ขอเป็นกำลังใจให้กับทุก ๆ คน ทุกสิ่งเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และก็ดับไป ขอมีกำลังใจที่เต็มเปี่ยมและเข้มแข็ง มีสติที่ตั้งมั่น ธรรมย่อมรักษาผู้ปฏิบัติธรรม, ทุกสิ่งเป็น อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา, การนำข้อมูลไปใช้ต้องใช้หลักกาลามสูตร. Group Blog จำนวน 215 Group Blog : รวมข้อมูลทั้งหมด 525 เรื่อง (Click (คลิ๊ก) ตรงกล่องสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีฟ้า หรือเครื่องหมายสามเหลี่ยมของกล่องสี่เหลี่ยม (ทางด้านขวามือ) (มีข้อมูลอยู่ในนั้นครับ) "ขอขอบคุณเจ้าของผลงานต่างๆ และข้อมูลเหล่านี้ใช้เพื่อการศึกษา เรียนรู้ และการวิจัยเท่านั้น"
Group Blog
 
All Blogs
 

การผ่าตัดรักษามะเร็ง (พล.อ.ต.นพ.วิบูลย์ ตระกูลฮุน)

โดย : พล.อ.ต.น.พ.วิบูลย์ ตระกูลฮุน
หัวหน้าหน่วยโภชนาบำบัด กองศัลยกรรม โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช
นายกสมาคมเวชบำบัดวิกฤตแห่งประเทศไทย
ผู้ทรงคุณวุฒิกองทัพอากาศ กระทรวงกลาโหม




วิบูลย์ ตระกูลฮุน (2552: 37-44) กล่าวว่า การผ่าตัดรักษาเหมาะสำหรับผู้ป่วยที่โรคมะเร็งยังอยู่เฉพาะตำแหน่งเริ่มต้น (มะเร็งระยะที่ 1) หรือเพียงกระจายไปเนื้อเยื่อข้างเคียง หรือลุกลามทะลุผ่านอวัยวะที่เป็นโพรง (ระยะที่ 2) เท่านั้น นอกนั้น อาจต้องรักษาเสริมด้วยเคมีบำบัดเพื่อควบคุมหรือทำลายเซลล์มะเร็ง ชนิดของการผ่าตัดในโรคมะเร็งมีหลายแบบ อาทิ ผ่าตัดเอาเฉพาะส่วนของก้อนมะเร็งออก หรือตัดเอาส่วนของมะเร็งที่มีการกระจายไปยังเนื้อเยื่อข้างเคียงออก หรือตัดต่อมน้ำเหลือง ใกล้เคียงออกด้วย การวางแผนผ่าตัดที่ชัดเจนและถูกต้อง ส่งผลต่อโอกาสที่จะหายขาด หรือช่วยประคับประคองให้คุณภาพชีวิตผู้ป่วยดีขึ้น
ในแต่ละปีกลุ่มผู้ป่วยโรคมะเร็งที่สามารถรักษาให้หายได้นั้น พบว่า 60% หายได้ด้วยการผ่าตัด 25% หายได้ด้วยรังสีรักษา และมีเพียง 13% ที่หายได้ด้วยเคมีบำบัด ฉะนั้นอาจกล่าวได้ว่า ประมาณ 1 ใน 3 ของผู้ป่วยโรคมะเร็งทั้งหมด รักษาหายได้โดยการผ่าตัดอย่างเดียว
การผ่าตัดรักษาที่เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่โรคมะเร็งยังอยู่เฉพาะตำแหน่งเริ่มต้น (มะเร็งระยะที่ 1) หรือเพียงกระจายไปเนื้อเยื่อข้างเคียง หรือลุกลามทะลุผ่านอวัยวะที่เป็นโพรง (ระยะที่ 2) เท่านั้น นอกนั้น อาจต้องรักษาเสริมด้วยเคมีบำบัด เพื่อควบคุมหรือทำลายเซลล์มะเร็ง

วัตถุประสงค์ของการผ่าตัด

เพื่อการรักษาให้หายขาด

การผ่าตัดโรคมะเร็งเพื่อหวังผลให้หายนั้น โอกาสดีที่สุด คือ การผ่าตัดครั้งแรกต้องถูกต้อง และเพียงพอ สามารถเอาส่วนของมะเร็งออกได้หมด และไม่มีเซลล์มะเร็งตกหล่นในบริเวณผ่าตัดนั้น

เพื่อการรักษาประคับประคอง
เป็นการผ่าตัดเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากโรคมะเร็ง เนื่องจากมะเร็งมีการแพร่กระจายไปมากเกินไปที่จะรักษาให้หายได้ด้วยการผ่าตัด เช่นการผ่าตัดเพื่อลดอาการปวด ควบคุมเลือดออกจากมะเร็ง แก้ปัญหาการอุดตันของลำไส้หรือการติดเชื้อ เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อประคับประคองให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี ไม่ทรมานจากปัญหาแทรกซ้อน และยืดอายุผู้ป่วย

การวางแผนการผ่าตัด



การผ่าตัดในผู้ป่วยโรคมะเร็งก็เช่นเดียวกับการผ่าตัดทั่วไป ที่จะต้องมีการเตรียมผู้ป่วยให้ดี แก้ไขภาวะผิดปกติต่าง ๆ ก่อนการผ่าตัด เพื่อให้มีโอกาสเกิดปัญหาแทรกซ้อนน้อยที่สุด เพราะการผ่าตัดในบางโรคนั้น เป็นการผ่าตัดใหญ่กินบริเวณกว้าง ใช้เวลานานและยุ่งยาก โอกาสที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนหรือมีความเสี่ยงต่อชีวิตค่อนข้างมาก
การวางแผนการผ่าตัดรักษาจะมีจุดประสงค์ที่ชัดเจนและถูกต้อง เพื่อโอกาสที่จะหายขาด หรือเพื่อประคับประคองให้มีโอกาสและคุณภาพของชีวิตที่ดีขึ้น

ข้อควรพิจารณาในการผ่าตัด
1. การดำเนินของโรค
2. การแพร่กระจายของโรค โดยพิจารณาถึงตำแหน่งและขนาดของเนื้อร้าย ความเป็นไปได้ในการทุเลาเบาลงของโรคจะมีมากน้อยเพียงใด
3. ความเสี่ยงของการผ่าตัด ขึ้นอยู่กับ
• ภาวะสุขภาพเดิมของผู้ป่วย เช่น มีภาวะทุพโภชนาการ ภูมิคุ้มกันต่ำ ภาวะโลหิตจาง เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ควรจะต้องแก้ไขให้ดีขึ้นหรือเป็นปกติก่อนผ่าตัด
• โรคประจำตัว เช่น โรคหัวใจ โรคปอด ฯลฯ
• ชนิดและเทคนิคของการผ่าตัด ซึ่งขึ้นกับความสามารถและประสบการณ์ของศัลยแพทย์และวิสัญญีแพทย์

ชนิดและวิธีการผ่าตัด
การผ่าตัดมะเร็งนั้น ศัลยแพทย์จะหลีกเลี่ยงไม่สัมผัสตัวมะเร็งมากนัก บริเวณที่กรีดหรือผ่า จะไม่ผ่านเข้าไปในเนื้อหรือก้อนมะเร็ง เพราะอาจทำให้เซลล์มะเร็งมีโอกาสตกหล่นอยู่ในบริเวณผ่าตัด ระยะของการผ่าตัดจะห่างจากขอบก้อนมะเร็งมากหรือน้อย ขึ้นกับชนิดและตำแหน่งของมะเร็ง และอาจจะรวมบริเวณของเนื้อเยื่อข้างเคียงหรืออวัยวะที่เป็นโพรงด้วย

ชนิดของการผ่าตัดมะเร็ง อาจแบ่งให้เห็นได้ชัด ๆ ดังนี้
1. การผ่าตัดเอาเฉพาะส่วนของก้อนมะเร็งออก (Local resection)
ใช้รายที่โรคมะเร็งยังอยู่เฉพาะในบริเวณที่กำหนด หรือมีการกระจายของเซลล์มะเร็งเข้าไปยังผิวหนังส่วนข้างเคียงเพียงไม่กี่มิลลิเมตรจากขอบจุดเริ่มต้น จึงไม่ต้องตัดห่างมาก
2. บริเวณผ่าตัดบริเวณกว้างโดยตัดเอาส่วนของมะเร็งที่มีการกระจายไปยังเนื้อเยื่อข้างเคียงออกด้วย (Radical local resection)
ใช้ในรายที่มะเร็งมีการกระจายแทรกไปในเนื้อเยื่อข้างเคียงมากจากจุดเริ่มต้น เมื่อตัดจึงต้องเอาออกกว้าง ถ้าเป็นที่กล้ามเนื้อ ก็ต้องเอากล้ามเนื้อนั้นออกทั้งมัดจากตำแหน่งจุดเริ่มต้นถึงจุดกระจาย แต่การผ่าตัดแบบนี้ ต้องคำนึงถึงความพิการที่อาจจะเกิดขึ้นด้วย
3. การผ่าตัดบริเวณกว้างโดยตัดเอาส่วนของมะเร็งที่มีการกระจายไปยังต่อมน้ำเหลืองใกล้เคียงออกด้วย (Radical resection with en bloc excision of lymphatics)
ใช้ในรายที่โรคมะเร็งที่จุดเริ่มต้นอยู่ใกล้กับต่อมน้ำเหลืองข้างเคียงของส่วนนั้น เนื่องจากมะเร็งอาจมีการกระจายไปต่อมน้ำเหลืองแล้ว โดยที่บอกไม่ได้จากการตรวจคลำ ซึ่งจะมีผลช่วยให้การผ่าตัดรักษาดีขึ้น หรือช่วยในการพยากรณ์โรคต่อไป
4. การผ่าตัดอย่างครอบคลุมกว้างขวาง (Extensive radical surgical procedures)
ทำในบางกรณีที่ก้อนเนื้องอกมีขนาดใหญ่ หรือมีการกระจายเข้าไปในเนื้อเยื่อหรืออวัยวะข้างเคียง (Local invasion) แต่ยังไม่มีการกระจายไปที่ไกล ๆ (Distant metastasis) อาจมีโอกาสหายได้ เช่น การผ่าตัดมะเร็งลำไส้ใหญ่ส่วนปลายที่เข้าไปในอวัยวะข้างเคียง อาจจะต้องตัดอวัยวะนั้น ๆ ในช่องเชิงกรานไปด้วย เช่น มดลูก รังไข่ เป็นต้น

ข้อจำกัดของการผ่าตัด



• การผ่าตัดที่ไม่สามารถตัดเนื้อร้ายออกได้หมด เนื่องจากก้อนอยู่ติดกับอวัยวะสำคัญ
• ไม่รู้ขอบเขตของเซลล์มะเร็งที่แน่นอน (Microextension) หากตัดกว้างผู้ป่วยจะสูญเสียอวัยวะมากเกินไป
• ไม่สามารถตัดต่อมน้ำเหลืองออกได้หมด เช่น บริเวณคอมีต่อมน้ำเหลืองถึงประมาณ 150 ต่อม หรือ จากรอยแยกของเส้นเลือดแดงใหญ่ (Aorta) ถึงเส้นเลือดของไต (Renal pedicle) มีต่อมน้ำเหลือง 50 – 75 ต่อม เป็นต้น
• การผ่าตัดไม่ได้สามารถลดการแพร่กระจายของโรคทางกระแสเลือดหรือน้ำเหลือง ตลอดจนช่องโพรงต่าง ๆ
• ในกรณีเนื้องอกมีขนาดใหญ่มากเกินไป จำเป็นที่จะต้องให้การรักษาด้วยวิธีเคมีบำบัดหรือรังสีรักษาเสียก่อน เพื่อให้เนื้อร้ายหดตัวมีขนาดเล็กลงง่ายต่อการผ่าตัด

การปฏิบัติตัวสำหรับผู้ป่วยมะเร็งที่รับการผ่าตัด
การปฏิบัติตัวก่อนเข้ารับการผ่าตัดรักษา
1. มีความตั้งใจแน่วแน่และมั่นใจในแผนการรักษาที่จะได้รับ
2. ทำจิตใจให้สบาย ปลอดโปร่ง
3. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และครับทั้ง 5 หมู่
4. งดดื่มแอลกอฮอล์และสูบบุหรี่
5. ควรดื่มน้ำมาก ๆ อย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว ยกเว้นในรายที่มีภาวะไตเสื่อม และภาวะน้ำท่วมปอด
6. ควรออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยวันละ 15 นาที
7. รักษาความสะอาดทุกส่วนของร่างกายตั้งแต่ศรีษะจรดปลายเท้า
8. ควรพักผ่อนทั้งร่ายและจิตใจ หาโอกาสพูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้กับผู้ป่วยที่รักษาประสบความสำเร็จ

การปฏิบัติตัวหลังการผ่าตัดรักษา
ในระยะแรกหลังผ่าตัดใหม่ ๆ ผู้ป่วยจะต้องนอนพักรักษาตัวอยู่ที่โรงพยาบาล ดังนั้นการดูแลในระยะนี้จึงมักเป็นหน้าที่ของบุคลากรทางการแพทย์ โดยมีข้อแนะนำให้ปฏิบัติดังนี้
1. ควรปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์และพยาบาลอย่างเคร่งครัด
2. การทำความสะอาดแผลผ่าตัดในระยะนี้เป็นหน้าที่ของศัลยแพทย์และพยาบาล โดยต้องระมัดระวังเรื่องความสะอาดปราศจากเชื้อให้มากที่สุด เทคนิควิธีการทำแผลจะแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับชนิดและตำแหน่งที่ทำการผ่าตัด โดยปกติบุคลากรทางการแพทย์จะเป็นผู้ให้คำแนะนำวิธีการดูแลแผล ก่อนอนุญาตให้กลับบ้าน
3. แจ้งให้แพทย์และพยาบาลทราบทันที เมื่อรู้สึกว่ามีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้นในร่างกาย เช่น รู้สึกเหนื่อย แน่นหน้าอก หายใจไม่ออกมากขึ้น มีเลือดออกจากแผลไม่หยุด เป็นต้น
4. การออกกำลังจะช่วยให้กลับสู่สภาวะปกติได้เร็วขึ้น สำหรับการผ่าตัดทั่วไปพบว่า หลังผ่าตัดประมาณวันที่ 3 – 4 แพทย์จะอนุญาตให้ผู้ป่วยเดินรอบเตียงได้ และให้ไปห้องน้ำเองประมาณวันที่ 7-10 หลังผ่าตัด ผู้ป่วยจะได้รับการฝึกหัดเดินขึ้นบันได 1 ขั้น

อาการที่เกิดขึ้นหลังผ่าตัดและการแก้ไข
อาการเจ็บแผลที่หน้าอก
เป็นอาการที่เกิดขึ้นได้ตามปกติ อาจเป็นอยู่ได้หลายสัปดาห์ หลังการผ่าตัดจะค่อย ๆ ทุเลาลงไปเอง แต่ถ้ายังมีการเจ็บปวดอยู่ ควรรับประทานยาลดปวดตามที่แพทย์สั่งไว้ ให้ฝึกหายใจให้ถูกวิธีจะลดอาการปวดแผลได้

เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย เวียนศีรษะ
เป็นอาการที่เกิดขึ้นได้ตามปกติหลังการผ่าตัดช่วงแรก ๆ จะค่อย ๆ ดีขึ้นในเวลาต่อมา แต่ควรไม่ลืมว่าร่างกายผู้ป่วยต้องการสารอาหารเพื่อฟื้นฟูร่างกายในช่วงนี้ ดังนั้นผู้ป่วยควรพยายามรับประทานอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วน มีหลักดังนี้



• เน้นเป็นอาหารอ่อนในระยะแรก จนถึงอาหารปกติธรรมดา
• เคี้ยวอาหารให้ละเอียดและช้า ๆ รับประทานในปริมาณที่น้อยในแต่ละมื้อ แต่เพิ่มจำนวนมื้อมากขึ้น
• อาจจะรับประทานเฉพาะอาหารที่ชอบ แล้วรอจนกว่าความอยากอาหารจะกลับมาเป็นปกติ จึงเริ่มรับประทานอาหารตามคำแนะนำของนักโภชนาการ

อาการไข้ต่ำ ๆ
หลังการผ่าตัดในระยะแรก ๆ อาจมีไข้ได้ ถือว่าเป็นอาการที่เกิดขึ้นได้ตามปกติ และไข้จะหายไปเองภายใน 2-3 วัน เมื่อผู้ป่วยกลับไปพักฟื้นที่บ้าน ถ้ามีไข้เกิน 38 องศาเซลเซียส ติดต่อกันนานเกิน 2 วัน ให้มาพบแพทย์โดยไม่ต้องรอวันนัด

อารมณ์แปรปรวน
ความวิตกกังวล นอนไม่หลับ อาจเกิดขึ้นได้ อาการเหล่านี้จะน้อยลงไปเมื่อผู้ป่วยได้พักผ่อนอยู่ที่บ้าน ญาติพี่น้องและบุคคลใกล้ชิดควรพูดให้กำลังใจ ยอมรับพฤติกรรมการตอบสนองของผู้ป่วย พยายามช่วยสนับสนุนให้ผู้ป่วยได้แสดงออกในทางที่สร้างสรรค์ ซึ่งสำคัญอย่างยิ่งที่จะช่วยป้องกันความรู้สึกสิ้นหวัง ช่วยให้ผู้ป่วยได้เผชิญกับโรคและการรักษาได้ดีขึ้น

อาการผิดปกติที่ควรมาพบแพทย์ก่อนนัด ได้แก่ แผลอักเสบ บวมแดง แผลเป็นหนอง น้ำเหลืองไหลออกจากแผล มีอาการเหนื่อยง่าย แน่นหน้าอก หายใจไม่สะดวก บวมตามร่างกาย เป็นต้น ควรมาพบแพทย์ก่อนโดยไม่ต้องรอถึงวันนัด

การพักฟื้นที่บ้านหลังจากการผ่าตัดรักษา
การดูแลแผลผ่าตัด
การดูแลแผล ถือเป็นเรื่องสำคัญในการหายของแผล วิธีการดูแลทำความสะอาดแผลจะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับชนิดและตำแหน่งที่ทำการผ่าตัด
• ควรได้รับคำแนะนำจากศัลยแพทย์และพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับการดูแลแผล
• การดูแลแผลผ่าตัดทั่ว ๆ ไป หลังผ่าตัดประมาณ 5-7 วัน ยังต้องระวังไม่ให้แผลถูกน้ำ ไม่ควรใช้แป้งหรือยาใด ๆ โรยแผล เมื่อแผลหายดีแล้ว สามารถอาบน้ำโดยใช้สบู่ลูบเบา ๆ บริเวณแผล และใช้ผ้าเช็ดตัวนุ่ม ๆ ซับเบา ๆ ให้แห้งได้
• ควรรีบมาพบแพทย์เมื่อแผลมีการติดเชื้อ เช่น อาการแสบ ปวด บวมแดง และมีน้ำเหลืองไหลออกจากแผล

กิจกรรมและการออกกำลังกาย



การออกกำลังกายเป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญต่อการฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายของผู้ป่วย ช่วยให้ผู้ป่วยกลับสู่สภาวะปกติได้เร็วขึ้น
• การออกกำลังไม่มีขีดจำกัดขึ้นอยู่กับว่าผู้ป่วยสามารถทำได้เท่าใด เพียงแต่ให้พักเมื่อรู้สึกว่าเริ่มเหนื่อย
• เมื่อผู้ป่วยกลับบ้านแล้ว สามารถออกกำลังกายได้ตามสมควร
• การเดินออกกำลังเป็นวิธีที่ดีที่สุดหลังผ่าตัด โดยเริ่มต้นเดินจากที่ราบก่อน ทำทุกวันวันละ 1-2 ครั้ง ในตอนเช้าและตอนเย็น แล้วค่อย ๆ เพิ่มระยะทางให้มากขึ้น
• ทำกิจกรรมเบา ๆ ได้ ควรหลีกเลี่ยงการทำงานหนักในระยะ 4-6 สัปดาห์ หลังผ่าตัด
• ถ้ารู้สึกเหนื่อย เวียนศีรษะเหมือนจะเป็นลม ให้หยุดและพักทันที

การพักผ่อน นอนหลับและการมีเพศสัมพันธ์
• ควรหาเวลานอนพักบ่อย ๆ โดยเฉพาะหลังออกจากโรงพยาบาลใหม่ ๆ
• ควรวางแผนในการทำกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อหลีกเลี่ยงอาการอ่อนเพลีย
• เมื่อรู้สึกเหนื่อย ให้หยุดกิจกรรมนั้นและพักทันที
• ควรพยายามหาเวลาพักผ่อนในตอนในตอนกลางวัน อย่างน้อยวันละ 20 นาที ไม่จำเป็นต้องนอนให้หลับ เพียงเป็นการนอนพักผ่อนก็ได้
• ในแต่ละคืน พยายามนอนให้ได้ประมาณ 8-10 ชั่วโมง
• ควรหาโอกาสผ่อนคลายความเครียด เช่น อ่านหนังสือ ฟังเพลง ปลูกต้นไม้ เล่นเกมส์ ทำสมาธิ ทำการฝีมือ หรืองานอดิเรกอื่น ๆ รวมถึงการท่องเที่ยวตามสถานที่ต่าง ๆ ที่มีอากาศปลอดโปร่ง ไม่แออัด
• การมีเพศสัมพันธ์ สามารถเริ่มได้เมื่อรู้สึกพร้อม โดยหลีกเลี่ยงท่าที่อาจกระทบกระเทือนแผลผ่าตัด

การรับประทานอาหาร
ความอยากอาหารอาจลดลงหลังการผ่าตัดใหม่ ๆ ไม่ถือเป็นเรื่องผิดปกติ เพียงแต่ไม่ลืมว่าร่างกายของผู้ป่วยต้องการสารอาหารเพื่อฟื้นฟูร่างกายในช่วงนี้ ดังนั้นจึงต้องรับประทานอาหารที่สารอาหารครบถ้วน รวมทั้งควรติดตามดูน้ำหนักอย่างสม่ำเสมอ

การดูแลผู้ป่วยของผู้ใกล้ชิด
การเตรียมใจก่อนผ่าตัด เป็นเหตุผลสำคัญที่กระทบต่อการฟื้นฟูร่างกายของผู้ป่วยหลังการผ่าตัด ผู้ป่วยอาจวิตกกังวลต่อการผ่าตัดเอาอวัยวะออก ความเจ็บปวด ตลอดจนความหวาดกลัวต่อสิ่งที่ไม่อาจทราบได้ในอนาคต คำชี้แจงของบุคลากรในโรงพยาบาลอาจไม่สามารถขจัดความกังวลของผู้ป่วยได้หมด ดังนั้น ญาติพี่น้องและคนรอบข้าง เป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งสำหรับผู้ป่วยมะเร็งทุกระยะการรักษา ช่วยให้ผู้ป่วยปรับตัวและยอมรับในภาวะปัจจุบัน รวมทั้งให้ผู้ป่วยได้เรียนรู้และประเมินเงื่อนไขการใช้ชีวิตต่อไปในอนาคต

เอกสารอ้างอิง : กมล ไชยสิทธิ์ และคนอื่น ๆ. โภชนบำบัดมะเร็ง. กรุงเทพมหารนคร, Nexstep Design : 2552.




 

Create Date : 26 กรกฎาคม 2552    
Last Update : 20 สิงหาคม 2552 21:36:13 น.
Counter : 3494 Pageviews.  


muansuk
Location :


[Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 84 คน [?]




blog counter
blog counterDiseño Web
Share on Facebook



 Follow Me on Twitter
 คลิ๊ก


 ลงนามสมุดเยี่ยม muansuk blog ครับ คลิ๊ก




“ทาน ศีล ภาวนา ธรรมทั้ง 3 นี้
เป็นรากแก้วของความเป็นมนุษย์
และเป็นรากเหง้าของพระศาสนา”

หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต




“ถ้าเรารู้เรื่องธรรมดาของโลก และรู้จักความเป็นจริงของธรรมแล้ว
เราก็จะไม่ต้องมีความยุ่งยากในการเป็นอยู่
เรื่องภายนอกนั้น ถึงเราจะศึกษาให้มีความรู้สักเท่าไรๆ
ก็ไม่ทำให้เราพ้นจากทุกข์ได้
สู้การเรียนรู้จิตใจของตนอยู่ภายในวงแคบๆ นี้ไม่ได้”

ท่านพ่อลี ธมฺมธโร




“… อย่าไปอยากรู้เรื่องของคนอื่นมันเป็นทุกข์
ให้สนใจเรื่องของตัวเอง
คือเรื่องของกายกับใจ
ดูให้มันชัด …”

หลวงปู่เพียร วิริโย




“… สิ่งใดมันล่วงไปแล้ว สิ่งนั้นมันก็ล่วงไปแล้ว หมดไปแล้ว
ไม่ควรเอามาคิด มาติดอยู่ในใจ ละทิ้งให้หมด
ส่วนว่าอารมณ์อันเป็นอนาคตกาล
ดีร้ายประการใด ทั้งทางโลก และทางธรรม
สิ่งนั้นก็ยังอยู่ข้างหน้า คือยังไม่มาถึง
เวลาปัจจุบัน คือ เป็นเวลาเรานั่งภาวนา ฟังธรรม
สงบกาย สงบวาจา สงบจิต สงบใจ อยู่นี้แหละ
เป็นธรรมะปัจจุบัน ให้ระลึกภาวนาทุกลมหายใจเข้าออก...”

หลวงปู่สิม พุทธาจาโร




“... ให้รักษาศีล
ให้รู้จักพิจารณา เกิด แก่ เจ็บ ตาย
รู้จักแก้ไขจิตของตน ... ”

หลวงปู่จาม มหาปุณฺโญ





หลวงพ่อชา สุภทฺโท : ปล่อยวาง 1





พระอาจารย์สิงห์ทอง ธมฺมวโร : ธรรมสู่ใจ





หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ : ไม่ยอมละ





ดาวน์โหลดหนังสือธรรมะ (Download E-Book) :

ดาวน์โหลด (Download): หนังสือมุตโตทัย-อาจาโรวาท โดย หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต และ หลวงปู่ฝั้น อาจาโร (PDF) (9.25 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือหลวงปู่ฝากไว้ บันทึกคติธรรมและธรรมเทศนาของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล (โดย พระโพธินันทมุนี) (PDF) (625 KB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือธรรมธาตุ โดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน (PDF) (13.38) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือชาติสุดท้าย (หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน) (PDF) (6.97) คลิ๊ก  ดาวน์โหลด (Download): หนังสือพ่อแม่ครูอาจารย์ ชีวประวัติ คติธรรม และปฏิปทา พระธรรมวิสุทธิมงคล (หลวงตามหาบัว  ญาณสัมปันโน (PDF) (12.82 MB) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): หนังสือปฏิปทาของพระธุดงคกรรมฐาน สายพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต (ท่านอาจารย์พระมหาบัว ญาณสัมปันโน) (PDF) (14.68 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือไม่มาเกิดมาตายเรียกว่าชาติสุดท้าย (หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน) (PDF) (4.72 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือหลวงตา พระผู้สืบสานอริยวงศ์  รวบรวมโดยคณะศิษยานุศิษย์หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน (PDF) (50.51 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือกายคตาสติ โดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน (PDF) (10.8 MB) คลิ๊ก
 ดาวน์โหลด (Download): หนังสือธรรมปกครองใจ โดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน และหลวงปู่จันทร์ศรี  จันททีโป (PDF) (11.47 MB) คลิ๊ก  ดาวน์โหลด (Download): หนังสือปัญญาอบรมสมาธิ โดยท่านอาจารย์พระมหาบัว  ญาณสัมปันโน (PDF) (1.29 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หลวงตานิพพาน (พิธีพระราชทานเพลิงถวายสรีระสังขารหลวงตามหาบัวญาณสมฺปนฺโน) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือธรรมะทะลุโลก โดยท่านพ่อลี ธมฺมธโร (PDF) (3.18 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือท่านพ่อลี ธมฺมธโร พระอริยเจ้าผู้มีพลังแก่กล้า (PDF) (30.21 MB) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): หลวงปู่เล่าเรื่อง (หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือธรรม...ย้ำเตือน  โดยหลวงปู่เพียร  วิริโย (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือธรรมพระเพียร  วิริโย เป็นเพชรน้ำหนึ่งเพราะความพากเพียร (หลวงตาพระมหาบัว  ญาณสัมปันโน) (PDF) (8.68 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือธรรมพเนจร (หลวงปู่จันทา  ถาวโร) (PDF) (30.39 MB) คลิ๊ก Download หนังสือหลวงปู่เจี๊ยะ  จุนฺโท  พระผู้เป็นดั่งผ้าขี้ริ้วห่อทอง (PDF) (13.58 MB) คลิ๊ก
Download หนังสือพระธรรมเทศนา หลวงพ่อชา สุภัทโท (PDF) คลิ๊ก Download หนังสือสุภัททานุสรณ์ ชุด..จาริกสู่ประเทศอังกฤษ (PDF) (21.06 MB) คลิ๊ก Download หนังสือธรรมะหลวงปู่หล้า เขมปัตโต (PDF) (8.5MB) คลิ๊ก Download หนังสือสันติธมฺโมบูชา โดยหลวงปู่ฟัก สันติธมฺโม (PDF) (37.97 MB) คลิ๊ก Download หนังสือหนีนรก โดยหลวงพ่อฤๅษีลิงดำ (PDF) คลิ๊ก
Download หนังสือสังโยชน์ 10 โดยหลวงพ่อฤๅษีลิงดำ (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือวัดป่าบ้านตาด (PDF) (10.72 MB) ( คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือเศรษฐีธรรม (หลวงปู่ลี กุสลธโร) (PDF) (6.83 MB) ( คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือชีวิตนี้น้อยนัก โดยสมเด็จพระญาณสังวร (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือทำอย่างไรจะหายโกรธ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือภูมิธรรมชาวพุทธ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) (PDF) คลิ๊ก  ดาวน์โหลด (Download): หนังสือพระหลวงตา (หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน) (PDF) (7.98 MB)  คลิ๊ก  ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือจิตตวิชา หลักความรู้แจ้งทางจิตต์ (พระอาจารย์ลี ธมฺมธโร) (PDF) (3.97 MB) คลิ๊ก Download หนังสือเปิดใจรับความสุข โดยพระไพศาล  วิสาโล (PDF) คลิ๊ก Download E-Book ว.วชิรเมธี คลิ๊ก




ดาวน์โหลดหนังสือธรรมะ โครงการบูรพาจารย์ (Download E-Book) :

ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ประวัติ ข้อวัตร และปฏิปทา (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 1) (PDF) (12.5 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):   หนังสือหลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม พระอรหันต์ผู้มีฤทธิ์ในยุคปัจจุบัน (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 2)  (PDF) (15.77 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือหลวงปู่แหวน สุจิณโณ (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 3) (PDF) (19.12 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือหลวงปู่ขาว อนาลโย (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 4) (PDF) (12.53 MB) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): หนังสือพระครูวิเวกพุทธกิจ หลวงปู่ใหญ่เสาร์ กนฺตสีโล พระปรมาจารย์ใหญ่ฝ่ายพระกรรมฐาน (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 5) (PDF) (12.13 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือพระกรรมฐานสู่ล้านนา (ตอน 1) (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 6) (PDF) (24.41 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือพระกรรมฐานสู่ล้านนา (ตอน 2) (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 7) (PDF) (43.49 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือหลวงปู่หลุย จนฺทสาโร (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 8) (PDF) (70.26 MB) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): หนังสือหลวงปู่ชอบ ฐานสโม (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 9) (PDF) (10.17 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 10) (PDF) (10.17 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หนังสือหลวงปู่ฝั้น อาจาโร (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 11).pdf (PDF) (14.3 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): หลวงปู่สิม พุทฺธาจาโร (โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 12).pdf (PDF) (13.41 MB) คลิ๊ก




ดาวน์โหลดหนังสือวิธีปฏิบัติสมาธิ วิปัสสนากัมมัฏฐาน (Download E-Book) :

ดาวน์โหลด (Download): หนังสือวิธีทำสมาธิแบบหลวงปู่มั่น โดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน (PDF) (1.05 MB)คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): แนวทางปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน 2 (พระอาจารย์ลี ธมฺมธโร)  (PDF) (5.75 MB) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): เรื่องของลม (ท่านพ่อลี ธมฺมธโร) (PDF) (271.99 KB) คลิ๊ก  ดาวน์โหลด (Download): หนังสือวิธีเดินจงกรมภาวนา-นั่งสมาธิภาวนา โดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน (PDF) (9.18 MB) คลิ๊ก




ดาวน์โหลดหนังสือธรรมะ สำหรับผู้ป่วย, ญาติ และผู้รักษา (Download E-Book) :

ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือธรรมะสำหรับผู้ป่วย โดยพระไพศาล  วิสาโล (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download):  หนังสือกายหายไข้ ใจหายทุกข์ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) (PDF) คลิ๊ก
Download หนังสือรักษาใจยามป่วยไข้ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) (PDF) คลิ๊ก Download หนังสือโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) (PDF) คลิ๊ก Download หนังสือนึกถึงความตายสบายนัก โดยพระไพศาล  วิสาโล (PDF) คลิ๊ก




ดาวน์โหลดหนังสือพระไตรปิฎก :

Download หนังสืออริยวินัย (PDF) (9.27 MB) คลิ๊ก




ดาวน์โหลดหนังสือธรรมะทั่วไป (Download E-Book) :

Download หนังสืออริยวินัย (PDF) (9.27 MB) คลิ๊ก








Google

 ศีลและกรรมบถ คลิ๊ก
 พระธรรมเทศนาของหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน วัดป่าบ้านตาด จังหวัดอุดรธานี คลิ๊ก  ธรรมบรรยาย และธรรมนิพนธ์ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) วัดญาณเวศกวัน คลิ๊ก
 รวบรวมงานเขียนและบทความของพระไพศาล วิสาโล คลิ๊ก  วัดสังฆทาน จ.นนทบุรี (หลวงพ่อสนอง กตปุญโญ) : วัดที่รักษาโรคมะเร็ง คลิ๊ก



 กำลังใจสู้มะเร็ง คลิ๊ก  การดูแลสภาพจิตใจผู้ป่วยมะเร็ง คลิ๊ก





ดาวน์โหลด (Download): วารสาร นิตยสาร และสถิติ ที่เกี่ยวข้องกับมะเร็ง:

ดาวน์โหลด (Download) : วารสารมะเร็งวิวัฒน์ ปีที่ 18, ฉบับที่ 1 ปี 2555 (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download) : วารสารมะเร็งวิวัฒน์ ปีที่ 17, ฉบับที่ 1 ปี 2554 (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download) : หนังสือ Cancer in Thailand Volume.5, 2001-2003 (PDF) คลิ๊ก





ดาวน์โหลด (Download): เอกสาร, คู่มือมะเร็ง และที่เกี่ยวข้อง:

ดาวน์โหลด (Download) :  หนังสือ, เอกสาร และคู่มือ เกี่ยวกับมะเร็ง ที่น่าสนใจ (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download) : เอกสาร และคู่มือเกี่ยวกับเคมีบำบัด (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : เอกสาร และคู่มือเกี่ยวกับรังสีรักษา, การดูแลตนเองของผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา และอื่น ๆ (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : เอกสาร และคู่มือควบคุมอาการปวดสำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็งและครอบครัว, อาการปวดจากโรคมะเร็ง (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) :  เอกสาร และคู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง, การดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งระยะสุดท้ายที่บ้าน (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download) : หนังสือ, เอกสาร และคู่มือมะเร็งปอด (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : หนังสือ, เอกสาร และคู่มือมะเร็งเต้านม (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : หนังสือ, เอกสาร และคู่มือมะเร็งเต้าตับ (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download) :  แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (โรงพยาบาลสงฆ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) :  สมาธิบำบัดกับการรักษาโรคมะเร็ง (วัดคำประมง  จังหวัดสกลนคร) (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download):  แนวทางการปฏิบัติการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉินด้วยอากาศยาน (PDF) คลิ๊ก




ดาวน์โหลด (Download) :  เอกสารแนวทางเวชปฏิบัติ การวินิจฉัยโรคมะเร็งปอด (2547) (กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) :  เอกสารแนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งปอด (2549) (ศ.พญ.สุมิตรา  ทองประเสริฐ และคณะ) (PDF) คลิ๊ก





ลิงค์ (Link): เรื่องที่น่าสนใจเกี่ยวกับมะเร็ง

ลิงค์ (Link): การตรวจวินิจฉัยวิธีใหม่ด้วย PET-CT สแกน โดย รศ.นพ.สุภัทรพร เทพมงคล คลิ๊ก ลิงค์ (Link): Bone Scan: การตรวจสแกนกระดูก (พญ.ศิริอนงค์ นามวงศ์พรหม; คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) (PDF)  คลิ๊ก ลิงค์ (Link) : การผ่าตัดมะเร็งทำให้โรคแพร่กระจายจริงหรือ (รศ.นพ.อดุลย์ รัตนวิจิตราศิลป์ : ภาควิชาศัลยศาสตร์  สาขาวิชาศัลยศาสตร์ศีรษะ คอ และเต้านม คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล) คลิ๊ก
ลิงค์ (Link): ผลข้างเคียงจากยาเคมีบำบัด (สาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา ภาควิชารังสีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) คลิ๊ก ลิงค์ (Link): ความรู้เกี่ยวกับรังสีรักษา การฉายรังสีและเครื่องมือทางรังสีรักษา (สาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา ภาควิชารังสีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) คลิ๊ก
ลิงค์ (Link): สูตรอาหารต้านมะเร็ง (เอื้อเฟื้อโดย น.พ.สำราญ อาบสุวรรณ; ผู้หายจากมะเร็งปอดระยะสุดท้าย) : ข้อมูลจาก วัดคำประมง จังหวัดสกลนคร  คลิ๊ก


 ลิงค์ (Link): การตรวจ MRI คลิ๊ก





ลิงค์ (Link): การแพทย์ทางเลือก, การแพทย์แผนไทย และธรรมชาติบำบัด

ลิงค์ (Link): วัดคำประมง จังหวัดสกลนคร (หลวงตาปพนพัชร์  จิรธัมโม) : วัดที่รักษาโรคมะเร็ง คลิ๊ก  ลิงค์ (Link): การแพทย์ทางเลือก บีเมสส คลินิก จังหวัดนครราชสีมา (นพ.สำราญ  อาบสุวรรณ : ผู้หายจากมะเร็งปอดระยะสุดท้าย) คลิ๊ก  ลิงค์ (Link): วิถีไทยคลินิกการแพทย์แผนไทย กรุงเทพมหานคร (อาจารย์เภสัชกร มงคลศิลป์  บุญเย็น) คลิ๊ก
ลิงค์ (Link): Gerson Institute
 (รักษาตามแนวธรรมชาติบำบัด) คลิ๊ก





Link: ลิงค์ หน่วยงาน, สถาบัน, องค์กร และที่เกี่ยวข้องกับมะเร็ง

ลิงค์ (Link) :  สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข คลิ๊ก ลิงค์ (Link) :  สาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา ภาควิชารังสีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คลิ๊ก
ลิงค์ (Link) : สถานวิทยามะเร็งศิริราช คลิ๊ก ลิงค์ (Link) : โครงการโรคมะเร็ง คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี คลิ๊ก
ลิงค์ (Link) :  วัดคำประมง จ.สกลนคร (หลวงตาปพนพัชร์  จิรธัมโม) : วัดที่รักษาโรคมะเร็ง คลิ๊ก



 http://www.cancer.gov: National Cancer Institute คลิ๊ก  http://www.eortc.be: European Organisation for Research and Treatment of Cancer คลิ๊ก  http://www.oncolink.org: OncoLink (University of Pennsylvania) มีข้อมูลข่าวสารมากมาย และได้ผ่านการคัดเลือกและตรวจสอบโดย editorial board ของ OncoLink แล้ว, มีข่าวใหม่ประจำสัปดาห์เกี่ยวกับโรคมะเร็ง, บทคัดย่อใหม่ของการวิจัยโรคมะเร็งที่ตีพิมพ์, การประชุมทางวิชาการต่าง ๆ ฯลฯ  คลิ๊ก
 http://www.iarc.fr/: The International Agency for Research on Cancer (IARC) คลิ๊ก  http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed: Pubmed เป็นเครื่องมือค้นหาฐานข้อมูล เรียกใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูล MEDLINE ซึ่งประกอบด้วยแหล่งอ้างอิง, บทคัดย่อ และบทความตัวเต็มทางวิทยาศาสตร์และชีวเวชศาสตร์ คลิ๊ก






Link: ลิงค์ หน่วยงาน, สถาบัน, องค์กรด้านการสาธารณสุข และที่เกี่ยวข้อง

 กระทรวงสาธารณสุข คลิ๊ก





 องค์การเภสัชกรรม คลิ๊ก
 กรมสุขภาพจิต คลิ๊ก

 สภากาชาดไทย คลิ๊ก



แพทยสภา คลิ๊ก ทันตแพทยสภา คลิ๊ก  สภาเทคนิคการแพทย์ คลิ๊ก  สภากายภาพบำบัด คลิ๊ก  สภาเภสัชกรรม คลิ๊ก  สภาการพยาบาล คลิ๊ก



 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) คลิ๊ก  สำนักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาพ (สสส.) คลิ๊ก



 สำนักงานประกันสังคม คลิ๊ก






ดาวน์โหลด (Download): กฎหมาย, ประกาศ, ระเบียบ, ข้อบังคับ, คำสั่ง

ดาวน์โหลด (Download) :  พระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525 คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) :  พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2550 คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download) :  พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2553 คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) :  พระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ.2551 คลิ๊ก

ดาวน์โหลด (Download) : ข้อบังคับแพทยสภา คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : ข้อบังคับ, ประกาศ และระเบียบ ทันตแพทยสภา คลิ๊ก



ลิงค์ (Link) : ค้นหาราชกิจจานุเบกษา : ค้นหาพระบรมราชโองการ, พระราชบัญญัติ, พระราชกำหนด, พระราชกฤษฎีกา, กฎกระทรวง, ประกาศ, ระเบียบ, ข้อบังคับ และคำสั่ง คลิ๊ก





ดาวน์โหลด (Download): เอกสารข้อมูลทางการแพทย์และสาธารณสุขที่สำคัญ

ดาวน์โหลด (Download) : สิทธิผู้ป่วย คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : สิทธิการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download) : ใบรับรองแพทย์ คลิ๊ก





ลิงค์ (Link): การเดินทาง, แผนที่, ตารางเวลา และการส่งกลับทางอากาศ :

 การบินไทย (Thai Airways) คลิ๊ก นกแอร์ (Nok Air) คลิ๊ก  แอร์เอเชีย (Air Aisa) คลิ๊ก  บางกอกแอร์เวย์ (Bangkok Airways) คลิ๊ก  รถไฟฟ้า BTS คลิ๊ก  รถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) : (รถไฟฟ้าใต้ดิน)
คลิ๊ก การรถไฟแห่งประเทศไทย : จำหน่ายตั๋วล่วงหน้า, ตารางเวลาเดินรถและราคาค่าโดยสาร, ระบบติดตามขบวนรถ  คลิ๊ก  เรียกแท็กซี่ (Taxi) คลิ๊ก


 ตรวจสอบ, คำนวณ ระยะทาง และพิมพ์แผนที่ คลิ๊ก  ตรวจสอบ, หาพิกัดดาวเทียม
 GPS คลิ๊ก  ตรวจสอบสภาพการจราจร   Near Real Time คลิ๊ก
 ตรวจสอบสถานการณ์น้ำกับ กรมทรัพยากรน้ำ กระทรวงทรัพยากรทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คลิ๊ก  ตรวจสอบเส้นทางน้ำท่วมทางหลวง โดยกรมทางหลวง คลิ๊ก  ตรวจสอบเวลาการเดินรถไฟ คลิ๊ก
 ค้นหารถประจำทาง คลิ๊ก  เส้นทางการเดินรถไฟฟ้าใต้ดิน MRT คลิ๊ก  เส้นทางการเดินรถไฟฟ้า BTS คลิ๊ก
 ท่าขึ้นรถตู้ กรุงเทพ ฯ (และที่ใกล้เคียง) – ต่างจังหวัด คลิ๊ก  ค้นหาสายรถตู้ คลิ๊ก  เรือด่วนเจ้าพระยา คลิ๊ก






ลิงค์ (Link): หมายเลขโทรศัพท์, การติดต่อสื่อสาร และการขนส่ง

 YellowPages (เยลโล่เพจเจส) : ค้นหาหมายเลขโทรศัพท์ และอื่น ๆ คลิ๊ก

 หอพัก สกสค. (หอพักคุรุสภา) คลิ๊ก



 บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน)
 คลิ๊ก  บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) คลิ๊ก  AIS คลิ๊ก  DTAC คลิ๊ก  Truemove คลิ๊ก  ไปรษณีย์ไทย : บริการด้วยใจ เชื่อมไทย เชื่อมโลก คลิ๊ก







ลิงค์ (Link): ค้นหาแผนที่


 Google Map: กูเกิ้ล แม็ฟส์ คลิ๊ก  Maps.com: แม็ฟส์ ดอท คอม คลิ๊ก



 ค้นหาค้นหาแผนที่โรงพยาบาล คลิ๊ก  ค้นหาค้นหาแผนที่โรงพยาบาล คลิ๊ก
 ค้นหาสถานีบริการ LPG คลิ๊ก  ค้นหาสถานีบริการ NGV คลิ๊ก







Facebook: เฟสบุ๊ค – เข้าระบบ, ลงทะเบียน หรือเรียนรู้เพิ่มเติม คลิ๊ก Twitter: ทวิตเตอร์ – ลงชื่อเข้าใช้งาน คลิ๊ก YouTube: ยูทูป  – เข้าใช้งาน คลิ๊ก Wikipedia: วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี คลิ๊ก ดาว์นโหลด (Download) :  Adobe Reader คลิ๊ก  Google Map: กูเกิ้ล แม็ฟส์ คลิ๊ก ดาว์นโหลด (Download) Adobe Flash Player คลิ๊ก





สมาทานศีล 5



หลวงพ่อชา สมาทานศีล 5



พุทธมนต์, พุทธคุณ ๑๐๘ นำสวดโดย หลวงพ่อจรัญ ธิตธมฺโม



ทำวัตรเช้า นำสวดโดย หลวงพ่อจรัญ ธิตธมฺโม



ทำวัตรเย็น นำสวดโดย หลวงพ่อจรัญ ธิตธมฺโม



ทำวัตรเย็น นำสวดโดย หลวงพ่ออุทัย สิริธโร



พาหุงมหากา นำสวดโดย หลวงพ่อจรัญ ธิตธมฺโม



บทสวดพระคาถาชินบัญชร



บทสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก



บทสวดโพชฌังคปริตร



พระคาถาสักกัตวา



หลวงพ่อชา สอนการทำสมาธิ



หลวงพ่อจรัญสอนกรรมฐาน ตอนที่ 3/9



หลวงพ่อจรัญสอนกรรมฐาน ตอนที่ 4/9



หลวงพ่อฤๅษี ลิงดำ สอนกรรมฐาน 40 ตอนที่ 1



หลวงพ่อฤๅษี ลิงดำ สอนกรรมฐาน 40 ตอนที่ 2



หลวงพ่อฤๅษี ลิงดำ สอนกรรมฐาน 40 ตอนที่ 3



หลวงพ่อฤๅษี ลิงดำ สอนกรรมฐาน 40 ตอนที่ 4



หลวงพ่อพุธ ฐานิโย สอนกรรมฐาน









ลิงค์ (Link): ข่าวสาร, ข้อมูล, บทความเกี่ยวกับน้ำท่วม



 แจ้งขอความช่วยเหลือ (Thaiflood.com) คลิ๊ก




Thaiflood

 18 วิธีรับมือน้ำท่วม คลิ๊ก  การเตรียมการก่อนน้ำท่วม คลิ๊ก  การรับมือระหว่างน้ำท่วม คลิ๊ก
 การเตรียมการอพยพ คลิ๊ก  ข้อมูลดาวเทียมแสดงอุทกภัยประเทศไทย (ข้อมูลจาก GISTDA) คลิ๊ก  ภาพแสดงระดับความสูงต่ำของพื้นที่กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เพื่อการวิเคราะห์การเคลื่อนตัวของมวลน้ำ คลิ๊ก
 วิกฤตการณ์น้ำท่วมประเทศไทย 2554 (Crisis Map) คลิ๊ก  ตรวจสอบแผนที่น้ำท่วมกับ esri Thailand คลิ๊ก  สถานการณ์น้ำในเขื่อน คลิ๊ก
 ตรวจสอบเส้นทางน้ำท่วมทางหลวง โดยกรมทางหลวง คลิ๊ก  แผนที่เส้นทางหนีน้ำท่วมจาก กทม.ไป ภาคเหนือ, อีสาน คลิ๊ก  รวมข้อมูล ที่จอดรถหนีน้ำท่วม สำหรับผู้ประสบอุทกภัย คลิ๊ก
 เทคนิควาง “กระสอบทราย” สู้น้ำท่วม คลิ๊ก
 การป้องกันน้ำเข้าบ้าน และวิธีอุดปิดช่องทางน้ำเข้าบ้าน คลิ๊ก  เมื่อต้องขับรถลุยน้ำ น้ำท่วม!!! และเมื่อรถตกน้ำควรปฏิบัติอย่างไร คลิ๊ก  การทำเรืออย่างง่าย ๆ คลิ๊ก
 “ตะคริว” กับการเรียนรู้สู้ภัยน้ำท่วม คลิ๊ก  การปฏิบัติการช่วยฟื้นชีวิตขั้นพื้นฐาน (Basic Cardio Life Support : BCLS) (กรมแพทย์ทหารเรือ) คลิ๊ก  จะช่วยคนจมน้ำได้อย่างไร (ศ.พญ.วันดี วราวิทย์) คลิ๊ก


ดาวน์โหลด (Download): เอกสาร คู่มือเกี่ยวกับน้ำท่วม

ดาวน์โหลด (Download): Flood Fighting Methods (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): British Columbia Flood Plan (BC Flood Plan) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): Fact Sheet Floods (FEMA) (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วม (จัดทำโดย : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): คู่มือรับมือน้ำท่วมไม่ยาก (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): โรคที่มากับน้ำท่วม (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): อีกทางเลือกหนึ่งของชูชีพอย่างง่าย (สามารถทำเองได้) (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): การใช้ถุงทรายเพื่อป้องกันน้ำท่วม (รศ.ดร.อมร  พิมานมาศ) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): 6 แนวทางกันนํ้าท่วมเข้าบ้าน (รศ.ดร.อมร  พิมานมาศ) (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): รวมวิธีป้องกันรถจากภัยน้ำท่วม (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): “ผนึกกำลัง ร่วมใจ สู้ภัยน้ำท่วม” การเตรียมตัวเตรียมใจก่อนภัยน้ำท่วม ฉบับประชาชน (กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข) (PDF) คลิ๊ก
ดาวน์โหลด (Download): พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 (PDF) คลิ๊ก ดาวน์โหลด (Download): พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (PDF) คลิ๊ก




หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ :




 หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ คลิ๊ก  หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ คลิ๊ก  หนังสือพิมพ์คมชัดลึก คลิ๊ก  หนังสือพิมพ์ข่าวสด คลิ๊ก  หนังสือพิมพ์บ้านเมือง คลิ๊ก

 TV 3 คลิ๊ก  TV 5 คลิ๊ก  TV 7 คลิ๊ก  ModerNine TV คลิ๊ก  Thai PBS คลิ๊ก



Ayutthaya Thai Flood 2011



น้ำท่วมกรุงเทพ ปี 2485 (Bangkok floods in 1942)



Nuidears Flood Control



mobile flood barrier



ถุงคลุมรถ



ข้อควรปฏิบัติขับรถช่วงน้ำท่วม



Thai PBS ฝ่าวิกฤตน้ำท่วม – พบหมอรถ 1/5 (23 ต.ค.54



Thai PBS ฝ่าวิกฤตน้ำท่วม – พบหมอรถ 2/5 (23 ต.ค.54



Thai PBS ฝ่าวิกฤตน้ำท่วม – พบหมอรถ 3/5 (23 ต.ค.54)



Thai PBS ฝ่าวิกฤตน้ำท่วม – พบหมอรถ 4/5 (23 ต.ค.54)



Thai PBS ฝ่าวิกฤตน้ำท่วม – พบหมอรถ 5/5 (23 ต.ค.54)



Thai PBS ฝ่าวิกฤตน้ำท่วม - พบหมอบ้าน 1/6 (22 ต.ค.54)



เพลง ประสบทุกข์ ประสบภัย ฝ่าไปด้วยกัน (ขับร้องโดย พนักงานไทยพีบีเอส



เพลงน้ำใจไทย (ขับร้องโดย แอ๊ด คาราบาว)



Friends' blogs
[Add muansuk's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.