<<< a_somjai a_somjai's blog === อ่านเขียนบล็อก อ่านเขียนโลก <<<== a_somjai อ่านเขียนบล็อก a_somjai a_somjai's blog
Group Blog
 
All Blogs
 

สงกรานต์ท่องเที่ยว จากเชຽงใหม่ถึงหลวงพระบาง - ສງກຣານຕ໌ທ່ອງທ່ຽວ ຈາກຊຽງໃຫມ່ຖຶງຫລວງພະບາງ

ข้อมูล ปีใหม่ไทย-ลาว: สงกรานต์สำหรับนักท่องเที่ยว จากเชียงใหม่ถึงหลวงพระบาง

ຂ້ອມູລ ປີໃຫມ່ໄທ-ລາວ: ສງກຣານຕ໌ສຳຫຣັບນັກທ່ອງທຽວ ຈາກເຊີຢງໃຫມ່ຖຶງຫລວງພະບາງ


1. ความรู้เรื่อง" สงครามสาดน้ำ Water Festival " ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำหรับชาวต่างประเทศ

ຄວາມຣູ້ເຣື່ອງ" ສງຄຣາມສາດນ້ຳ Water Festival’" ໃນເອເຊີຢຕະວັນອອກສຽງໃຕ້ ສຳຫຣັບຊາວຕ່າງປຣະເທສ

<<สงกรานต์ จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี - ສງກຣານຕ໌ ຈາກວິກິພີເດີຢ ສາຣານຸກຣມເສຣີ>>


2. ปีใหม่ไทย เมืองเหนือ/ล้านนา เทศกาลสงกรานต์ ในตัว<<เมืองเชียงใหม่>>
ປີໃຫມ່ໄທຢ ເມືອງເຫນືອ/ລ້ານນາ ເທສກາລສງກຣານຕ໌ ໃນຕັວ<<ເມືອງຊຽງໃຫມ່>>


Songkran festival or Thai New Year in Chiang Mai Thailand
Added: September 13, 2006


ที่มา: https://www.youtube.com/watch?v=uutscsyzPkY



3. ปีใหม่ลาว สงกรานต์ เมืองหลวงพระบาง
ປີໃຫມ່ລາວ ສງກຣານຕ໌ ເມືອງຫລວງພະບາງ


Pi Mai Lao ปีใหม่ชาวลาว - ປີໃຫມ່ຊາວລາວ
เมืองหลวงพระบาง - ເມືອງຫລວງພະບາງ :
Lao New year in Luang Prabang

by
fanfamlaos
<About This Video,> Added: April 13, 2007


ขบวนแห่วอ นางสังขานต์ (นางที่ปรุงแต่งขึ้น; สังขตะ = ว. ที่ปรุงแต่งขึ้น) นางสงกรานต์ ຂບວນແຫ່ວອ ນາງສັງຂານ ນາງສງກຣານຕ໌
<<"Hae Vor" parade in luang prabang >>





posted by a_somjai's blog
a_somjai
10-04-2008 เที่ยงวัน ຢາມທ່ຽງມື້ອເວນ




 

Create Date : 10 เมษายน 2551    
Last Update : 20 มิถุนายน 2551 14:46:30 น.
Counter : 1490 Pageviews.  

Lao study: ຂຽນ Blog ເປັນພາສາລາວ ແນະນຳຕັວເທື່ອທຳອິດ

ສບາຢດີ ເພື່ອນຜູ້ເຂ້າມາເຢີ່ຢມຊມບລັອກນີ້ ຂອບອກໄວ້ ໃນກາຣໂພສຕ໌ລງບລັອກ ເທື່ອທຳອິດ ເປັນພາສາລາວ ຂອງຂ້າພເຈ້ານີ້ ວ່າ...

1. ເນື້ອຫາທີ່ ຄັດລອກມາລງໄວ້ຕ່ອຈາກບທບອກກລ່າວນີ້ຄືອ ຂ້ອຄວາມສຳເນາ ຕ້ນສບັບ ທຳອິດ ພາກຢ໌ ພາສາໄທຢໄທ ທີ່ເຂີຢນຂຽນລງ Website ໃຫ້ບຣິກາຣ Weblog Community ຊື່ອ Blogglang.com ບລັອກແກ໊ງ ຫັວເຣື່ອງ << Loa study: ຣ້ອງ ເພລງ ແລະ ຟ້ອນ ຈຳປາເມືອງລາວ ຫຣືອ ດວງຈຳປາ >>

2. ຖ້າທ່ານໃດ ທີ່ອ່ານພາສາລາວໄດ້ຣຸ້ເຣື່ອງແລ້ວ ຂ້າພເຈ້າຂອຄວາມເມຕຕາຈາກທ່ານຊ່ວຢ ແສດງຄວາມຄິດເຫັນ ຕາມທີ່ທ່ານພອມີເວລາ ໄວ້ໃນສ່ວນ Comment ດ້ວຢ ຈະຂອບໃຈມາກ (ຖ້າຫາກມີຄນເຂ້າມາອ່ານ ຫຣືອ ສນໃຈບ້າງ ຂ້າພເຈ້າກັຈະແປລບທພາກຢ໌ໄທຢເປັນພາສາລາວ ດັງນີ້ຕ່ອ ໆ ໄປ)

3. ບທແປ ດັງປຣາກຕປາກດເຫັນອຢູ່ນີ້ ໄດ້ໃຊ້ບຣິກາຣຈາກ < Lao Software >: Lao Language; < Transcription of texts (Thai to Lao) > ຂ້າພເຈ້າຈຶງຂອຂອບຄຸນອຢ່າງສູງ/ຂອບໃຈອຢ່າງຫລວງຫລາຢ ແດ່ທ່ານເຈ້າຂອງ/ທີມງານຜູ້ໃຫ້ບຣິກາຣ ດັງກລ່າວນີ້ ມາ ນ ທີ່ນີ້ດ້ວຢ

a_somjai's blog a_somjai
20-02-2008 ວັນພຸທ ທີ່ 20 ກຸມພາພັນທ໌ ພ.ສ. 2551 ເວລາ ບ່າຢ 2 ໂມງ 10 ນາທີ



Loa study: ຣ້ອງ ເພລງ ແລະ ຟ້ອນ ຈຳປາເມືອງລາວ ຫຣືອ ດວງຈຳປາ


ໂດຢຄວາມສນໃຈສ່ວນຕັວ ຊ່ວງນີ້ a_somjai ກລັບມາອ່ານວຣຣນກຣຣມວັນນະກຳພາສາລາວ ອຢ່າງເຂ້ມ ຈຶງຕ້ອງຟື້ນຟູເຣື່ອງກາຣອ່ານອັກສຣລາວ ແລ້ວກັຄ້ນຄວ້າຄວາມຣູ້ເກີ່ຢວກັບ ວັທນທຣຣມວັດທະນະທຳ ສັງຄມຂອງຊາວລາວ ເພິ່ມເຕິມດ້ວຢ

ຈຶງຄິດວ່າ ຫາກເປິດກລຸ່ມບລັອກຢ່ອຢຂອງຕນເອງໃນ ຊຸມຊນ bloggang ເພື່ອບັນທຶກເຣື່ອງຣາວທີ່ ເກັບສະສມໄດ້ຣະຫວ່າງກາຣສຶກສາດັງກລ່າວນີ້ໄວ້ ແລ້ວເຜຢແພຣ່ແຜ່ ສູ່ສາທາຣນະບ້າງກັຄງຈະດີ ຫວັງວ່າອາຈມີປຣະໂຢຊຢ໌ປະໂຢດ ໃນກາຣແລກເປລີ່ຢນເປີ່ຢນເຣີຢນຣູ້ສູ່ກັນສຳຫຣັບຜູ້ສນໃຈຄນອື່ນ ໆ ບ້າງ

ຖ້າເຣື່ອງດີມັນກັຄງດີ.... ແລ້ວບລັອກກລຸ່ມນີ້ຈຶງເກິດຂຶ້ນ ຕັ້ງຊື່ອວ່າ Lao study - ລາວສຶກສາ

ຄວາມຈຣິງແລ້ວເຈ້າຂອງບລັອກນີ້ເຄຢເຂີຢນ ເຣື່ອງເກີ່ຢວກັບ “ຄວາມຣູ້ເກີ່ຢວກັບພາສາແລະວັທນທຣຣມລາວ-ອີສານ-ລ້ານນາ” ໄວ້ແລ້ວໃນບລັອກແກ໊ງນີ້ ຈຶງຂອບັນທຶກຣາຢກາຣໄວ້ ເຜື່ອທ່ານທີ່ສນໃຈຕາມໄປອ່ານ ດັງນີ້ຄຣັບ



1. ແມ່ແພງ ແລະ/ຫຣືອພິມພ໌ຊ້ຳອີກທີ່ ແມ່ແພງ ແພງແມ່

2. ຄຳແພງ

3. ນາງງາມ

4. ສາວນ້ອຢສ່ຳຈີ

5. ເອາເມີຢ

6. ຕຸ້ມຕອນຫອມຫ່ອ

7. ສຸດສະແນນ

8. ແຖນຫລວງ ຜີດ້ຳໃຫຍ່

9. ຂອລູກຈາກແຖນ

10. ແຊບ ລຳ ອຣ່ອຢ

11. Champa: Flower of Laos: “ດວງຈຳປາ” “ຈຳປາເມືອງລາວ” “ຈຳປາຂາວ” “ລັ່ນທມ” “ລີລາວດີ”

ໃນບລັອກເຣື່ອງ Champa: Flower of Laos: “ດວງຈຳປາ” “ຈຳປາເມືອງລາວ” “ຈຳປາຂາວ” “ລັ່ນທມ” “ລີລາວດີ” ນັ້ນ ມີຄນເຂ້າມາອ່ານມາຊມທຸກວັນແຫລະຄຣັບ (ອັນນີ້ເປັນຂ້ອມູລຈຣິງທີ່ຕຣວຈສອບໄດ້ນະຄຣັບ ມາກກວ່າຣ້ອຢລະ 90 (ເກ້າສິບສ່ວນຣ້ອຢ) ມາຈາກ ກາຣສືບຄ້ນ ຄຳວ່າ ດວງຈຳປາ, ໂອ້ດວງຈຳປາ, ຈຳປາເມືອງລາວ, Champa, Flower of Laos, ລີລາວດີ, ລັ່ນທມ)

ຈນຖືວ່າຫນ້າບລ໊ອກດັງກລ່າວເປັນ ເຣື່ອງບນ a_somjai’s blog ທີ່ມີສຖິຕິຄນເຂ້າຊມ ສມ່ຳເສມອທີ່ສຸດ ແລະມີຈຳນວນຄນມາເປິດຫນ້າເຂ້າເບິ່ງ ອ່ານ ຊມມາກຫລາຢທີ່ສຸດ

ອ້ອ…ໃນນັ້ນ ນອກຈາກຈະມີເນື້ອຫາສາຣະແລ້ວ ຢັງມີ VDO Karaoke ເພລງພາສາລາວ "ຈຳປາເມືອງລາວ" ຫຣືອ "ດວງຈຳປາ" ອັນເປັນເພລງດອກໄມ້ປຣະຈຳຊາຕິລາວ ໄວ້ໃຫ້ດູ ອ່ານ ຣ້ອງກັນດ້ວຢຄຣັບ

ຂອນຳເອາມາລງໄວ້ຕ້ອນຣັບ ເນື່ອງໃນໂອກາສເປິດກລຸ່ມບລ໊ອກໃຫມ່ Group Blog "Loa study - ລາວສຶກສາ" ນີ້ກັແລ້ວກັນຄຣັບ

ເຊິຍ..ແຊບ...ມ່ວນ ງັນ... ເດ້ອພີ່ນ້ອງ (ນີ້ເປັນສຳນວນພາສາລາວ ຂອງໄທຢອີສານ)

Champa Meuang Lao



ຖ້າຂ້າງເທິງ ຄລິກ 2 ຄຣັ້ງແລ້ວ ບ່ມາ ກັຕາມ link ໄປທີ່ນີ້ເລຢຄຣັບ ---> https://www.youtube.com/profile_video_blog?sid=EB50A27C0E3833C2&id=BA92AA4A749311F7
ທີ່ມາ: LAO National Flower Song ທີ່ youtube.com

ເພລງ ດວງຈຳປາ ເດິມຊື່ອເພລງ \"ຈຳປາເມືອງລາວ” ຊຸດຣວມເພລງເທສກາລ ໂດຢຣວມສິລປິນລາວ

ເນື້ອເພລງ (ຖອດເປັນພາສາໄທຢ)ໄທ เนื้อเพลง (ถอดเป็นภาษาไทย)

ໂອ້ດວງຈຳປາ ເວລາ ຊມນ້ອງ*
ນຶກເຫັນ ລັນສ່ອງພັນຊ່ອງ ມອງຫັນ ຫັວໃຈ ເອາ ນຶກ ຂຶ້ນໄດ້ ໃນ ກລິ່ນເຈ້າຫອມ
ເຫັນສວນດອກໄມ້ ບິດາປລູກໄວ້ ຕັ້ງແຕ່ ນານມາ*2 ເວລາ ງ່ວມເຫງາ** ເຈ້າ ຊ່ວຢ ບຣຣເທາບັນເທາ ເອາ ຫາຢ ໂສກາ ເຈ້າດວງຈຳປາ ຄູ່ເຄີຢງ ເອາມາ ແຕ່ ຢາມນ້ອຢ ເອຢ

ກລິ່ນ ກິ່ນ ເຈ້າ ສຳຄັຢສຳຄັນ ຕິດພັນ ຫັວໃຈ ເປັນ ນ່າອັກໃຄຣ່ອັກໃຄ່ ແພງໄວ້ ເຊຢຊມ ຢາມ ເຫງາ ເອາດມ ໂອ້ຈຳປາຫອມ*** ເມື່ອ ດມ ກລິ່ນກິ່ນເຈ້າ ປານ ພບ ເພື່ອນ ເກ່າ**** ທີ່ ພຣາກພາກຈາກໄປ ເຈ້າ ເປັນ ດອກໄມ້ ທີ່ງາມວິໄລ ຕັ້ງແຕ່ ໃດມາ ເຈ້າ ດວງຈຳປາ ມາລາ ຂວັນອັກ ຂອງ ເອີຢມ ນີ້ເອຢ

ໂອ້ ດວງຈຳປາ ບຸປຜາ ເມືອງລາວ ງາມດັ່ງດວງດາວ ຊາວລາວ ເພິງໃຈ***** ເກິດອຢູ່ ພາຢໃນ ແດນດິນ ລ້ານຊ້າງ ເມື່ອ ໄດ້ ພລັດພຣາກພັດພາກ ຫນີໄປ ໄກລຈາກ ບ້ານເກິດ ເມືອງນອນ****** ເອີຢມ****** ຈະ ເອາ ເຈ້າ ເປັນ ເພື່ອນ ອ່ວມເຫງາ******* ເທ່າ ສິ້ນ ຊີວາ ເຈ້າດວງຈຳປາ ມາລາງາມຢິ່ງ ມິ່ງເມືອງລາວເອຢ.





ຫມາຢເຫຕຸ

* ບາງສຳນວນວ່າ “ເວລາຊມດອກ”, ອນຶ່ງ ຄຳວ່າ "ພັນສ່ອງ ຫຣືອ ພລັນສ່ອງ" " ທີ່ຂີດເສ້ນໃຕ້ໄວ້ນີ້ a_somjai ເຄຢຖອດອອກມາເປັນ "ພັນຊ່ອງ" ເພຣາະເຂ້າໃຈວ່າເປັນຄຳວ່າ "ພັນຊ່ອງ" ອຢ່າງໃດກັດີ ຈະເປັນວ່າ "ນຶກເຫັນ ພັນຊ່ອງ" ຫຣືອວ່າ "ນຶກເຫັນ ພລັນສ່ອງ" ກັຄງໄມ່ຜິດຄວາມຫມາຢສັກເທ່າໃດ ແຕ່ຄິດວ່າຕ້ນສບັບເດິມຈະເປັນ "ພັນຊ່ອງ" ມາກກວ່າ

* ຕັ້ງແຕ່ ນານມາ*2 ໄດ້ຢິນເປິດເພລງນີ້ທີ່ ເວັບໄຊຕ໌ສຖານທຸດລາວ ທີ່ບາງກອກ ຣ້ອງວ່າ "ຕັ້ງແຕ່ໃຫຍ່ມາ" (ເຂ້າໄປຄຣາວເທື່ອຫລັງ ເມື່ອລູນ ໄດ້ຢິນເປລີ່ຢນຄຳຣ້ອງໄປແລ້ວ) ບາງຄນຣ້ອງວ່າ ຕັ້ງແຕ່ໃດມາ ກັວ່າ

**** “ງ່ວມເຫງາ” ຫຣືອ “ງ່ອມເຫງາ” ສຳນວນນີ້ໃນບ້ານເຣາຢັງໃຊ້ກັນອຢູ່ໃນພາສາຖິ່ນ ຄຳເມືອງເຫນືອ ແຖວເຊີຢງຊຽງໃຫມ່ ລຳພູນ ລຳປາງ ແພຣ່ ນ່ານ ເຊີຢງຊຽງຣາຢ ພະເຢາ ເປັນຕ້ນ

*** ບາງສຳນວນວ່າ “ໂອ້ດວງຈຳປາ”

**** “ເພື່ອນເກ່າ” ບາງສຳນວນວ່າ “ຊູ້ເກ່າ”, ຫາກອອກເສີຢງ ສຽງຄຳລາວຈະວ່າ “ຊູ້ເກ່າ”, ຫາກອອກເສີຢງສຽງ ຄຳລື້ອ (ອຢ່າງຄຳເມືອງເຫນືອ_ໄທ) ຈະວ່າ “ຈູ້ເກ່າ”

***** “ເພິງໃຈ” ຫມາຢວ່າ “ພຶງໃຈ”, ອອກເສີຢງສຳເນີຢງສຽງສຳນຽງຄຳລື້ອ (ອຢ່າງຄຳເມືອງເຫນືອ_ໄທ) ຈະວ່າ “ ເປິງໃຈ ” (ເຊ່ນ ຄຳວາ ຣຳພຶງ ທາງລ້ານນາເຂີຢນວ່າ ຣ່ຳເພິງ ແລ້ວອ່ານວ່າ ... ຣ່ຳເປິງ ຊຶ່ງປັຈຈຸບັນນີ້ກັເລຢກລາຢເປັນພາສາເຂີຢນໄປ ເຊ່ນ ວັດຣ່ຳເປິງ ບ້ານຣ່ຳເປິງ ເຫມືອນກັບ... ຢີ່ເພງ ຢີ່ເພັງ ເຂີຢນເປັນ... ຢີ່ເປງ ຢີ່ເປັງ ຫມາຢຖຶງວັນເພັງ ເດືອນສອງ/ເດືອນຢີ່ ຕຣງກັບເດືອນສິບສອງ ຂອງໄທຢພາຄກາງເປັນຕ້ນ) ແລະໃນຕ້ນສບັບທີ່ຖອດຄຳຣ້ອງເປັນອັກສຣໂຣມັນໂດຢຄນລາວ (ອ້າງຕາມລິງຄ໌ ເຣື່ອງນີ້ Champa: Flower of Laos ฯ ) ໄດ້ບັນທຶກໄວ້ວ່າ.. saw Lao pheong jai ສ່ວນວ່າໃນ VDO ນີ້ ຄນຣ້ອງກັອອກເສີຢງວ່າ "ເພິງໃຈ" ແຕ່ກລັບເຂີຢນເນື້ອຣ້ອງໄວ້ຜິດ ເປັນ "Pern jai = ເພິນໃຈ=ເພລິນໃຈ"

***** ບາງສຳນວນວ່າ “ເນຣເທສຈາກບ້ານເກິດເມືອງນອນ” ແລະຄຳວ່າ ເມື່ອ ຄຳຣ້ອງເດິມວ່າ "ຖ້າ"

****** ບາງສຳນວນວ່າ "ເອາ ຈະເອາເຈ້າ"

******* ຄຳຣ້ອງເດິມວ່າ "ບຣຣເທາ ບັນເທາ "

(a_somjai)



posted by a_somjai on Thursday, November 22, 2007 @ 9:13 AM.









ຢັງມີຕ່ອ Updated ໃສ່ຕັວອຢ່າງເສີຢງອ້ອງ ເພລງຈຳປາເມືອງລາວ ແລະກາຣຟ້ອນດວງຈຳປາ ຂອງຄນລາວຫລາຢຄນຫລາຢຫມູ່ ຕັວອຢ່າງເຊ່ນ...





Fon Champa Mueang Lao
Traditional Lao Dance
Also called Duang Champa
Or Dok Champa







ແລະເສີຢງສຽງອ້ອງເພລງດວງຈຳປາ ຂອງນັກຣ້ອງ ຄນໄທ ຄນລື້ອເມືອງເຊີຢງຊຽງຣຸ່ງ ສິບສອງປັນນາ/ສິບສອງພັນນາ ໃນຈີນຕອນໃຕ້ ອີກຫລາຢຄນ ຕັວອຢ່າງເຊ່ນ.....







ຄັນວ່າທ່ານສນໃຈຕ້ອງຕິດຕາມໄປອ່ານຈາກສບັບ ພາກຢ໌ພາສາໄທ ຄລິກທີ່ນີ້ຄຣັບ ==>> << Loa study: ຣ້ອງ ເພລງ ແລະ ຟ້ອນ ຈຳປາເມືອງລາວ ຫຣືອ ດວງຈຳປາ >>



posted by a_somjai's blog a_somjai
20-02-2008 ວັນພຸທ ທີ່ 20 ກຸມພາພັນທ໌ ພ.ສ. 2551 ເວລາ ບ່າຢ 3 ໂມງ 45 ນາທີ




 

Create Date : 20 กุมภาพันธ์ 2551    
Last Update : 4 พฤษภาคม 2551 8:47:02 น.
Counter : 3791 Pageviews.  

บ้านลาวในประเทศไทย: รายการสารคดีพาสาลาวที่ “ลูกข้าวเหนียวเมืองสยาม” ควรได้รับรู้

ข้าพเจ้า…(อะแฮ้ม วันนี้ขออนุญาตท่านผู้ชม ออกคำขึ้นต้นอย่างเป็นทางการสักหน่อยครับ)
ข้าพเจ้าได้สนใจศึกษาเรื่องของ คนลาว วัฒนธรรมลาว และเมืองลาว อันเป็นความสนใจส่วนตัว และได้นำมาโพสต์เล่าสู่กันไว้ในชุมชน Bloggang.com นี้ โดยได้เปิด กลุ่ม Blog : ลาวศึกษา LAO study ขึ้นมา

ข้าพเจ้าเขียนเรื่องแรกบน a_somjai’s blog เริ่มตั้งแต่ 22-11-2007 แล้วก็เล่าต่อเนื่องเรื่อยมาจนมาถึงคืนวันสิ้นปี 2007-12-31 จึงเกิดความมั่นใจว่าน่าจะทำการนี้อย่างต่อเนื่องเป็นชิ้นเป็นอัน ให้สมกับความตั้งใจเดิมที่เข้ามาเล่นบล็อก ณ ชุมชน online แห่งนี้ครั้งแรกเริ่มเดิมที ดังได้ตั้งชื่อ Log In ของตนเอง ตามรหัสประจำตัวว่า id=esanlanna นั้น ก็มีเหตุผลลึก ๆ ในใจอยู่ ซึ่งจะถือโอกาสนี้ขอเฉลยไว้ให้ทราบโดยทั่วกันเลย

esanlanna ในความหมายของข้าพเจ้า ก็คือ ….อีสานล้านนา, อีสาน+ล้านนา นั้นเอง

มาถึงนี้ ก็เลยเติม ล้านช้าง ตามความแก่กล้าของความรู้ความเห็นเข้าไปด้วย

สรุปลงเป็นว่า …ข้าพเจ้า อยากเขียนบอกเล่าเรื่องของ “ลาว Lao” ไว้บน Online Community นั้นแล้ว

ก็และเมื่อคืนวันสิ้นปี (ตรงกับ 01-01-2008) นั้น ข้าพเจ้าก็เลยเปลี่ยนชื่อกลุ่มบล็อกลาวศึกษา เป็น… กลุ่ม Blog : LAO study อ้างอิง (2007-11/12) ด้วยตั้งใจเก็บบล็อกกลุ่มนี้ไว้เป็นกลุ่มหลัก สำหรับใส่เนื้อหา เป็นแผนที่ หรือศูนย์กลางประสานงานเพื่ออ้างอิงการเขียนงาน เกี่ยวกับ ลาวศึกษา ทั้งหมด ที่ข้าพเจ้า(แต่เพียงผู้เดียว…555) ศึกษา ค้นคว้า และเขียนแสดงไว้ใน a_somjai’s blog นี้ ไม่ว่าต่อไปข้างหน้าจะเปิดกลุ่ม Blog ย่อยที่เกี่ยวข้องแตกแขนงเพิ่มขึ้นมาอีกเท่าใดก็ตาม เป็นต้นว่าการบันทึก Links ที่เป็น Internet Resources ที่สามาาถใช้เป็นฐานข้อมูลและช่องทางสำหรับการเข้าถึงแหล่งความรู้ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับ LAO, Laos study or Studies เพื่อความสะดวกส่วนตัวและเพื่อท่านผู้สนใจอื่น ๆ จะได้หยิบฉวยไปใช้ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ “ลาว คนลาว วิถีชีวิตวัฒนธรรมลาว และบ้านเมืองของคนเชื้อแนวลาว ทั้งหมดทั้งมวล” เจริญงอกงามต่อไป

(จบบทกล่าวนำแล้วครับ)




คราวนี้ก็มาเริ่ม กลุ่มบล็อกใหม่กัน เป็นก้าวที่สอง ของงานเป็นเรื่องเป็นราวเป็นชิ้นเป็นอันบนโลก Online ของข้าพเจ้าบ้าง…. ขอเสนอ…
กลุ่ม Blog : รากเหง้าของ "ลาว LAO" ในสยาม


รากเหง้าของลาวในสยาม 001
คืนวันอาทิตย์ที่ ๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ตรงกับ Monday, January 7, 2008 เพราะขณะเขียนต้นฉบับเป็นเวลาเลยเที่ยงคืนแล้ว

เรื่อง: แนะนำรายการสารคดีทางวิทยุพาสาลาว ฟังได้ทาง Internet หรือ วิทยุ Online
ชื่อ: สารคดีชุด “บ้านลาว ในประเทศไทย จากอดีตมาถึงปัจจุบัน”

ข้าพเจ้าขอบอกกล่าวเชิญชวนเพียงสั้น ๆ ว่า “คนไทยที่คิดว่า ต้นเองก็มีรากเหง้าของลาว อยู่ในตัวตนนั้น ควรตามเข้าไปฟังอย่างยิ่ง” และ “คนไทยที่ไม่รู้พาสาลาวเลย ก็สามารถฟังความรู้เรื่อง อย่างน้อยก็ร้อยละ 80” และสุดท้ายนั้น “คนหนุ่มสาวชาวไทยที่มีพื้นฐานทางบ้าน หรือครอบครัว เอาเป็นว่ารู้ตัวเองดีว่าตนมาจาก วัฒนธรรมข้าวเหนียว เต็มตัว หรือ บางส่วน …ขอแนะนำให้เปิดเสียงรายการวิทยุนี้ ให้ พ่อแม่ และ/หรือ ผู้เฒ่าผู้แก่ ของท่านฟัง …รับรองว่า พวกผู้ใหญ่เหล่านั้น จะต้องรับฟังได้อย่างมีความสุขแน่นอนครับ ผมขอรับประกัน”

ตามลิงค์ Link ไปที่นี้เลยครับ…

  • ข่าวสื่อมวลชนเสรี ในเอเชียตะวันออก @www.rfa.org/lao
    <<บ้านลาวในประเทศไทย จากอดีตมาถึงปัจจุบัน>>

    รายการสารคดีนี้ กระจายเสียงทางวิทยุ Online ฟังได้ผ่าน Internet
    Radio Free Asia (@Washington DC) เว็บไซต์ข่าวสื่อมวลชนเสรี ในเอเชียตะวันออก: <หน้าทำอิด/home page แผนกพาสาลาว>, <ฟังข่าววิทยุพาสาลาว Lao> . นอกจากนี้ก็มีกระจายเสียงภาษาเขมร Khmer, พม่า Burmese, เวียตนาม Vietnamese, ธิเบต Tibetan & จีน Mandarin Services. เป็นต้นอีกด้วย




    <<บ้านลาวในประเทศไทย จากอดีตมาถึงปัจจุบัน>> เป็นงานสารคดีทางวิชาการที่ศึกษาค้นคว้าเพื่อนำเสนอทางวิทยุกระจายเสียง ผู้เรียบเรียงคือ แสงแก้ว แก่นทัม และผู้นำเสนอคือ เวียงไซ

    ผลการศึกษาที่นำมาเล่านำเสนอด้วยเสียงภาษาลาวนั้น ผู้ศึกษาบอกกล่าวไว้ใน
    บ้านลาวในประเทศไทย ตอนที่ 1 ถึงเหตุผลหรือจุดมุ่งหมายของการทำสารคดีเรื่องนี้ว่า (ข้อความตัวอักษรเอนในเครื่องหมายคำพูด ถอดจากบทรายการวิทยุ ภาษาเขียนในหน้าเว็บไซต์ ส่วนในวงเล็บเป็นการเสริมความภาษาไทยเพื่อให้ผู้ไม่รู้พาสาลาวเข้าใจยิ่งขึ้น) ....

    “เป็นเพราะว่า ดินลาว กับ ดินไทย ตั้งอยู่ติดแทด(ต่อ)กัน หรือ จะเป็นเพราะว่า ลาว-ไทย มิประวัติความเป็นมา คล้ายคือกัน หรือเคยเป็นชนชาติต่อน(ท่อน/ชิ้น)เดียวกันมาก่อน หรือเป็นเพราะว่า ลาว-ไทย มีฮีตคลองประเพณีคล้ายคือกัน หรือเป็นเพราะว่า ไทยเคยมีอิทธิพลเหนือดินแดนลาวหรือเคยใช้อำนาจปกครองลาวมาก่อน และจะด้วยเหตุผลใดก็ตาม ก็ได้เฮ็ดให้ในเขตพระราชอาณาจักรไทย มีคนลาวอาศัยอยู่เป็นจำนวนหลวงหลาย การศึกษาและสิบค้นถึงสาเหตุและความเป็นมาของคนลาวอยู่ไทยตั้งแต่อดีตจนเถิงปัจจุบัน จึงเป็นเรื่องที่คนลาวทุกคนควรจะรับรู้ไว้"

    และผู้เรียบเรียงได้ บอกถึงวิธีการศึกษาและที่มาของแหล่งข้อมูล พร้อมทั้งประสบการณ์ในการลงพื้นที่ “บ้านลาวในประเทศไทย” ได้สัมผัสปรากฏการณ์จริง ไว้อย่างซาบซึ้ง ขอคัดลอกมานำเสนอต่อไป พอสังเขปดังนี้…

    “การศึกษาเทื่อนี้ ได้อาศัยเอกสารหลักฐานทางประวัติศาสตร์และการลงสู่พื้นฐานตัวจริง คือ บ้านลาว อยู่ภาคต่าง ๆ ของไทย

    ในภาคส่วนของการนำใช้เอกสาร จะใช้เอกสารอันได้แก่ จดหมายเหตุ, ปื้ม(ปั๊บ/สมุด/หนังสือ)เจี้ย(เนื้อหา เรื่องราว)ดำ เส้น(ดิน)สอขาว, เจี้ยเพา คลอง(ดิน)สอดำ ที่มีการฮีบโฮมของนักวิชาการฝ่ายไทยเป็นหลัก เพื่อให้รู้ว่า การอพยพมีอยู่จัก(กี่)ทาง หรือมีสายเหตุอย่างใดแท้

    อีกภาคส่วนสำคัญของการนำเสนอสารคดีชุดนี้ คือ การลงพื้นฐานโดยการลงพื้นฐานได้เลือกลงบ้านลาวในหลายภาคของไทย และการที่เลือกลงหลาย ๆ บ้าน ก็เพราะถือว่าเป็นการเก็บกำข้อมูลที่ติดแทด(มา)กับปัญหาตัวจริง เพื่อเอามาประกอบเอกสารที่เป็นแต่เพียงเจี้ย(เนื้อหา เรื่องราว)แห้ง ๆ ล้า ๆ (เปล่า ๆ )

    การลงพื้นฐานถือได้ว่า เป็นการสัมผัสซีวิตที่ยังมีเลือดเนื้อ มีลมหันใจ ได้สัมผัสอายอุ่นของวัฒนธรรมที่ยังหลงเหลืออยู่ ได้สัมผัสกับความรักความแพงของผู้มีเชื้อสายลาวจากอดีต และการลงสัมผัสกับชีวิตคนลาวที่ยังลุกย่าง(เดิน)ได้ดีในปัจจุบัน ถือได้ว่าเป็นการสัมผัสกับชีวิตของบรรพบุรุษลาวที่ใกล้ชิดติดแทดที่สุด แม้นจะบ่ได้สัมผัสโดยตรง แต่ก็เป็นวิธีเดียวที่อาจสามารถจะสัมผัสเลือดเนื้อของพวกเกี่ยวได้

    การลงพื้นฐานจะได้เฮ็ดให้สามารถสมเทียบเถิงความเปลี่ยนแปลงของคนลาวแต่อดีต กับคนเชื้อสายลาวในปัจจุบันว่ามีความเปลี่ยนแปลงแนวใดแด่(บ้าง) ที่สำคัญเหมิด(ทั้งหมด/ที่สุด)ก็คือการลงพื้นฐานเทื่อนี้ถือว่าเป็นการไปยามอ้ายยามน้อง(เยี่ยมเยือน) พร้อม ๆ กับยาม(เยี่ยม)อดีตและ(เยี่ยม)ยามปัจจุบันไปในคราวเดียวกัน

    ในการลงพื้นที่ ได้เห็นภูมิสถานบ้านเรือน ได้เห็นหน้าเห็นตา ได้รับรู้ความรู้สึก ได้จับสำเนียงการปากจา ได้เห็นความเป็นอยู่ ได้เห็นทั้งสภาพทางเศรษฐกิจ สังคม ประเพณีและวัฒนธรรม และ… ได้พบกับนักปราชญ์, ผู้เชี่ยวชาญ และผู้มีความรู้อีกหลายต่อหลายคน
    ….”






    การนำเสนอรายการทางวิทยุนั้น ก็เหมือนกับการเขียนบล็อก คือ… นอกจากความเด่น ดี ของเนื้อหาสาระแล้ว ที่สำคัญก็คือ …การนำเสนอที่ต้องเจือด้วย “ความงาม ความลงตัวทางด้าน อารมณ์ ความรู้สึก ของผู้นำเล่าและผู้ฟังเรื่องเล่า” อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

    ในประเด็นหลังนี้ ข้าพเจ้ารู้สึกประทับใจไปกับผู้เขียนบทและผู้นำเสนอ… โดยเฉพาะความนำเข้าสู่เรื่องทุกครั้งทุกตอนที่ออกรายการกระจายเสียง

    ความนำเข้าสู่เรื่องนั้น เป็นบทประพันธ์พาสาลาว ถอดออกมาเป็นคำ/ความภาษาไทยว่าอย่างนี้ครับ

    (ดนตรี เสียงแคน) ……..

    “นับตั้งแต่มื้อพู้น เฮาได้จากไกลกัน
    คราวแต่พ่อแม่เฮา พรากกันแฮมฮ้าง
    ก็หากเหิงนานแล้ว ปานเฮือแจวไกลตาฝั่ง
    ดอกสะมั่ง มันหากไกลจากต้น บ่มีมื้อสิต่าวคืน

    มีแต่เสาเฮือนตั้ง เตือนว่ามีลาวเนาอยู่
    อีกทั้งแจ่วปลาแดกแซบ ข้าวเหนียวจ้ำจ่อมกิน
    เสียงแคนลาว ดังกึกก้อง ปนขับลำ ฟังม่วน
    แล้วก็แอะแอ่นฟ้อน พอได้เอิ้นว่า ลาว

    กาลเวลามันไกลเยิ้น เอิ้นสั่งบ่เห็นกัน
    แต่หากมีคำว่า ลาว เหลือเป็นสายลายเลี้ยว
    คำว่า ลาว คำนี้ คึดดีดี ใจถี่ถี่
    ขอให้ลาวพี่น้อง ฟังแล้วให้ฮ่ำฮอน ท่านเอย








  • * เพื่อคงอรรถรสของการเสพชมแบบพื้นบ้าน
    Lao Study วันนี้ a_somjai ขออนุญาต งดหมายเหตุ ขยายความรู้จากภาษาลาวครับ
    (อิ อิ ..เอาหน่อยละกัน... ดอกสะมั่ง คือ ดอกเล็บมือนาง ชื่อพื้นเมือง บ้างว่า จ๊ามั่ง, จะมั่ง ก็ว่า ครับ)


    by a_somjai's blog a_somjai on Monday, January 07, 2008 @ 4:59 AM.
  • กลับหน้าหลัก กลุ่ม Blog : <LAO study ลาวศึกษา หน้าอ้างอิง/links: Internet Resources>
  • กลับหน้าหลัก กลุ่ม Blog : <รากเหง้าของ "ลาว LAO" ในสยาม>




  •  

    Create Date : 07 มกราคม 2551    
    Last Update : 8 มกราคม 2551 0:24:10 น.
    Counter : 903 Pageviews.  


    a_somjai
    Location :
    เชียงใหม่ Thailand

    [Profile ทั้งหมด]

    ฝากข้อความหลังไมค์
    Rss Feed
    Smember
    ผู้ติดตามบล็อก : 2 คน [?]




    Friends' blogs
    [Add a_somjai's blog to your web]
    Links
     

     Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.