flood Plan (BC Flood Plan) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): Fact Sheet Floods (FEMA) (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วม (จัดทำโดย : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): คู่มือรับมือน้ำท่วมไม่ยาก (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): โรคที่มากับน้ำท่วม (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): อีกทางเลือกหนึ่งของชูชีพอย่างง่าย (สามารถทำเองได้) (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): การใช้ถุงทรายเพื่อป้องกันน้ำท่วม (รศ.ดร.อมร  พิมานมาศ) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): 6 แนวทางกันนํ้าท่วมเข้าบ้าน (รศ.ดร.อมร  พิมานมาศ) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): รวมวิธีป้องกันรถจากภัยน้ำท่วม (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): “ผนึกกำลัง ร่วมใจ สู้ภัยน้ำท่วม” การเตรียมตัวเตรียมใจก่อนภัยน้ำท่วม ฉบับประชาชน (กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข) (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (PDF) คลิ๊ก




หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ :




 หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ คลิ๊ก  หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ คลิ๊ก  หนังสือพิมพ์คมชัดลึก คลิ๊ก  หนังสือพิมพ์ข่าวสด คลิ๊ก  หนังสือพิมพ์บ้านเมือง คลิ๊ก

 TV 3 คลิ๊ก  TV 5 คลิ๊ก  TV 7 คลิ๊ก  ModerNine TV คลิ๊ก  Thai PBS คลิ๊ก



Ayutthaya Thai Flood 2011



น้ำท่วมกรุงเทพ ปี 2485 (Bangkok floods in 1942)



Nuidears Flood Control



mobile flood barrier



ถุงคลุมรถ



ข้อควรปฏิบัติขับรถช่วงน้ำท่วม



Thai PBS ฝ่าวิกฤตน้ำท่วม – พบหมอรถ 1/5 (23 ต.ค.54



Thai PBS ฝ่าวิกฤตน้ำท่วม – พบหมอรถ 2/5 (23 ต.ค.54



Thai PBS ฝ่าวิกฤตน้ำท่วม – พบหมอรถ 3/5 (23 ต.ค.54)



Thai PBS ฝ่าวิกฤตน้ำท่วม – พบหมอรถ 4/5 (23 ต.ค.54)



Thai PBS ฝ่าวิกฤตน้ำท่วม – พบหมอรถ 5/5 (23 ต.ค.54)



Thai PBS ฝ่าวิกฤตน้ำท่วม - พบหมอบ้าน 1/6 (22 ต.ค.54)



เพลง ประสบทุกข์ ประสบภัย ฝ่าไปด้วยกัน (ขับร้องโดย พนักงานไทยพีบีเอส



เพลงน้ำใจไทย (ขับร้องโดย แอ๊ด คาราบาว)



Friends' blogs
[Add muansuk's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.