บัญชี ความหมาย (First Acc.)

การบัญชีเริ่มกำเนิดขึ้น ในศตวรรษที่

13 ในปี ค..1949 Mr. Luca Paciolic เป็น Franciscan Monk ในประเทศอิตาลี ได้เขียนตำราที่ชื่อว่า “Summade Arithmetica, Geometria,Proportioniet Proportionalita” ส่วนหนึ่งของตำรา ได้กล่าวถึงหลักการบัญชีที่สำคัญ19 มีการเจริญเติบโตของบริษัท และมีการพัฒนาทางการบัญชีเป็นอย่างมาก(Personal Computer) ที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ยังมีส่วน (Quantity) และในเชิงคุณภาพ (Quality) ซึ่งผู้ใช้ข้อมูลดังกล่าวมีวัตถุประสงค์แตกต่างกันไป เช่น ผู้“หลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป (Generally Accepted Accounting Principles : GAAP)”

ความหมายของการบัญชี


การบัญชี เหตุการณ์ทางเศรษฐกิจในรูปตัวเงิน ผลงานขั้นสุดท้ายของการบัญชี คือ การให้ข้อมูลทางการเงินซึ่งเป็นประโยชน์แก่บุคคลหลายฝ่ายและผู้ที่สนใจในกิจกรรมของกิจการจากความหมายดังกล่าวกระบวนการ และหน้าที่ทางการบัญชีประกอบด้วย


1. การจดบันทึกรายการ (Recording) กิจการหนึ่ง ๆ มีรายการค้า (BusinessTransaction) ในแต่ละวันจำนวนมาก กระบวนการทางการบัญชีจะคัดเลือกเฉพาะ(Accounting Transaction) เท่านั้นมาบันทึกบัญชี


2. การจัดหมวดหมู่ของรายการ (Classifying) เมื่อจดบันทึกรายการทางบัญชีที่


3. การสรุปผล (Summarizing) เมื่อแยกข้อมูลไว้ในแต่ละบัญชีแล้ว ต้องทำการสรุปและ(Financial Statement) ซึ่ง


4. การวิเคราะห์และแปลความหมาย (Analyzing and Interpreting)


การนำเสนอ (Financial Accounting) การบัญชีการเงิน


หมายถึง การทำบัญชีเพื่อบันทึกรายได้ ค่าใช้จ่าย สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของเจ้าของที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานของกิจการตามมาตรฐานการบัญชี เพื่อจัดทำงบการเงินเสนอต่อเจ้าของกิจการ หรือบุคคลภายนอกเน้นวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอข้อมูลให้กับผู้ใช้งบการเงินซึ่งเป็นบุคคลภายนอกเป็นหลัก ดังนั้น การ2 จากความหมายดังกล่าว การบัญชีการเงินนั้น จัดทำรายงานจึงต้องจัดทำขึ้นโดยใช้หลักการบัญชีที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน


ข้อแตกต่างระหว่างการบัญชีการเงิน การบัญชีบริหาร และการบัญชีต้นทุน


การบัญชีการเงิน


 


บัญชีที่รับรองทั่วไปหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ใหญ่จากผู้มีอำนาจหน้าที่ในวิชาชีพการบัญชี เพื่อให้นักบัญชีใช้ยึดถือเป็นหลักปฏิบัติในการรวบรวม จดบันทึก จำแนก สรุปผล และจัดทำงบการเงินอย่างมีหลักเกณฑ์มาตรฐาน โดยกระทำขึ้นอย่างสม่ำเสมอ และสามารถเข้าใจได้ง่าย คำว่า เรียกว่า หลักการหมายถึง แนวทางที่ได้รับการรับรองและยอมรับเป็นส่วน“หลักการบัญชี” ในปัจจุบันได้มีการใช้คำว่า “มาตรฐานการบัญชี” กันมากขึ้น หลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปเป็นคำศัพท์พิเศษในการบัญชี3 กล่าวคือ สิ่งใดที่เป็นมาตรฐาน (Managerial Accounting) การบัญชีบริหาร หมายถึง การบัญชีสาขาหนึ่งที่มีรูปแบบเพื่อให้ข้อมูลแก่ผู้บริหารในระดับต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในการควบคุม การวางแผน และการตัดสินใจในการดำเนินงานจัดทำรายงานเพื่อนำเสนอข้อมูลต่าง ๆ นั้น ขึ้นอยู่กับความต้องการในการใช้งานของฝ่ายบริหารดังนั้น รายงานที่นำเสนอสามารถจัดทำได้หลากหลายรูปแบบโดยเน้นประโยชน์ภายในของฝ่ายบริหารเป็นหลักการเงินโดยครอบคลุมถึงประเพณีนิยม กฎเกณฑ์ และวิธีการต่าง ๆ ซึ่งอธิบายให้ทราบถึงวิธีการปฏิบัติทางการบัญชีที่รับรองกัน ณ เวลาหนึ่งเวลาใดโดยเฉพาะการบัญชี สิ่งนั้น ก็เป็นหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปโดยปริยายข้อมูลในรูปของรายงานทางการเงิน ในบางครั้งหากผู้ใช้งบการเงินขาดความรู้ทางด้านการบัญชีอาจแปลความหมายไม่ตรงกับความเป็นจริง ดังนั้น หน้าที่ที่สำคัญของนักบัญชีจึงต้องสามารถวิเคราะห์และแปลความหมายจากรายงานทางการเงินให้เป็นเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น จึงสามารถนำรายงานทางการเงินนั้นไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้จริงนำเสนอข้อมูลดังกล่าวในในรูปของรายงานทางการเงิน ง่ายต่อการทำความเข้าใจถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นของกิจการเกิดขึ้นแล้ว รายการที่บันทึกจะถูกจัดเรียงตามลำดับเหตุการณ์ก่อนหลัง ซึ่งเป็นการยากเมื่อต้องการทราบถึงยอดคงเหลือของบัญชีใดบัญชีหนึ่ง ดังนั้น ผู้ทำบัญชี ต้องรวบรวมรายการที่เป็นบัญชีเดียวกันไว้ด้วยกัน


การบัญชีบริหาร


 


4 การ การบัญชีต้นทุน (Cost Accounting) 5 ดังนั้น จะเห็นได้ว่า การบัญชีต้นทุนเป็นทั้ง


การบัญชีต้นทุนเป็นสาขาหนึ่งของการบัญชีเกี่ยวกับการจำแนก การบันทึก การปันส่วนการสรุป และการรายงาน รวมทั้งการประมาณการต้นทุนหรือต้นทุนที่คาดไว้ การบัญชีต้นทุนจะรวมถึงวิธีการออกแบบและจัดระบบต้นทุน การแบ่งแยกต้นทุน เช่น แบ่งแยกตามแผนกิจกรรมหรือผลิตภัณฑ์ การเปรียบเทียบต้นทุน เช่น เปรียบเทียบต้นทุนจริงกับต้นทุนมาตรฐานหรือต้นทุนที่ประมาณไว้ รวมทั้งการนำเสนอและให้ความหมายของข้อมูลแก่ผู้บริหาร เพื่อใช้เป็นเครื่องช่วยในการควบคุมการปฏิบัติงานทั้งในปัจจุบันและอนาคตการนำเสนอข้อมูลต่าง ๆ ให้กับบุคคลภายนอก รวมทั้งผู้บริหารเพื่อใช้ในการตัดสินใจรายการที่เป็นรายการทางบัญชี ตามหลักการบัญชี โดยบันทึกตามลำกับเหตุการณ์ก่อนหลัง

คือ ศิลปะของการเก็บรวบรวม บันทึก จำแนก และทำสรุปข้อมูลอันเกี่ยวกับ1ลงทุน ต้องการทราบว่าธุรกิจนั้นมีความสามารถในการทำกำไรและจ่ายผลตอบแทนคุ้มค่ากับการลงทุนหรือไม่ เจ้าหนี้ต้องการทราบว่า ธุรกิจนั้นดำเนินธุรกิจแล้วสามารถจ่ายดอกเบี้ยและเงินต้นคืนได้หรือไม่ สรรพภากร ประเมินและจัดเก็บภาษีเงินได้จากข้อมูลของรายได้และค่าใช้จ่าย หรือแม้กระทั่งประชาชนทั่วไปต้องการทราบถึงความรับผิดชอบต่อชุมชนใกล้เคียงของธุรกิจที่มีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมด้านต่าง ๆ เป็นต้นผลผลิตหรือข้อมูลที่นำเสนอนั้น เกิดจากกระบวนการทางการบัญชี เริ่มตั้งแต่ การวิเคราะห์เหตุการณ์ การจดบันทึกรายการ จนกระทั่งนำมาจัดทำรายงานทางการเงินเพื่อนำเสนอแก่บุคคลต่าง ๆ หากผู้ทำบัญชีจัดทำบัญชีเพื่อตอบรับกับวัตถุประสงค์ของแต่ละบุคคล โดยการจัดทำหลายชุด หรือหลาย ๆ ฉบับ จะส่งผลให้รายงานดังกล่าวไม่ได้รับความน่าเชื่อถือ จนส่งผลกระทบให้รายงานที่นำเสนอนั้นไร้คุณค่า ดังนั้น เพื่อขจัดปัญหาดังกล่าว ผู้ทำบัญชี ต้องจัดทำและนำเสนอตามหลักเกณฑ์ที่เป็นสากลและได้รับการยอมรับตาม ศตวรรษที่ เช่น เจ้าของกิจการไม่ได้เข้ามาบริหารงานในกิจการ จึงจำเป็นต้องมีการสร้างระบบบัญชีที่ดี เพื่อบันทึกผลการดำเนินงานให้กับผู้ลงทุน หรือเจ้าของได้ทราบถึงผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้น และเพื่อให้แน่ใจว่าข้อมูลที่ได้รับเป็นข้อมูลที่เชื่อถือได้ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทในการพัฒนาการบัญชี ช่วยให้งานบัญชีจัดทำได้เร็วขึ้น นอกจากนี้คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ช่วยในการเก็บข้อมูลทางบัญชีได้สะดวกขึ้นด้วยการบัญชีเป็นงานซึ่งรวบรวมข้อมูลทางการเงินเพื่อนำเสนอให้กับผู้ใช้ทั้งในเชิงปริมาณ




Free TextEditor



Create Date : 19 มิถุนายน 2552
Last Update : 19 มิถุนายน 2552 20:50:21 น.
Counter : 1090 Pageviews.

1 comments
  
Just dropping by to say hello ka.
โดย: CrackyDong วันที่: 19 มิถุนายน 2552 เวลา:22:32:19 น.
ชื่อ :
Comment :
 *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

short call
Location :
  

[ดู Profile ทั้งหมด]
 ฝากข้อความหลังไมค์
 Rss Feed
 Smember
 ผู้ติดตามบล็อก : 1 คน [?]



ขอแค่พื้นที่เล็กๆ ไว้เขียนอะไรๆ สักเล็กน้อย
มิถุนายน 2552

 
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
21
22
23
24
25
26
27
28
29
 
 
All Blog